SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1 | มหาบาลีวิชชาลัย สถาบันสอนภาษาบาลีสาหรับบุคคลทั่วไป www.mahapali.com
แนวการสอนชาวบ้านแปลบาลีธรรมบทให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ชาวบ้านที่มาเรียนบาลีส่วนมากเป็นผู้ใหญ่ มีพื้นฐานทางความคิดที่ดี มีหลักวิธีในการเรียนที่ดีมี
ข้อมูลพื้นฐานทางสังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมมาก มีประสบการณ์ในการทางานมามากแล้ว หลาย
คนมีวิธีการค้นคว้าหาข้อมูลดี สามารถคัดเลือก แยกแยะ เชื่อมโยง จัดเก็บ จัดระเบียบข้อมูลได้ดี รวมทั้ง
มีวิธีการนาเสนอข้อมูลที่ดีด้วย ดังนั้น การสอนแปลบาลีธรรมบทสาหรับชาวบ้าน จึงต้องหาวิธีปรับให้
เหมาะสม
อย่างไรก็ตาม ชาวบ้านจะมีเวลาจากัดในการเรียนบาลี สัปดาห์หนึ่งมาเรียนได้เพียง 1-2 วัน
เท่านั้น ดังนั้น แม้จะมีเวลาเรียนจากัด แต่หากมีวิธีการสอนที่เหมาะสม จะช่วยให้เกิดประโยชน์อย่างมาก
ข้อที่ควรคานึงไว้เป็นมั่นเหมาะแน่วแน่ คือ ไม่ควรมุ่งเน้นสอนเพื่อเตรียมเข้าสอบบาลีศึกษามากเกินไป
ควรเน้นให้ผู้เรียนได้รับความรู้อย่างลึกซึ้ง มีความร่าเริงทางธรรมเป็นเบื้องต้นก่อนจะดีกว่า
แนวทางที่แนะนาต่อไปนี้ ประมวลจากประสบการณ์ส่วนตัวและมองดูการสอนบาลีของพระสงฆ์
ไทยมาพอสมควร ไม่พึงสรุปว่า นี่เป็นแบบสาเร็จรูปสมบูรณ์ ให้คิดว่าเป็นแนวประกอบส่วนหนึ่งเท่านั้น
ผู้สอนพึงเลือกเฟ้นและประยุกต์ให้เหมาะสมกับกลุ่มผู้เรียน สภาพแวดล้อม ความพร้อมทางทรัพยากร
และอื่น ๆ ตามสมควร
แนวการสอนชาวบ้านแปลบาลีธรรมบทให้เกิดประโยชน์สูงสุด ควรทาดังนี้
1. ทาแผนผังความคิด (Mind Map) ร่างโครงสร้าง หรือวาดภาพให้ผู้เรียนเห็นว่า คัมภีร์ต่าง ๆ ใน
พระพุทธศาสนามีอะไรบ้าง จัดประเภทจัดระดับชั้นอย่างไรบ้าง โยงให้เห็นเป็นแผนผังในภาพรวม ตั้งแต่
พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา ปกรณ์พิเศษต่าง ๆ (ในคัมภีร์ระดับอรรถกถาลงมา ควรให้ผู้เรียนได้รู้จัก
ชื่อและประวัติผู้แต่งคัมภีร์นั้น ๆ ด้วย)
2. นาพระไตรปิฎกฉบับบาลีและฉบับแปลเป็นไทยของเล่มที่ว่าด้วยเรื่อง ธรรมบท มาแสดงให้ผู้เรียนดู
เพื่อให้ผู้เรียนได้สัมผัสเล่มจริง (หาเล่มที่เก่าที่สุดได้ยิ่งดี และหากมีพระไตรปิฎกหลายภาษามาแสดงด้วย
ยิ่งดีเข้าไปอีก) พร้อม ๆ กับถามและชวนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นผู้เรียนว่า บรรพชนโบราณาจารย์เถร
วาท ปราชญ์บัณฑิต กลุ่มผู้นาในสังคมและคนไทยสมัยก่อนเขาดูแลรักษาพระไตรปิฎกกันอย่างไร อาจ
ยกตัวอย่างสภาพบ้านเมืองถูกเผาในเหตุการณ์สงคราม เช่น ในยุคกรุงศรีอยุธยา สิ่งมีค่าสาคัญที่
เสียหายไปในระหว่างสงคราม และการพยายามเสาะหาคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาจากที่ต่าง ๆ เพื่อ
นามารวบรวมเรียบเรียงเข้าชุดกัน พร้อม ๆ กับตรวจสอบชาระกันใหม่จนตกมาถึงยุคพวกเรา
(ตรงนี้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดความรักความรู้สึกหวงแหนและเห็นความสาคัญในอริยมรดกของบรรพ
ชน รวมทั้งให้เห็นคุณค่าเห็นความยากลาบากในการดูแลรักษาคัมภีร์ต่าง ๆ ในยุคก่อน ๆ ที่ล้วนแต่มี
ข้อจากัด)
ควรกระตุ้นให้ผู้เรียนทุกคนในห้องเรียนได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ในขั้นตอนเริ่มต้นนี้
2 | มหาบาลีวิชชาลัย สถาบันสอนภาษาบาลีสาหรับบุคคลทั่วไป www.mahapali.com
เพราะจะเป็นการเปิดตัวเปิดใจทุกคนด้วย เป็นการสร้างความคุ้นเคยกับเพื่อนร่วมห้องคนอื่น ๆ ได้อย่าง
รวดเร็ว
แต่พึงตระหนักในเรื่องสัมมาวาจาและเมตตาจิตระหว่างกัน หากแลกเปลี่ยนความคิดกันแล้ว
เกิดการโต้เถียงมีเรื่องขุ่นเคืองใจระหว่างกัน แสดงว่าใจผู้เรียนยังไม่กว้างพอยังแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ในเชิงวิชาการไม่เป็น ยังหนักในทิฐิจริตและติดในมานะความถือตัวยังถือเขาถือเราอยู่มาก ซึ่งถือเป็น
เรื่องธรรมดา เพราะคนที่มีอายุมากผ่านประสบการณ์ชีวิตมามาก สะสมอะไรมามากมาย ก็จะออก
ลักษณะอาการเช่นนี้บ้าง แต่ผู้สอนต้องหาทางปรับเปลี่ยนทัศนะ ท่าทีและวิธีการของทุกคนใหม่ อย่าให้
เสียความสามัคคีในกลุ่มผู้เรียน
3. ชวนพูดคุยให้ช่วยกันแสดงความรู้ความคิดเห็นอย่างเต็มที่ว่า
1. ธรรมบท คืออะไร (หาความหมายหลาย ๆ นัยที่คนรุ่นเก่าอธิบายไว้มาช่วยกันดูและวิจารณ์)
2. อรรถกถาธรรมบทคืออะไร
3. ใครคือคนให้คาอธิบายพระธรรมบท (ที่เรียกว่าพระอรรถกถาจารย์) คนที่ให้คาอธิบายนี้ เขา
อธิบายตั้งแต่เมื่อไหร่ ผู้อธิบายต้องมีคุณสมบัติพื้นฐานขั้นต่าอย่างไร
4. พระสงฆ์หรือชาวไทยในปัจจุบันมีคุณสมบัติพอจะเป็นพระอรรถกถาจารย์ได้หรือไม่ เพราะเหตุ
ใด
5. ประเด็นสาคัญคือแต่ละคนที่มาเรียนแปลบาลีธรรมบท ผู้เรียนจะนาข้อคิดหลักธรรมในธรรม
บทมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับตัวเองอย่างไร เพราะหลายคนอายุมากแล้ว คงมีเวลาอยู่ในโลกได้
ไม่นาน ดังนั้นต้องเร่งหาเอาประโยชน์จากการเรียนรู้บาลีธรรมบทครั้งนี้ให้มากที่สุด
4. ชวนกันสอบสวนขยายความรู้ต่อไปอีกว่า คนในยุคก่อน ๆ เขาสืบทอดพระธรรมคาสอนของ
พระพุทธเจ้ากันอย่างไร ทั้งในอินเดีย ศรีลังกา พม่า เขมร ลาว ยูนนาน เวียดนาม ไทย จีน ตะวันออก
กลาง ฯลฯ ทาไมพระพุทธศาสนาจึงหายไปจากอินเดีย สถานภาพพุทธศาสนาแบบเถรวาทในยูนนานใน
