SlideShare a Scribd company logo
1 of 116
Download to read offline
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 
ภาษาไทย 
คณิตศาสตร์ 
วิทยาศาสตร์ 
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 
สุขศึกษาและพลศึกษา 
ศิลปะ 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 
ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
หน้าว่าง
โรงเรียนวังไกลกังวล (ระดับประถมศึกษา) ถนนเพชรเกษม อำ�เภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 
สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 
คู่มือการจัดการเรียนการสอน 
ทางไกลผ่านดาวเทียม 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 
ภาษาไทย 
มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 
สงวนลิขสิทธิ์
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
คำ�แนะนำ�แนวการสอนภาษาไทย 
ก. การสอนโดยใช้หนังสือเรียน 
4 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ 
ใช้หนังสือเป็นหลัก เน้นอ่านเพื่อเข้าใจ และให้สัมพันธ์กับการพูด การเขียน 
๑. การเตรียมการอ่าน 
๑.๑ ให้ดูภาพ สนทนาเกี่ยวกับชื่อเรื่อง แล้วอภิปรายเกี่ยวกับความคิดในบทเรียน อ่านคำ�ใหม่ อภิปราย 
คำ�ยาก อ่านข้อความบางตอน แล้วอภิปรายว่าบทเรียนเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร และบทอ่านชนิดใด 
๑.๒ ตั้งจุดประสงค์การอ่าน ได้แก่ อ่านเพื่อตอบคำ�ถาม อ่านเพื่อสรุป อ่านเพื่อหารายละเอียด เป็นต้น 
๒. การอ่าน 
๒.๑ อ่านในใจ 
✍ โดยแบ่งการอ่านเป็นตอน เป็นย่อหน้า หรือตลอดเรื่อง 
✍ ตอบคำ�ถามปากเปล่าเพื่อทำ�ความเข้าใจ “ใคร ทำ�อะไร ที่ไหน อย่างไร” หรือ “เหตุเกิดเมื่อไร ใคร 
เกี่ยวข้อง เริ่มจากอะไร ทำ�ให้เกิดผลอย่างไร” เป็นต้น 
๒.๒ อภิปรายโครงสร้างของเรื่อง 
✍ เขียนโครงร่างของเรื่อง 
✍ ร่วมกันอภิปรายโครงสร้างของเรื่อง 
✍ เขียนโครงสร้างของเรื่องตามโครงเรื่อง 
✍ เล่าเรื่องตามโครงสร้าง 
✍ เขียนเรื่องตามโครงสร้างลงแผนภูมิ/สมุด 
✍ เขียนตอบคำ�ถาม 
๒.๓ อ่านออกเสียง 
✍ ฝึกอ่านออกเสียง และอ่านเพื่อความชื่นชม (ทำ�นองเสนาะ) 
๓. การจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะทางภาษา มีดังนี้ 
๓.๑ กิจกรรมส่งเสริมการจำ�คำ� เช่น เกมต่างๆ 
๓.๒ การคัดและเขียน 
๓.๓ การเขียนเรียงความ 
๓.๔ การเขียนหลักเกณฑ์ทางภาษา 
๓.๕ การฝึกฝนการใช้ภาษาตามกฎเกณฑ์ 
๓.๖ การอ่านหนังสือเพิ่มเติม และทำ�รายงาน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
๔. การขยายและประยุกต์ความคิดจากบทเรียน จัดกิจกรรมนำ�ไปสู่ การอ่าน เขียน พูด และฟัง 