ปัจจุบันเป็นอย่างไร พระพุทธศาสนาในประเทศไทยปัจจุบันถือว่ามั่นคงเกิดประโยชน์กับชีวิตคนใน
สังคมเพียงพอหรือยัง ฯลฯ
5. ปรึกษาหารือกันว่า วิธีการแปลบาลีในแต่ละประเทศเขาแปลกันอย่างไร ฝรั่งแปลอย่างไร ไทยแปล
อย่างไร (เนื่องจากผู้เรียนผ่านการเรียนไวยากรณ์บาลีเบื้องต้นมาแล้ว ได้เรียนรู้หลักการแปลบาลีพื้นฐาน
และวากยสัมพันธ์มาแล้ว) จึงไม่จาเป็นต้องสอนวิธีการแปลใหม่ ยกเว้นมีคนมาใหม่จริง ๆ ต้องแนะนา
ซักซ้อมวิธีการแปลตามหนังสือหลักการแปลบาลีขั้นพื้นฐานและหลักการสัมพันธ์ให้เข้าใจก่อน
6. มอบหนังสือให้ผู้เรียนให้ครบชุดดังนี้
1. อรรถกถาบาลีธรรมบท
2. แปลธรรมบทโดยอรรถ (เผด็จ)
3 | มหาบาลีวิชชาลัย สถาบันสอนภาษาบาลีสาหรับบุคคลทั่วไป www.mahapali.com
3. แปลธรรมบทโดยพยัญชนะ
4. พจนานุกรมบาลี หนังสือและเอกสารประกอบต่าง ๆ (ถ้ามี ควรหาพจนานุกรมสักเล่มมอบให้)
7. ทาแผนผังความคิดสรุปภาพรวมบาลีธรรมบททั้ง 8 ภาค
1. แต่ละภาคแบ่งหมวดหมู่เนื้อหาอย่างไร
2. ใช้เกณฑ์อะไรในการจัดหมวดหมู่ เขาเรียงลาดับหมวดหมู่อย่างไร
3. แต่ละหมวดหมู่มีกี่เรื่อง ๆ อะไรบ้าง (ยังไม่ต้องลงรายละเอียดว่า แต่ละเรื่องเกี่ยวกับอะไร)
เขาเรียงลาดับเรื่องอย่างไร
8. เลือกภาคใดภาคหนึ่งใน 8 ภาคนี้มาสอนแปลก่อน เช่น เลือกภาค 4 หรือภาค 5 เลือกเรื่องสั้น ๆ มา
ฝึกแปลก่อน (ไม่จาเป็นต้องเรียงลาดับตั้งแต่เรื่องที่ 1- เรื่องสุดท้าย)
9. กรณีเลือกภาค 4 มาแปลก่อน ให้ทาแผนผังโครงสร้างธรรมบทภาค 4 มาให้ผู้เรียนดูโดยละเอียด
1. มีกี่วรรค อะไรบ้าง แต่ละวรรคเกี่ยวกับอะไร
2. มีกี่เรื่อง อะไรบ้าง สรุปเนื้อหาโดยย่อของแต่ละเรื่องให้ผู้เรียนได้รู้เป็นเบื้องต้น
3. ในการฝึกแปลพร้อมกันทั้งห้อง จะวางแผนเรียนแปลอย่างไร ต้องใช้เวลากี่ชั่วโมง
10. เลือกเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่จะฝึกแปลขึ้นมาก่อน
1. ให้หยิบธรรมบทแปลโดยอรรถขึ้นมาอ่านพร้อมกัน ฝึกอ่านเป็นจังหวะตั้งแต่ชื่อเรื่องจนจบเรื่อง
2. ให้หยิบอรรถกถาบาลีธรรมบทมาอ่านพร้อม ๆ กัน เป็นจังหวะวรรคตอนชัดถ้อยชัดคา ตั้งแต่ต้น
เรื่องจนจบเรื่องสัก 3 รอบ เพื่อสร้างความคุ้นชินในการออกเสียงและการเรียงประโยคบาลี พร้อม ๆ กับ
สร้างความตื่นตัวและความสงสัยไปในตัวผู้เรียนด้วย
3. สรุปสถิติให้ผู้เรียนดูในเรื่องที่กาลังเรียนแปลอยู่นั้นว่า มีคาบาลีทั้งหมดกี่คา มีคาไหนใช้ซ้า ๆ
บ่อยที่สุดกี่ครั้ง เรียงลาดับ 1-5 ที่คาใช้บ่อยสุด ถ้าแยกให้เห็นเปอร์เซ็นการใช้คานาม สรรพนาม กิริยา
นิบาต ในเรื่องได้ก็จะยิ่งดี
4. ช่วยกันคัดเลือกคามาวิเคราะห์ทีละคา ๆ เช่น คานาม วิเคราะห์ถึงลิงค์และวิภัตติ (ปทมาลาและ
ตัวเลือกคาอื่น ๆ ที่สามารถใช้แทนได้) ในช่วง 4-5 เรื่องแรก ๆ ให้เลือกคาที่สั้น ๆ ก่อน ส่วนคายาว ๆ
สมาสหรือตัทธิตยาวๆ ให้ผู้สอนวิเคราะห์ให้ดูให้หมด ในส่วนคากิริยา ฝึกนาวิเคราะห์ว่า มีบทหน้า (?)
มีธาตุ มีปัจจัย ลงวิภัตติอะไร เป็นวาจกอะไร
เพื่อให้สะดวกและรวดเร็ว ผู้สอนควรทาวิเคราะห์คานามและกิริยาเป็นเอกสารมอบให้ผู้เรียน
ล่วงหน้าก่อนเข้าเรียนเรื่องนั้น ๆ ทุกครั้ง อย่างน้อย 7 วัน เพื่อให้ผู้เรียนไปฝึกอ่านฝึกซ้อมล่วงหน้า
5. เมื่อทาการวิเคราะห์ทุกคาตั้งแต่ต้นเรื่องจนจบแล้ว ค่อยพาฝึกแปลบาลีอรรถกถาธรรมบท
ทบทวนลาดับการแปล ชี้จุดเริ่มต้นประโยค จุดจบของแต่ละประโยค ดูประเภทคาที่ปรากฎในประโยค มี
ช่วงข้อความที่ “อิติ” เก็บไว้อยู่หรือไม่ แล้วพาแปลทีละประโยค ๆ พาสัมพันธ์ทีละประโยค ๆ สัก 3 รอบ
4 | มหาบาลีวิชชาลัย สถาบันสอนภาษาบาลีสาหรับบุคคลทั่วไป www.mahapali.com
(ในแต่ละเรื่อง)
ปล่อยให้ผู้เรียนลองแปลและสัมพันธ์พร้อมกันบ้าง สุ่มให้บางคนแปลและสัมพันธ์ให้เพื่อนฟังบ้าง
เป็นประโยคสั้น ๆ (ไม่ควรยาว) จะช่วยสร้างความตื่นตัวและความมั่นใจให้กับผู้เรียนได้
บางคน ถ้าจะให้แปลหนังสือเล่มบาลีอรรถกถาธรรมบทเลย จะอึดอัด เพราะตัวหนังสือมันดูแน่น
ไปหมด ลองสังเกตุผู้เรียนดูแล้วลองเปลี่ยนแผนบ้าง คือ ใน 1-5 เรื่องแรก ๆ ที่ฝึกแปล ให้ดึงบาลีอรรถ
กถาธรรมบทมาพิมพ์ลงเอกสารใหม่ต่างหาก จัดวรรคตอนใหม่ แบ่งเป็นช่วงข้อมูลใหม่ ให้ผู้เรียนได้มี
ช่องว่างพักดูทีละประโยค ๆ บ้าง มีพื้นที่กระดาษว่างให้เขียนลงไปได้ด้วย ก็จะทาให้เรียนง่ายขึ้น
6. เมื่อพากันซ้อมแปลและสัมพันธ์จนจบเรื่องแล้ว ให้ผู้เรียนสรุปด้วยตนเองว่า คาไหนรู้สึกว่ายาก
ประโยคไหนรู้สึกว่ายาก ให้ทาเครื่องหมายหรือจดบันทึกไว้ต่างหาก (แต่ละคนจะสรุปได้ว่า มีจุดยากง่าย
ไม่เหมือนกัน/เหมือนกันในบางจุด)
7. ถ้าผู้สอนมีประสบการณ์ในการสอนแปลธรรมบทมาก่อนแล้ว จะเห็นปัญหาบ่อย ๆ ว่าเมื่อสอน
กลุ่มอื่น ๆ ผู้เรียนมักจะพลาดตรงไหน อย่างไร ควรชี้ให้ผู้เรียนเห็นว่า นักเรียนแปลธรรมบทส่วนมาก
มักจะพลาดตรงจุดไหนในเรื่องนี้ เพราะเหตุใด ผู้เรียนไม่พลาดซ้ารอยเดิมเขาอีก
11. กระตุ้นให้ผู้เรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหาในธรรมบทเรื่องนั้น ๆ ว่า
1. เนื้อหาเป็นอย่างไร มีโอกาสเป็นจริงเพียงใด
2. สภาพสังคมปัจจุบันมีเหตุการณ์หรือมีโอกาสเกิดเหตุการณ์แบบเรื่องราวที่ปรากฎในธรรมบท
เรื่องนี้หรือไม่
3. ผู้เรียนชอบหรือประทับใจอะไรในตัวละครต่าง ๆ ในธรรมบทเรื่องนี้
4. ผู้สอนอาจเตรียมคาถามที่ชวนคิดต่าง ๆ มาให้ผู้เรียนได้ฝึกคิด เช่น บางคนฟังธรรมครั้งเดียว
สามารถบรรลุอริยผลเลย คุณสมบัติและสภาพจิตเช่นไรจึงเหมาะที่จะบรรลุธรรมได้เร็ว
12. หากในเรื่องที่แปล มีคานามที่เป็นสถานที่ เช่น วัด หรือเมืองต่าง ๆ ให้ผู้เรียนหากระดาษแผ่นใหญ่
ๆ มาทาแผนที่วัดและเมืองในชมพูทวีปยุคโน้น เทียบกับอินเดียในปัจจุบัน (ชื่อเมือง ที่ตั้ง ระยะห่าง
จานวนประชากร ฯลฯ) โดยนา Google Map ที่เป็นข้อมูลปัจจุบันมาประกอบ โดยค่อย ๆ วาดไปเรื่อย ๆ
ไม่ต้องเสร็จในวันเดียว หรืออาจมอบหมายให้เพื่อนร่วมห้องบางคนไปวาดมาให้เพื่อนคนอื่น ๆ ดูก็ได้
และทาเป็นแผ่นป้ายมาติดประจาไว้ที่ห้องเรียน เมื่อแปลเรื่องอื่น ๆ ที่มีชื่อเมืองใหม่ ๆ ก็เอาแผนที่มาดู
แล้ววาดต่อเติมเมืองนั้น ๆ เพิ่มไปอีกเรื่อย ๆ
13. มอบหมายงานให้ผู้เรียนไปอ่านอรรถกถาธรรมบทแปลโดยอรรถ อ่านบาลีอรรถกถาธรรมบท
เทียบเคียงกับหนังสือแปลธรรมบทโดยพยัญชนะ ดูศัพท์ยากสาหรับการเรียนในครั้งต่อไปทุก ๆ ครั้ง (1-
2 เรื่อง แล้วแต่เนื้อหา)
14. หมายเหตุ
5 | มหาบาลีวิชชาลัย สถาบันสอนภาษาบาลีสาหรับบุคคลทั่วไป www.mahapali.com
1. แนะนาให้ผู้เรียนหาสมุดบันทึกการเรียนอย่างดีมาใช้ (ปกแข็ง เล่มหนา ใช้งานได้ทนนาน)
สามารถเก็บได้นาน 30-40 ปีขึ้นไป ให้บันทึกทั้งสิ่งที่เป็นเนื้อหาการเรียนและความคิดใหม่ ๆ (นอกเหนือ
เนื้อหาการเรียน) ที่เกิดขึ้นในขณะเรียนแปลบาลีธรรมบท แนะนาให้ผู้เรียนเก็บรักษาสมุดเรียนให้ดีที่สุด
จนกว่าผู้เรียนจะหมดลมหายใจไปจากโลกนี้
เมื่อจบคอร์สเรียนแปลในแต่ละปี หากสามารถจัดนิทรรศการแสดงสมุดบันทึกการเรียนบาลีของ
ผู้เรียนทั้งหมด ชวนคนนอกมาร่วมศึกษาแบ่งกันดูสัก 1-2 วัน จะดีมาก
2. เนื่องจากชาวบ้านไม่มีเวลามาเรียนบาลีตลอดสัปดาห์ มาเรียนได้เฉพาะวันอาทิตย์ (หรือเสาร์
ด้วยในบางวัน/บางห้อง) ดังนั้นต้องให้ฝึกเขียนแปล ฝึกเขียนสัมพันธ์บ่อย ๆ อาจมอบหมายให้ไปฝึก
เขียนที่บ้านมาส่งในสัปดาห์ต่อไป ๆ ให้เขียนครั้งละ 1 ข้อ หรือ 2 ข้อก็ยังดี การเขียนบ่อย ๆ จะทาให้
ผู้เรียนเกิดความมั่นใจ
3. แนวทางการประเมินผู้เรียน เตรียมเป็นรายการไว้เลยว่า เมื่อแปลจบเรื่องหนึ่ง ๆ ผู้เรียนแต่ละ
คนควรจะรู้และมีความสามารถอะไรบ้าง (ในระยะเวลา 7วันต่อไป) เช่น ในเรื่องหนึ่ง ๆ จะต้อง
1. รู้คาศัพท์มากกว่า 95%
2. วิเคราะห์คานามได้มากกว่า 90%
3. วิเคราะห์คากิริยาได้มากกว่า 90%
4. ข้อผิดพลาดเรื่องวาจก ไม่มี
5. เรียกชื่อสัมพันธ์ได้ถูกต้อง 100%
6. แปลตามหลักสัมพันธ์ สัมพันธ์ได้ถูกต้องโดยเฉพาะคาที่ต้องสัมพันธ์เข้ากลางบทต้องไม่
ผิดพลาด
4. กรณีมีผู้เรียนจานวนมากและมีหลายห้อง แนะนาให้จัดงาน “บาลีสากัจฉาเรื่องการแปลบาลี
ธรรมบท” ก่อนอย่างน้อย 1 วัน เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจภาพรวมและโครงสร้างเนื้อหาบาลีธรรมบท
5. ก่อนแปลเรื่องใหม่ในวันต่อไป ให้ทบทวนดูเรื่องเดิม โดยเน้นคาศัพท์หรือประโยคที่ควรระวัง
6. รวบรวมกรณีตัวอย่างที่แปลผิด/สัมพันธ์ผิดตามเกณฑ์การสอบบาลีสนามหลวงมาอธิบายให้
ผู้เรียนเข้าใจตั้งแต่เริ่มต้น
7. จัดวันสอนเสริมเรื่องฉันท์เป็นการเฉพาะ เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักประเภทและลักษณะฉันท์ได้อย่าง
น้อย 3-5 ฉันท์
8. การสื่อสารระหว่างการเรียนการสอนให้ชัดเจน ตรงไปตรงมา ไม่ออกนอกเรื่องเกินไป เพราะ
ชาวบ้านเดินทางมาเรียนบาลีในแต่ละวันนั้น บางคนนับเวลาไป/กลับ ใช้เวลามากกว่า 4 ชั่วโมง ดังนั้น
ผู้เรียนต้องได้ประโยชน์มากที่สุด
9. ศัพท์เทคนิค/คาเฉพาะในแวดวงนักบวช ควรเลือกใช้ให้เหมาะสม ถ้าจาเป็นต้องใช้ ให้รีบ
6 | มหาบาลีวิชชาลัย สถาบันสอนภาษาบาลีสาหรับบุคคลทั่วไป www.mahapali.com
อธิบายให้ชัดเจน
10. เมื่อเรียนผ่านไป 3 เดือนแล้ว ให้เจาะลึกผู้เรียนเป็นรายบุคคลทันทีว่า ใครมีจุดอ่อนอะไร
จะต้องเสริมตรงไหน ต้องแนะนาเป็นรายบุคคลให้ไปแก้ไขจุดอ่อนของตัวเอง ถ้าส่วนมากมีจุดอ่อนใน
เรื่องเดียวกันต้องสอนเสริมทันที เอาเรื่องนั้น ๆ มาทาความเข้าใจร่วมกันทันที อย่าปล่อยให้ผ่านไปจะ
เป็นการสะสมปัญหาในระยะยาว
11. คานามที่เป็นชื่อเฉพาะ เช่น ศัพท์ชื่อต้นไม้ ศัพท์เรียกสัตว์ชนิดต่าง ๆ ควรแนะนาให้เขียน
บันทึกแยกออกมาต่างหาก เช่น ต้นกระเบา ต้นกากะทิง ต้นจิก ฯลฯ ต้นไม้บางชนิด โบราณาจารย์
อธิบายว่าเป็นต้นไม้ประจาพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ ทาไม เพราะเหตุใด ชวนกันหาความรู้ได้
12. คาและสานวนแปลที่เป็นภาษาถิ่น ควรแนะนาผู้เรียนให้ชัดเจนว่า เทียบกับภาษาไทยกลาง
คืออะไร เช่น หญ้ากับแก้ (ภาษาถิ่นล้านช้าง) = หญ้า(ตีน)ตุ๊กแก
13. ในบางเรื่องที่แปล จะมีมาตราวัดต่าง ๆ เช่น มาตราวัดระยะทาง วัดน้าหนัก วัดรูปทรง วัด
ความเร็ว ฯลฯ มาตราวัดที่ปรากฎในเรื่องที่แปลมีใช้ในยุคพุทธกาลก็มียุคก่อนพุทธกาลก็มี ใช้เฉพาะบาง
ถิ่นบางเมืองก็มี ให้อธิบายเทียบกับมาตราวัดของไทย (ทั้งแบบโบราณและแบบปัจจุบัน) ให้ชัดเจนว่า
เป็นอย่างไร เช่น โยชน์ คาวุต องคุลี ทะนาน ธนู บาท ลัดนิ้วมือ ฯลฯ
14. เนื้อหาที่แปลบางเรื่องตรงกับนิทานอีสปหรือนิทานท้องถิ่นในสังคมอื่น ๆ ก็สามารถ
แลกเปลี่ยนทัศนะในแง่มุมต่าง ๆ ได้
15. เนื้อหาที่แปลบางเรื่องเป็นธรรมเนียมพราหมณ์หรือฮินดูเก่า เนื้อหาบางตอนอาจเป็นคติหรือ
เนื้อหาจากภารตยุทธ์ ควรช่วยกันมองและแยกแยะออกมาให้ได้ อย่าสรุปเหมารวมว่าเป็นคาสอนในทาง
พระพุทธศาสนาทั้งหมด
----------------------