๔.๑ อภิปราย ข้อคิด เกี่ยวกับบทเรียน 
๔.๒ เขียนเชิงสร้างสรรค์ โดยนำ�โครงสร้างของเรื่องมาเขียนใหม่ และเขียนบทอ่านเป็นสมุดเล่มใหญ่ (กลุ่ม) 
๔.๓ เขียนเรียงความจากโครงสร้างเดิม 
๔.๔ การอ่านหนังสือในห้องสมุด แล้วเขียนรายงาน หรือเรียงความ 
๔.๕ การเขียนบทละครจากบทเรียน 
๔.๖ การอภิปรายการกระทำ� และนิสัยใจคอของตัวละคร 
๕. การจัดกิจกรรมเสริมทักษะ ทางภาษา เช่น เล่นเกม อ่านหนังสือเพิ่มเติม ร้องเพลง เล่นละคร แสดง 
5 
บทบาทสมมติ 
ข. การสอนโดยวิธีการทางหลักภาษา 
เป็นการสอนสะกดแจกคำ� แจกลูก และหลักเกณฑ์ทางภาษา ฝึกสังเกตคำ�ที่มีตัวสะกดต่างกันแต่ออกเสียง 
เหมือนกัน อ่านความในประโยค แล้วสังเกตการวางคำ� และการใช้คำ�ในประโยค เป็นต้น แล้วสรุปเป็นกฎเกณฑ์ทาง 
หลักภาษา แล้วนำ�ไปใช้ ขั้นตอนมีดังนี้ 
✍ อ่านคำ�หรือประโยค 
✍ สังเกตคำ�หรือประโยค 
✍ รู้ความหมายของคำ�และประโยค 
✍ สรุปเป็นกฎเกณฑ์ทางภาษา 
✍ นำ�คำ�หรือประโยคไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ 
ค. การสอนอ่านอิสระ 
เพื่อให้มีนิสัยรักการอ่านและเขียน อ่านเพื่อบันเทิง อ่านเพื่อการงาน ค้นคว้า ทำ�รายงาน เพื่อฝึกตนเอง มุ่งปลูกฝัง 
ความรับผิดชอบต่อการทำ�งาน แนวการสอนมีดังนี้ 
✍ วางแผนการอ่าน ตั้งจุดมุ่งหมายของการอ่าน เวลา จำ�นวนหน้า 
✍ กำ�หนดกิจกรรมหลังอ่าน เช่น เขียนเรื่องย่อ ทำ�รายงาน เขียนข้อคิด วาดภาพประกอบ และเขียนคำ�บรรยาย 
หาความหมายจากพจนานุกรม คัดและเขียนคำ�ในบทอ่าน 
✍ ทำ�กิจกรรมหลังอ่าน 
✍ เสนอผลงานและประเมินผล 
✍ อ่านเสริมบทเรียน และอ่านหนังสือในห้องสมุด 
ง. การสอนอ่านเพื่อความเข้าใจ 
ต้องใช้ความรู้เดิมช่วยทำ�ความเข้าใจการอ่าน ความรู้ทั้งหลายของผู้อ่านจะเก็บไว้เป็นหน่วยความรู้ และความรู้ 
เหล่านั้นจะเชื่อมโยงกัน ความรู้ที่เชื่อมโยงเป็นเรื่องๆ นี้จะช่วยทำ�ให้การอ่านเกิดความเข้าใจได้อย่างลึกซึ้ง เป็นแบบแผน 
ความรู้ ฉะนั้นความรู้ที่นักเรียนมีอยู่จะจัดความรู้มาสัมพันธ์ เป็นแบบแผน ความรู้เหล่านี้จะช่วยให้เกิดความเข้าใจการอ่านได้
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
อย่างลึกซึ้ง ใช้เดาความในบริบทในเวลาอ่าน ช่วยในการแยกแยะข้อความสำ�คัญกับรายละเอียดของเรื่องที่อ่าน ช่วยตีความ 
ในเรื่องที่อ่าน วิธีสอนเพื่อพัฒนาแบบแผนความรู้ มีดังนี้ 
6 
๑. สอนอ่านจากบทเรียนสั้นๆ จากคำ�ไปสู่วลี จากวลีไปสู่ประโยค จากประโยคไปสู่ย่อหน้า 
๒. สอนอ่าน โดยให้ทำ�นายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ต่อไปผลจากเหตุการณ์นั้นควรเป็นอย่างไร 
๓. ถ้านักเรียนไม่มีแบบแผนความรู้ ครูควรสร้างความรู้พื้นฐานในการสนทนาเรื่องในบทอ่าน เพื่อสร้างขอบข่าย 