More Related Content

What's hot

Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบปNamfon Wannapa
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงSatheinna Khetmanedaja
 
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษรูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษAlis Sopa
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติJarinya Chaiyabin
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียนคู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียนUtai Sukviwatsirikul
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษKritsadin Khemtong
 
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocx
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocxเผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocx
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocxPimchanok Teerasawet
 
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.peter dontoom
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความPensri Sangsuk
 

What's hot (18)

Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูง
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
1
11
1
 
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิตภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
 
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษรูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
 
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียนคู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
 
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
 
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocx
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocxเผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocx
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocx
 
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
 

Similar to สอนแปลธรรมบท

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
ใบความรู้+การสอนแบบบูรณาการ(A model of Integration)+ป.1+103+dltvengp1+21 inte...
ใบความรู้+การสอนแบบบูรณาการ(A model of Integration)+ป.1+103+dltvengp1+21 inte...ใบความรู้+การสอนแบบบูรณาการ(A model of Integration)+ป.1+103+dltvengp1+21 inte...
ใบความรู้+การสอนแบบบูรณาการ(A model of Integration)+ป.1+103+dltvengp1+21 inte...Prachoom Rangkasikorn
 
การสอนแบบบูรณาการ+ป.2+120+dltvengp2+21 integration
การสอนแบบบูรณาการ+ป.2+120+dltvengp2+21 integrationการสอนแบบบูรณาการ+ป.2+120+dltvengp2+21 integration
การสอนแบบบูรณาการ+ป.2+120+dltvengp2+21 integrationPrachoom Rangkasikorn
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubonWaree Wera
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันnoi1
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Itnog Kamix
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)yana54
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยJo Smartscience II
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยArm Watcharin
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรทับทิม เจริญตา
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศBoonlert Aroonpiboon
 

Similar to สอนแปลธรรมบท (20)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
ใบความรู้+การสอนแบบบูรณาการ(A model of Integration)+ป.1+103+dltvengp1+21 inte...
ใบความรู้+การสอนแบบบูรณาการ(A model of Integration)+ป.1+103+dltvengp1+21 inte...ใบความรู้+การสอนแบบบูรณาการ(A model of Integration)+ป.1+103+dltvengp1+21 inte...
ใบความรู้+การสอนแบบบูรณาการ(A model of Integration)+ป.1+103+dltvengp1+21 inte...
 
การสอนแบบบูรณาการ+ป.2+120+dltvengp2+21 integration
การสอนแบบบูรณาการ+ป.2+120+dltvengp2+21 integrationการสอนแบบบูรณาการ+ป.2+120+dltvengp2+21 integration
การสอนแบบบูรณาการ+ป.2+120+dltvengp2+21 integration
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
 
ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
 
Ai ed
Ai edAi ed
Ai ed
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 

More from Tongsamut vorasan

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒Tongsamut vorasan
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติTongsamut vorasan
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตTongsamut vorasan
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมTongsamut vorasan
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔Tongsamut vorasan
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)Tongsamut vorasan
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯTongsamut vorasan
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018Tongsamut vorasan
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖Tongsamut vorasan
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจTongsamut vorasan
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นTongsamut vorasan
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทTongsamut vorasan
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2Tongsamut vorasan
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 

More from Tongsamut vorasan (20)

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
 

สอนแปลธรรมบท

  • 1. 1 | มหาบาลีวิชชาลัย สถาบันสอนภาษาบาลีสาหรับบุคคลทั่วไป www.mahapali.com แนวการสอนชาวบ้านแปลบาลีธรรมบทให้เกิดประโยชน์สูงสุด ชาวบ้านที่มาเรียนบาลีส่วนมากเป็นผู้ใหญ่ มีพื้นฐานทางความคิดที่ดี มีหลักวิธีในการเรียนที่ดีมี ข้อมูลพื้นฐานทางสังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมมาก มีประสบการณ์ในการทางานมามากแล้ว หลาย คนมีวิธีการค้นคว้าหาข้อมูลดี สามารถคัดเลือก แยกแยะ เชื่อมโยง จัดเก็บ จัดระเบียบข้อมูลได้ดี รวมทั้ง มีวิธีการนาเสนอข้อมูลที่ดีด้วย ดังนั้น การสอนแปลบาลีธรรมบทสาหรับชาวบ้าน จึงต้องหาวิธีปรับให้ เหมาะสม อย่างไรก็ตาม ชาวบ้านจะมีเวลาจากัดในการเรียนบาลี สัปดาห์หนึ่งมาเรียนได้เพียง 1-2 วัน เท่านั้น ดังนั้น แม้จะมีเวลาเรียนจากัด แต่หากมีวิธีการสอนที่เหมาะสม จะช่วยให้เกิดประโยชน์อย่างมาก ข้อที่ควรคานึงไว้เป็นมั่นเหมาะแน่วแน่ คือ ไม่ควรมุ่งเน้นสอนเพื่อเตรียมเข้าสอบบาลีศึกษามากเกินไป ควรเน้นให้ผู้เรียนได้รับความรู้อย่างลึกซึ้ง มีความร่าเริงทางธรรมเป็นเบื้องต้นก่อนจะดีกว่า แนวทางที่แนะนาต่อไปนี้ ประมวลจากประสบการณ์ส่วนตัวและมองดูการสอนบาลีของพระสงฆ์ ไทยมาพอสมควร ไม่พึงสรุปว่า นี่เป็นแบบสาเร็จรูปสมบูรณ์ ให้คิดว่าเป็นแนวประกอบส่วนหนึ่งเท่านั้น ผู้สอนพึงเลือกเฟ้นและประยุกต์ให้เหมาะสมกับกลุ่มผู้เรียน สภาพแวดล้อม ความพร้อมทางทรัพยากร และอื่น ๆ ตามสมควร แนวการสอนชาวบ้านแปลบาลีธรรมบทให้เกิดประโยชน์สูงสุด ควรทาดังนี้ 1. ทาแผนผังความคิด (Mind Map) ร่างโครงสร้าง หรือวาดภาพให้ผู้เรียนเห็นว่า คัมภีร์ต่าง ๆ ใน พระพุทธศาสนามีอะไรบ้าง จัดประเภทจัดระดับชั้นอย่างไรบ้าง โยงให้เห็นเป็นแผนผังในภาพรวม ตั้งแต่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา ปกรณ์พิเศษต่าง ๆ (ในคัมภีร์ระดับอรรถกถาลงมา ควรให้ผู้เรียนได้รู้จัก ชื่อและประวัติผู้แต่งคัมภีร์นั้น ๆ ด้วย) 2. นาพระไตรปิฎกฉบับบาลีและฉบับแปลเป็นไทยของเล่มที่ว่าด้วยเรื่อง ธรรมบท มาแสดงให้ผู้เรียนดู เพื่อให้ผู้เรียนได้สัมผัสเล่มจริง (หาเล่มที่เก่าที่สุดได้ยิ่งดี และหากมีพระไตรปิฎกหลายภาษามาแสดงด้วย ยิ่งดีเข้าไปอีก) พร้อม ๆ กับถามและชวนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นผู้เรียนว่า บรรพชนโบราณาจารย์เถร วาท ปราชญ์บัณฑิต กลุ่มผู้นาในสังคมและคนไทยสมัยก่อนเขาดูแลรักษาพระไตรปิฎกกันอย่างไร อาจ ยกตัวอย่างสภาพบ้านเมืองถูกเผาในเหตุการณ์สงคราม เช่น ในยุคกรุงศรีอยุธยา สิ่งมีค่าสาคัญที่ เสียหายไปในระหว่างสงคราม และการพยายามเสาะหาคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาจากที่ต่าง ๆ เพื่อ นามารวบรวมเรียบเรียงเข้าชุดกัน พร้อม ๆ กับตรวจสอบชาระกันใหม่จนตกมาถึงยุคพวกเรา (ตรงนี้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดความรักความรู้สึกหวงแหนและเห็นความสาคัญในอริยมรดกของบรรพ ชน รวมทั้งให้เห็นคุณค่าเห็นความยากลาบากในการดูแลรักษาคัมภีร์ต่าง ๆ ในยุคก่อน ๆ ที่ล้วนแต่มี ข้อจากัด) ควรกระตุ้นให้ผู้เรียนทุกคนในห้องเรียนได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ในขั้นตอนเริ่มต้นนี้