ความรู้ในบทเรียนเป็นพื้นฐานการอ่าน 
๔. นักเรียนตั้งคำ�ถามก่อนอ่าน และคำ�ถามหลังอ่าน 
จ. การอ่านเพื่อความรู้ความเข้าใจ 
นักเรียนจะต้องมีความสามารถในการคิด จับประเด็นสำ�คัญของเรื่องได้ หารายละเอียดของเรื่องที่อ่านได้ จะ 
สามารถวิเคราะห์เรื่อง สังเคราะห์เรื่อง ประเมินค่า สิ่งที่อ่านได้ ดังนั้น นักเรียนที่มีความสามารถในการทำ�โครงสร้างของ 
เรื่องจากการอ่าน จะช่วยให้นักเรียนจับประเด็นสำ�คัญ รายละเอียดของเรื่องได้ ซึ่งจะนำ�ไปสู่การคิดเป็น ถ้านักเรียนหาคำ� 
สำ�คัญของเรื่องในแต่ละย่อหน้าได้ จะทำ�ให้นักเรียนจับประเด็นสำ�คัญได้โดยสะดวก 
ฉ. การหาโครงสร้างของย่อหน้าหรือเรื่อง 
ผู้อ่านที่ดี ควรหาโครงสร้างของย่อหน้าหรือเรื่อง แล้วทำ�แผนภาพ โครงสร้างของย่อหน้าแต่ละย่อหน้า หรือ 
เรื่องที่อ่าน ดังนี้ 
๑. โครงสร้างเหตุการณ์ เนื้อเรื่องที่เป็นนิทาน นิยาย มักจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับเหตุการณ์ ซึ่งมีลำ�ดับก่อนหลังของ 
เหตุการณ์ ผู้อ่านควรหาความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ตามระยะเวลาของเรื่อง แล้วนำ�มาเขียนเป็นโครงสร้าง 
เหตุการณ์ 
๒. โครงสร้างรายละเอียด เนื้อเรื่องรายละเอียด เป็นการให้รายละเอียดของเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จะทำ�ให้ผู้อ่าน 
สามารถหารายละเอียดของเรื่องที่อ่านได้ 
๓. โครงสร้างบทนำ� ย่อหน้าของบทนำ� จะเป็นบทที่กล่าวถึงความสำ�คัญของเรื่อง 
๔. โครงสร้างบทสรุป เป็นย่อหน้าสรุปความคิด ซึ่งจะอยู่ในตอนท้ายของเรื่อง หรือย่อหน้าสุดท้าย 
๕. โครงสร้างความหมาย เป็นย่อหน้าที่ใช้อธิบายความคิดรวบยอด หรือให้คำ�จำ�กัดความ 
๖. โครงสร้างสาธก เป็นย่อหน้าที่ให้ตัวอย่าง จะมีการอธิบายให้ตัวอย่าง 
๗. โครงสร้างเปรียบเทียบ แสดงการเปรียบเทียบ หาสิ่งเหมือนกัน หรือต่างกันของจุดสำ�คัญในเรื่อง 
๘. โครงสร้างแก้ปัญหา บอกปัญหาของเรื่อง และวิธีการแก้ปัญหา 
วิธีสอนโครงสร้างของย่อหน้าหรือโครงสร้างของเรื่อง 
๑. เขียนโครงสร้างที่สมบูรณ์ก่อน เพื่อเป็นคู่มือ 
๒. เขียนโครงสร้างของเรื่อง โดยไม่มีรายละเอียด 
๓. อ่านเรื่อง 
๔. ช่วยกันเติมข้อความ หรือรายละเอียดของโครงสร้าง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
๕. เล่าเรื่องตามโครงสร้าง 
๖. เขียนเรื่องที่อ่านตามโครงสร้างด้วยถ้อยคำ�ของผู้อ่าน จากแนวการสอน เพื่อความเข้าใจนี้ ได้กำ�หนดแนว 
การสอนตามลำ�ดับขั้นตอน ดังนี้ 
7 
๑. การสอนอ่านในใจ 
๑.๑ เตรียมการอ่าน 
๑.๑.๑ สนทนาเกี่ยวกับหัวข้อเรื่อง 
๑.๑.๒ ให้ความรู้พื้นฐาน 