  • 2. 2 | มหาบาลีวิชชาลัย สถาบันสอนภาษาบาลีสาหรับบุคคลทั่วไป www.mahapali.com เพราะจะเป็นการเปิดตัวเปิดใจทุกคนด้วย เป็นการสร้างความคุ้นเคยกับเพื่อนร่วมห้องคนอื่น ๆ ได้อย่าง รวดเร็ว แต่พึงตระหนักในเรื่องสัมมาวาจาและเมตตาจิตระหว่างกัน หากแลกเปลี่ยนความคิดกันแล้ว เกิดการโต้เถียงมีเรื่องขุ่นเคืองใจระหว่างกัน แสดงว่าใจผู้เรียนยังไม่กว้างพอยังแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในเชิงวิชาการไม่เป็น ยังหนักในทิฐิจริตและติดในมานะความถือตัวยังถือเขาถือเราอยู่มาก ซึ่งถือเป็น เรื่องธรรมดา เพราะคนที่มีอายุมากผ่านประสบการณ์ชีวิตมามาก สะสมอะไรมามากมาย ก็จะออก ลักษณะอาการเช่นนี้บ้าง แต่ผู้สอนต้องหาทางปรับเปลี่ยนทัศนะ ท่าทีและวิธีการของทุกคนใหม่ อย่าให้ เสียความสามัคคีในกลุ่มผู้เรียน 3. ชวนพูดคุยให้ช่วยกันแสดงความรู้ความคิดเห็นอย่างเต็มที่ว่า 1. ธรรมบท คืออะไร (หาความหมายหลาย ๆ นัยที่คนรุ่นเก่าอธิบายไว้มาช่วยกันดูและวิจารณ์) 2. อรรถกถาธรรมบทคืออะไร 3. ใครคือคนให้คาอธิบายพระธรรมบท (ที่เรียกว่าพระอรรถกถาจารย์) คนที่ให้คาอธิบายนี้ เขา อธิบายตั้งแต่เมื่อไหร่ ผู้อธิบายต้องมีคุณสมบัติพื้นฐานขั้นต่าอย่างไร 4. พระสงฆ์หรือชาวไทยในปัจจุบันมีคุณสมบัติพอจะเป็นพระอรรถกถาจารย์ได้หรือไม่ เพราะเหตุ ใด 5. ประเด็นสาคัญคือแต่ละคนที่มาเรียนแปลบาลีธรรมบท ผู้เรียนจะนาข้อคิดหลักธรรมในธรรม บทมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับตัวเองอย่างไร เพราะหลายคนอายุมากแล้ว คงมีเวลาอยู่ในโลกได้ ไม่นาน ดังนั้นต้องเร่งหาเอาประโยชน์จากการเรียนรู้บาลีธรรมบทครั้งนี้ให้มากที่สุด 4. ชวนกันสอบสวนขยายความรู้ต่อไปอีกว่า คนในยุคก่อน ๆ เขาสืบทอดพระธรรมคาสอนของ พระพุทธเจ้ากันอย่างไร ทั้งในอินเดีย ศรีลังกา พม่า เขมร ลาว ยูนนาน เวียดนาม ไทย จีน ตะวันออก กลาง ฯลฯ ทาไมพระพุทธศาสนาจึงหายไปจากอินเดีย สถานภาพพุทธศาสนาแบบเถรวาทในยูนนานใน ปัจจุบันเป็นอย่างไร พระพุทธศาสนาในประเทศไทยปัจจุบันถือว่ามั่นคงเกิดประโยชน์กับชีวิตคนใน สังคมเพียงพอหรือยัง ฯลฯ 5. ปรึกษาหารือกันว่า วิธีการแปลบาลีในแต่ละประเทศเขาแปลกันอย่างไร ฝรั่งแปลอย่างไร ไทยแปล อย่างไร (เนื่องจากผู้เรียนผ่านการเรียนไวยากรณ์บาลีเบื้องต้นมาแล้ว ได้เรียนรู้หลักการแปลบาลีพื้นฐาน และวากยสัมพันธ์มาแล้ว) จึงไม่จาเป็นต้องสอนวิธีการแปลใหม่ ยกเว้นมีคนมาใหม่จริง ๆ ต้องแนะนา ซักซ้อมวิธีการแปลตามหนังสือหลักการแปลบาลีขั้นพื้นฐานและหลักการสัมพันธ์ให้เข้าใจก่อน 6. มอบหนังสือให้ผู้เรียนให้ครบชุดดังนี้ 1. อรรถกถาบาลีธรรมบท 2. แปลธรรมบทโดยอรรถ (เผด็จ)
  • 3. 3 | มหาบาลีวิชชาลัย สถาบันสอนภาษาบาลีสาหรับบุคคลทั่วไป www.mahapali.com 3. แปลธรรมบทโดยพยัญชนะ 4. พจนานุกรมบาลี หนังสือและเอกสารประกอบต่าง ๆ (ถ้ามี ควรหาพจนานุกรมสักเล่มมอบให้) 7. ทาแผนผังความคิดสรุปภาพรวมบาลีธรรมบททั้ง 8 ภาค 1. แต่ละภาคแบ่งหมวดหมู่เนื้อหาอย่างไร 2. ใช้เกณฑ์อะไรในการจัดหมวดหมู่ เขาเรียงลาดับหมวดหมู่อย่างไร 3. แต่ละหมวดหมู่มีกี่เรื่อง ๆ อะไรบ้าง (ยังไม่ต้องลงรายละเอียดว่า แต่ละเรื่องเกี่ยวกับอะไร) เขาเรียงลาดับเรื่องอย่างไร 8. เลือกภาคใดภาคหนึ่งใน 8 ภาคนี้มาสอนแปลก่อน เช่น เลือกภาค 4 หรือภาค 5 เลือกเรื่องสั้น ๆ มา ฝึกแปลก่อน (ไม่จาเป็นต้องเรียงลาดับตั้งแต่เรื่องที่ 1- เรื่องสุดท้าย) 9. กรณีเลือกภาค 4 มาแปลก่อน ให้ทาแผนผังโครงสร้างธรรมบทภาค 4 มาให้ผู้เรียนดูโดยละเอียด 1. มีกี่วรรค อะไรบ้าง แต่ละวรรคเกี่ยวกับอะไร 2. มีกี่เรื่อง อะไรบ้าง สรุปเนื้อหาโดยย่อของแต่ละเรื่องให้ผู้เรียนได้รู้เป็นเบื้องต้น 3. ในการฝึกแปลพร้อมกันทั้งห้อง จะวางแผนเรียนแปลอย่างไร ต้องใช้เวลากี่ชั่วโมง 10. เลือกเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่จะฝึกแปลขึ้นมาก่อน 1. ให้หยิบธรรมบทแปลโดยอรรถขึ้นมาอ่านพร้อมกัน ฝึกอ่านเป็นจังหวะตั้งแต่ชื่อเรื่องจนจบเรื่อง 2. ให้หยิบอรรถกถาบาลีธรรมบทมาอ่านพร้อม ๆ กัน เป็นจังหวะวรรคตอนชัดถ้อยชัดคา ตั้งแต่ต้น เรื่องจนจบเรื่องสัก 3 รอบ เพื่อสร้างความคุ้นชินในการออกเสียงและการเรียงประโยคบาลี พร้อม ๆ กับ สร้างความตื่นตัวและความสงสัยไปในตัวผู้เรียนด้วย 3. สรุปสถิติให้ผู้เรียนดูในเรื่องที่กาลังเรียนแปลอยู่นั้นว่า มีคาบาลีทั้งหมดกี่คา มีคาไหนใช้ซ้า ๆ บ่อยที่สุดกี่ครั้ง เรียงลาดับ 1-5 ที่คาใช้บ่อยสุด ถ้าแยกให้เห็นเปอร์เซ็นการใช้คานาม สรรพนาม กิริยา นิบาต ในเรื่องได้ก็จะยิ่งดี 4. ช่วยกันคัดเลือกคามาวิเคราะห์ทีละคา ๆ เช่น คานาม วิเคราะห์ถึงลิงค์และวิภัตติ (ปทมาลาและ ตัวเลือกคาอื่น ๆ ที่สามารถใช้แทนได้) ในช่วง 4-5 เรื่องแรก ๆ ให้เลือกคาที่สั้น ๆ ก่อน ส่วนคายาว ๆ สมาสหรือตัทธิตยาวๆ ให้ผู้สอนวิเคราะห์ให้ดูให้หมด ในส่วนคากิริยา ฝึกนาวิเคราะห์ว่า มีบทหน้า (?) มีธาตุ มีปัจจัย ลงวิภัตติอะไร เป็นวาจกอะไร เพื่อให้สะดวกและรวดเร็ว ผู้สอนควรทาวิเคราะห์คานามและกิริยาเป็นเอกสารมอบให้ผู้เรียน ล่วงหน้าก่อนเข้าเรียนเรื่องนั้น ๆ ทุกครั้ง อย่างน้อย 7 วัน เพื่อให้ผู้เรียนไปฝึกอ่านฝึกซ้อมล่วงหน้า 5. เมื่อทาการวิเคราะห์ทุกคาตั้งแต่ต้นเรื่องจนจบแล้ว ค่อยพาฝึกแปลบาลีอรรถกถาธรรมบท ทบทวนลาดับการแปล ชี้จุดเริ่มต้นประโยค จุดจบของแต่ละประโยค ดูประเภทคาที่ปรากฎในประโยค มี ช่วงข้อความที่ “อิติ” เก็บไว้อยู่หรือไม่ แล้วพาแปลทีละประโยค ๆ พาสัมพันธ์ทีละประโยค ๆ สัก 3 รอบ
  • 4. 4 | มหาบาลีวิชชาลัย สถาบันสอนภาษาบาลีสาหรับบุคคลทั่วไป www.mahapali.com (ในแต่ละเรื่อง) ปล่อยให้ผู้เรียนลองแปลและสัมพันธ์พร้อมกันบ้าง สุ่มให้บางคนแปลและสัมพันธ์ให้เพื่อนฟังบ้าง เป็นประโยคสั้น ๆ (ไม่ควรยาว) จะช่วยสร้างความตื่นตัวและความมั่นใจให้กับผู้เรียนได้ บางคน ถ้าจะให้แปลหนังสือเล่มบาลีอรรถกถาธรรมบทเลย จะอึดอัด เพราะตัวหนังสือมันดูแน่น ไปหมด ลองสังเกตุผู้เรียนดูแล้วลองเปลี่ยนแผนบ้าง คือ ใน 1-5 เรื่องแรก ๆ ที่ฝึกแปล ให้ดึงบาลีอรรถ กถาธรรมบทมาพิมพ์ลงเอกสารใหม่ต่างหาก จัดวรรคตอนใหม่ แบ่งเป็นช่วงข้อมูลใหม่ ให้ผู้เรียนได้มี ช่องว่างพักดูทีละประโยค ๆ บ้าง มีพื้นที่กระดาษว่างให้เขียนลงไปได้ด้วย ก็จะทาให้เรียนง่ายขึ้น 6. เมื่อพากันซ้อมแปลและสัมพันธ์จนจบเรื่องแล้ว ให้ผู้เรียนสรุปด้วยตนเองว่า คาไหนรู้สึกว่ายาก ประโยคไหนรู้สึกว่ายาก ให้ทาเครื่องหมายหรือจดบันทึกไว้ต่างหาก (แต่ละคนจะสรุปได้ว่า มีจุดยากง่าย ไม่เหมือนกัน/เหมือนกันในบางจุด) 7. ถ้าผู้สอนมีประสบการณ์ในการสอนแปลธรรมบทมาก่อนแล้ว จะเห็นปัญหาบ่อย ๆ ว่าเมื่อสอน กลุ่มอื่น ๆ ผู้เรียนมักจะพลาดตรงไหน อย่างไร ควรชี้ให้ผู้เรียนเห็นว่า นักเรียนแปลธรรมบทส่วนมาก มักจะพลาดตรงจุดไหนในเรื่องนี้ เพราะเหตุใด ผู้เรียนไม่พลาดซ้ารอยเดิมเขาอีก 11. กระตุ้นให้ผู้เรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหาในธรรมบทเรื่องนั้น ๆ ว่า 1. เนื้อหาเป็นอย่างไร มีโอกาสเป็นจริงเพียงใด 2. สภาพสังคมปัจจุบันมีเหตุการณ์หรือมีโอกาสเกิดเหตุการณ์แบบเรื่องราวที่ปรากฎในธรรมบท เรื่องนี้หรือไม่ 3. ผู้เรียนชอบหรือประทับใจอะไรในตัวละครต่าง ๆ ในธรรมบทเรื่องนี้ 4. ผู้สอนอาจเตรียมคาถามที่ชวนคิดต่าง ๆ มาให้ผู้เรียนได้ฝึกคิด เช่น บางคนฟังธรรมครั้งเดียว สามารถบรรลุอริยผลเลย คุณสมบัติและสภาพจิตเช่นไรจึงเหมาะที่จะบรรลุธรรมได้เร็ว 12. หากในเรื่องที่แปล มีคานามที่เป็นสถานที่ เช่น วัด หรือเมืองต่าง ๆ ให้ผู้เรียนหากระดาษแผ่นใหญ่ ๆ มาทาแผนที่วัดและเมืองในชมพูทวีปยุคโน้น เทียบกับอินเดียในปัจจุบัน (ชื่อเมือง ที่ตั้ง ระยะห่าง จานวนประชากร ฯลฯ) โดยนา Google Map ที่เป็นข้อมูลปัจจุบันมาประกอบ โดยค่อย ๆ วาดไปเรื่อย ๆ ไม่ต้องเสร็จในวันเดียว หรืออาจมอบหมายให้เพื่อนร่วมห้องบางคนไปวาดมาให้เพื่อนคนอื่น ๆ ดูก็ได้ และทาเป็นแผ่นป้ายมาติดประจาไว้ที่ห้องเรียน เมื่อแปลเรื่องอื่น ๆ ที่มีชื่อเมืองใหม่ ๆ ก็เอาแผนที่มาดู แล้ววาดต่อเติมเมืองนั้น ๆ เพิ่มไปอีกเรื่อย ๆ 13. มอบหมายงานให้ผู้เรียนไปอ่านอรรถกถาธรรมบทแปลโดยอรรถ อ่านบาลีอรรถกถาธรรมบท เทียบเคียงกับหนังสือแปลธรรมบทโดยพยัญชนะ ดูศัพท์ยากสาหรับการเรียนในครั้งต่อไปทุก ๆ ครั้ง (1- 2 เรื่อง แล้วแต่เนื้อหา) 14. หมายเหตุ