๑.๑.๓ สอนคำ�ศัพท์ โดยอ่านคำ�ใหม่ ทบทวนคำ�เก่า 
๑.๑.๔ ตั้งจุดประสงค์การอ่าน 
๑.๒ อ่านในใจ มีลำ�ดับขั้นตอนดังนี้ 
๑.๒.๑ กำ�หนดเรื่องให้อ่าน แล้วตอบคำ�ถาม 
๑.๒.๒ เสนอโครงสร้างของเรื่อง แล้วอภิปราย 
๑.๒.๓ ช่วยกันเขียนรายละเอียดของโครงสร้างของเรื่อง 
๑.๒.๔ เล่าเรื่องที่อ่านตามโครงสร้าง 
๑.๒.๕ เขียนเรื่องตามโครงสร้าง 
๑.๒.๖ อ่านเรื่องและคิดเกี่ยวกับบทเรียน 
๑.๒.๗ ตอบคำ�ถาม ทำ�แบบฝึกหัด 
๒. อ่านออกเสียง 
๒.๑ ทบทวนคำ�ศัพท์ แจกลูก สะกดคำ� ผันวรรณยุกต์ 
๒.๒ อ่านแบบฝึกอ่านในหนังสือ 
๒.๓ อ่านออกเสียงจากบทอ่าน เป็นร้อยแก้ว/ร้อยกรอง 
๒.๔ กิจกรรมหลังอ่าน ช่วยกันประเมินการออกเสียง 
๓. การใช้ภาษา และหลักภาษา 
๓.๑ ศึกษาความรู้ทางภาษาในบทเรียน 
๓.๒ ฝึกแต่งประโยค และการใช้ถ้อยคำ� สำ�นวนโวหารตามกฎเกณฑ์ที่เรียนมาแล้ว 
๔. การฝึกความคิดสร้างสรรค์ 
๔.๑ นำ�บทอ่านมาอ่าน แล้วสร้างโครงเรื่อง นักเรียนเล่าเรื่อง หรือเขียนตามโครงสร้าง 
๔.๒ นำ�โครงสร้างมาดัดแปลงเรื่อง อาจกำ�หนดตัวละคร โครงเรื่อง ชื่อตัวละคร สถานที่ และเขียนเรื่องขึ้น 
ใหม่ตามโครงเรื่องที่ดัดแปลง 
๔.๓ กลุ่มนักเรียนเขียนเรื่อง ตามโครงเรื่องที่ดัดแปลง เป็น Big Book
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
๕. พัฒนาทักษะทางภาษา 
8 
๕.๑ พัฒนาทักษะ การพูด ฟัง อ่าน และเขียน โดยอ่านหนังสือเพิ่มเติม และนำ�มาเล่าให้เพื่อนฟัง เขียนคำ� 
คัด หรือเขียนคำ�ในบทเรียน และแต่งประโยค รวบรวมคำ�ใหม่เป็นแผนภูมิสำ�หรับชั้นเรียน รวบรวม 
ประโยคเป็นแผนภูมิ 
๕.๒ กิจกรรม ค้นคว้า และรายงาน 
๕.๓ รวบรวมคำ�ทำ�เป็นพจนานุกรมสำ�หรับชั้น ฝึกใช้พจนานุกรม 
๕.๔ ร้องเพลงเกี่ยวกับบทเรียน เล่นเกม 
๕.๕ เขียนบทละครจากเรื่องที่อ่าน 
๕.๖ เรียงความ ย่อความ เขียนจดหมาย 
๖. อ่านบทร้อยกรองในบทเรียน 
๖.๑ อ่านคำ�ยากในบทร้อยกรอง 
๖.๒ ฝึกอ่านบทร้อยกรองให้เป็นจังหวะ 
๖.๓ หาคำ�คล้องจองจากบทร้อยกรอง 
๖.๔ ฝึกอ่านทำ�นองเสนาะ 
๗. อ่านเสริมบทเรียน 
๗.๑ วางแผนการอ่าน ว่าอ่านแล้วจะทำ�กิจกรรมใด 
๗.๒ กำ�หนดให้อ่านที่บ้าน หรือในเวลาว่าง แล้วทำ�กิจกรรมตามแผนที่วางไว้ 
๗.๓ เสนอผลงานต่อชั้นเรียน 
๘. การสอนซ่อมเสริม 
ควรสอนทั้งในเวลาและนอกเวลา เมื่อทราบว่านักเรียนบกพร่องเรื่องอะไร การพูด การฟัง หรือการอ่าน เน้น 
การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ กระบวนการคิด แสวงหาความรู้ การอ่านตามลำ�พัง การทำ�งานเป็นกลุ่ม การคิดริเริ่ม 
สร้างสรรค์ การแก้ปัญหา ฯลฯ ตลอดเวลา ควรยึดกระบวนการสอนเป็นหลัก โดยใช้หนังสือเรียนเป็นสื่อ เพื่อฝึกทักษะ 
กระบวนการ 
หลักการสอนซ่อมเสริม 
๑. แนวคิดในการสอนซ่อมเสริม 
การสอนซ่อมเสริม เป็นการจัดการเรียนการสอน เพื่อช่วยเหลือนักเรียนที่บกพร่องด้านทักษะต่างๆ ทั้งฟัง 
พูด อ่าน เขียน รวมถึงนักเรียนที่เรียนช้า เป็นการสอนซ่อมเสริมนักเรียนที่มีปัญหาเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง และเสริม 
นักเรียนที่เรียนดี - เก่ง เพื่อพัฒนาศักยภาพ และสังคมนิสัยไปพร้อมกัน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
9 
๒. หลักพึงปฏิบัติในการสอนซ่อมเสริม 
๒.๑ สังเกต และบันทึกพฤติกรรมสมํ่าเสมอ เป็นรายบุคคล 
๒.๒ การสอนซ่อมเสริม ควรคำ�นึงถึงสิ่งต่อไปนี้ 
๒.๒.๑ ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ของครูที่ต้องคอยเสริมแรงจูงใจ กระตุ้นให้เรียนอย่างสนุกสนาน 
ครูต้องมีความรัก ความเมตตา อดทน ใจเย็น ให้คำ�ชมเชย เสริมแรงให้เกิดกำ�ลังใจ 
๒.๒.๒ สื่อและกิจกรรม ควรจูงใจ ควรใช้เกม เพลง กิจกรรมต่างๆ เร้าความสนใจ ให้เกิดความสนุกสนาน 
เพลิดเพลิน กระตือรือร้น รักเรียน กิจกรรมควรจัดหลากหลาย ไม่เบื่อหน่าย 
๒.๒.๓ ควรอธิบายชัดเจนตามขั้นตอน จากง่ายไปหายาก จัดกิจกรรมให้นักเรียนเป็นศูนย์กลาง และ 
มีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง 
๒.๒.๔ ช่วงเวลาซ่อมเสริม ไม่นานเกินไป ประมาณ ๑๕ นาที จัดเป็นตารางซ่อมเสริมไว้ทุกวัน 
๒.๒.๕ กลุ่มซ่อมเสริม ควรเป็นกลุ่มเล็กๆ ควรมีการทดสอบก่อนเรียน เพื่อจัดกลุ่มที่มีข้อบกพร่องคล้ายๆ 
กัน เพื่อจัดกิจกรรมฝึกฝนร่วมกัน และมีแขง่ขันกันบ้าง ช่วยกระตุ้นให้มีการพัฒนาตนเองยิ่งขึ้น 
ส่วนนักเรียนที่มีข้อบกพร่องเฉพาะตัว ควรเสริมรายบุคคล 
๓. การประเมินผลการเรียนการสอนซ่อมเสริม 
๓.๑ จดบันทึกพฤติกรรมการเรียนทุกครั้ง 
๓.๒ ทดสอบหลังเรียนทุกเรื่อง เพื่อเปรียบเทียบผลก่อน - หลัง 
๓.๓ จัดทำ�แผนภูมิความก้าวหน้าเป็นรายคน 
เรียบเรียงโดย คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ 
มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
ระดับชั้น ป.๔ - ๖ เทคนิคการจัดกิจกรรม 
– เรียนปนเล่น 
– ปฏิบัติจริง 
– จัดกิจกรรมแบบบูรณาการ 
– จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะทางภาษา 
– ฝึกความคิดสร้างสรรค์ 
– โครงงาน 
– การสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ 
10 
ผังวิเคราะห์ประเด็นการเรียนรู้ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 
นักเรียนมีความรู้ 
มีทักษะการอ่าน 
คิดวิเคราะห์ มีคุณธรรม 
จริยธรรม ค่านิยม 
มีความคิดสร้างสรรค์ 
และบูรณาการ 
มาตรฐานการเรียนรู้ 
๑. อ่านได้คล่องและเร็ว เข้าใจความหมายของคำ� ถ้อยคำ� สำ�นวนโวหาร แยก 