  • 5. 5 | มหาบาลีวิชชาลัย สถาบันสอนภาษาบาลีสาหรับบุคคลทั่วไป www.mahapali.com 1. แนะนาให้ผู้เรียนหาสมุดบันทึกการเรียนอย่างดีมาใช้ (ปกแข็ง เล่มหนา ใช้งานได้ทนนาน) สามารถเก็บได้นาน 30-40 ปีขึ้นไป ให้บันทึกทั้งสิ่งที่เป็นเนื้อหาการเรียนและความคิดใหม่ ๆ (นอกเหนือ เนื้อหาการเรียน) ที่เกิดขึ้นในขณะเรียนแปลบาลีธรรมบท แนะนาให้ผู้เรียนเก็บรักษาสมุดเรียนให้ดีที่สุด จนกว่าผู้เรียนจะหมดลมหายใจไปจากโลกนี้ เมื่อจบคอร์สเรียนแปลในแต่ละปี หากสามารถจัดนิทรรศการแสดงสมุดบันทึกการเรียนบาลีของ ผู้เรียนทั้งหมด ชวนคนนอกมาร่วมศึกษาแบ่งกันดูสัก 1-2 วัน จะดีมาก 2. เนื่องจากชาวบ้านไม่มีเวลามาเรียนบาลีตลอดสัปดาห์ มาเรียนได้เฉพาะวันอาทิตย์ (หรือเสาร์ ด้วยในบางวัน/บางห้อง) ดังนั้นต้องให้ฝึกเขียนแปล ฝึกเขียนสัมพันธ์บ่อย ๆ อาจมอบหมายให้ไปฝึก เขียนที่บ้านมาส่งในสัปดาห์ต่อไป ๆ ให้เขียนครั้งละ 1 ข้อ หรือ 2 ข้อก็ยังดี การเขียนบ่อย ๆ จะทาให้ ผู้เรียนเกิดความมั่นใจ 3. แนวทางการประเมินผู้เรียน เตรียมเป็นรายการไว้เลยว่า เมื่อแปลจบเรื่องหนึ่ง ๆ ผู้เรียนแต่ละ คนควรจะรู้และมีความสามารถอะไรบ้าง (ในระยะเวลา 7วันต่อไป) เช่น ในเรื่องหนึ่ง ๆ จะต้อง 1. รู้คาศัพท์มากกว่า 95% 2. วิเคราะห์คานามได้มากกว่า 90% 3. วิเคราะห์คากิริยาได้มากกว่า 90% 4. ข้อผิดพลาดเรื่องวาจก ไม่มี 5. เรียกชื่อสัมพันธ์ได้ถูกต้อง 100% 6. แปลตามหลักสัมพันธ์ สัมพันธ์ได้ถูกต้องโดยเฉพาะคาที่ต้องสัมพันธ์เข้ากลางบทต้องไม่ ผิดพลาด 4. กรณีมีผู้เรียนจานวนมากและมีหลายห้อง แนะนาให้จัดงาน “บาลีสากัจฉาเรื่องการแปลบาลี ธรรมบท” ก่อนอย่างน้อย 1 วัน เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจภาพรวมและโครงสร้างเนื้อหาบาลีธรรมบท 5. ก่อนแปลเรื่องใหม่ในวันต่อไป ให้ทบทวนดูเรื่องเดิม โดยเน้นคาศัพท์หรือประโยคที่ควรระวัง 6. รวบรวมกรณีตัวอย่างที่แปลผิด/สัมพันธ์ผิดตามเกณฑ์การสอบบาลีสนามหลวงมาอธิบายให้ ผู้เรียนเข้าใจตั้งแต่เริ่มต้น 7. จัดวันสอนเสริมเรื่องฉันท์เป็นการเฉพาะ เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักประเภทและลักษณะฉันท์ได้อย่าง น้อย 3-5 ฉันท์ 8. การสื่อสารระหว่างการเรียนการสอนให้ชัดเจน ตรงไปตรงมา ไม่ออกนอกเรื่องเกินไป เพราะ ชาวบ้านเดินทางมาเรียนบาลีในแต่ละวันนั้น บางคนนับเวลาไป/กลับ ใช้เวลามากกว่า 4 ชั่วโมง ดังนั้น ผู้เรียนต้องได้ประโยชน์มากที่สุด 9. ศัพท์เทคนิค/คาเฉพาะในแวดวงนักบวช ควรเลือกใช้ให้เหมาะสม ถ้าจาเป็นต้องใช้ ให้รีบ
  • 6. 6 | มหาบาลีวิชชาลัย สถาบันสอนภาษาบาลีสาหรับบุคคลทั่วไป www.mahapali.com อธิบายให้ชัดเจน 10. เมื่อเรียนผ่านไป 3 เดือนแล้ว ให้เจาะลึกผู้เรียนเป็นรายบุคคลทันทีว่า ใครมีจุดอ่อนอะไร จะต้องเสริมตรงไหน ต้องแนะนาเป็นรายบุคคลให้ไปแก้ไขจุดอ่อนของตัวเอง ถ้าส่วนมากมีจุดอ่อนใน เรื่องเดียวกันต้องสอนเสริมทันที เอาเรื่องนั้น ๆ มาทาความเข้าใจร่วมกันทันที อย่าปล่อยให้ผ่านไปจะ เป็นการสะสมปัญหาในระยะยาว 11. คานามที่เป็นชื่อเฉพาะ เช่น ศัพท์ชื่อต้นไม้ ศัพท์เรียกสัตว์ชนิดต่าง ๆ ควรแนะนาให้เขียน บันทึกแยกออกมาต่างหาก เช่น ต้นกระเบา ต้นกากะทิง ต้นจิก ฯลฯ ต้นไม้บางชนิด โบราณาจารย์ อธิบายว่าเป็นต้นไม้ประจาพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ ทาไม เพราะเหตุใด ชวนกันหาความรู้ได้ 12. คาและสานวนแปลที่เป็นภาษาถิ่น ควรแนะนาผู้เรียนให้ชัดเจนว่า เทียบกับภาษาไทยกลาง คืออะไร เช่น หญ้ากับแก้ (ภาษาถิ่นล้านช้าง) = หญ้า(ตีน)ตุ๊กแก 13. ในบางเรื่องที่แปล จะมีมาตราวัดต่าง ๆ เช่น มาตราวัดระยะทาง วัดน้าหนัก วัดรูปทรง วัด ความเร็ว ฯลฯ มาตราวัดที่ปรากฎในเรื่องที่แปลมีใช้ในยุคพุทธกาลก็มียุคก่อนพุทธกาลก็มี ใช้เฉพาะบาง ถิ่นบางเมืองก็มี ให้อธิบายเทียบกับมาตราวัดของไทย (ทั้งแบบโบราณและแบบปัจจุบัน) ให้ชัดเจนว่า เป็นอย่างไร เช่น โยชน์ คาวุต องคุลี ทะนาน ธนู บาท ลัดนิ้วมือ ฯลฯ 14. เนื้อหาที่แปลบางเรื่องตรงกับนิทานอีสปหรือนิทานท้องถิ่นในสังคมอื่น ๆ ก็สามารถ แลกเปลี่ยนทัศนะในแง่มุมต่าง ๆ ได้ 15. เนื้อหาที่แปลบางเรื่องเป็นธรรมเนียมพราหมณ์หรือฮินดูเก่า เนื้อหาบางตอนอาจเป็นคติหรือ เนื้อหาจากภารตยุทธ์ ควรช่วยกันมองและแยกแยะออกมาให้ได้ อย่าสรุปเหมารวมว่าเป็นคาสอนในทาง พระพุทธศาสนาทั้งหมด ----------------------