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ความ ตีความ อ่านในใจ อ่านออกเสียง 
บทร้อยแก้วบทร้อยกรองได้คล่องแคล่ว 
๒. เขียนเรียงความ ย่อความ เขียนสื่อสารได้เหมาะกับโอกาส มีนิสัยรักการ 
เขียน และการศึกษาค้นคว้า 
๓. จับประเด็นสำ�คัญ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น พูดแสดงความรู้ ความ 
คิดเห็นได้ 
๔. สะกดคำ� อ่านเขียนคำ�ได้ถูกต้อง ใช้คำ� กลุ่มคำ� เรียบเรียงประโยคเพื่อใช้ 
ในการสนทนาสื่อสาร เข้าใจลักษณะของคำ�ไทย คำ�ภาษาถิ่น คำ�ภาษา 
ต่างประเทศ แต่งบทร้อยกรอง เล่านิทานพื้นบ้านอย่างเห็นคุณค่าและ 
สร้างสรรค์ 
๕. เลือกอ่านหนังสือได้หลากหลาย ทั้งนิทาน ตำ�นาน เรื่องสั้น สารคดี 
บทความบทร้อยกรอง บทละคร อย่างเห็นคุณค่าและนำ�ไปใช้ในชีวิตจริง 
กระบวนการคุณธรรม จริยธรรม 
– ใช้กระบวนการอ่านและเขียนในการพัฒนาความรู้ 
– มีนิสัยรักการอ่าน 
– สนใจใฝ่รู้ 
– มีมารยาทในการอ่านและเขียน 
– มีมารยาทการฟัง ดู พูด และใช้ภาษาไทยถูกต้องและสร้างสรรค์ 
– ยอมรับฟังความคิดเห็นการวิพากษ์วิจารณ์ 
– ใช้ทักษะทางภาษาในการเพิ่มพูนความรู้ความคิดได้ 
สาระการเรียนรู้ 
– การอ่านในใจ อ่านออกเสียง คำ� ความหมายของคำ� 
– การแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ความ ตีความ สรุปความ 
– การอ่านในใจ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง 
– การเลือกอ่านหนังสือและสื่อสารสนเทศ 
– การเขียนเรียงความ ย่อความ จดหมาย รายงาน 
– มารยาทในการเขียนและนิสัยรักการเขียน 
– จับประเด็นสำ�คัญของเรื่อง 
– แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น สรุปความ วิเคราะห์เรื่อง 
– พูดสนทนาโต้ตอบแสดงความรู้ความคิด 
– อ่านคำ� เขียนคำ� สะกดคำ� 
– คำ� กลุ่มคำ� ประโยค 
– คำ�ไทย คำ�ภาษาถิ่น คำ�ต่างประเทศ 
– แต่งบทร้อยกรองประเภทกาพย์กลอน 
– การใช้เทคโนโลยีพัฒนาความรู้ 
– การใช้ภาษากับกลุ่มบุคคล 
– คุณธรรมการใช้ภาษา 
– นิทาน ตำ�นานพื้นบ้าน เรื่องสั้น สารคดี บทความ 
วรรณคดีและ 
วรรณกรรม 
การอ่าน 
การเขียน 
หลักการ การฟัง ดู พูด 
ใช้ภาษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
11 
หน่วยการเรียนรู้สหบูรณาการเรื่อง “หัวหิน” 
กอท. 
หินชนิดต่างๆ 
หินรัตนชาติ 
สิ่งประดิษฐ์จากทะเล 
คณิต 
เส้นทาง ทิศ 
แผนผัง ระยะทาง 
พื้นที่ 
ภาษาอังกฤษ 
คำ� 
การสนทนา 
วิทยาศาสตร์ 
นํ้าทะเล ลมบก 
ลมทะเล สิ่งมีชีวิตในทะเล 
การอนุรักษ์ 
ประวัติ 
ประวัติ 
ที่มา 
สถานที่สำ�คัญ 
พลศึกษา 
สิ่งบันเทิง 
กีฬาทางนํ้า 
กีฬาชายหาด 
ศิลปศึกษา, 
นาฏศิลป์, เพลง 
ระบำ�ชายหาด 
เพลงหัวหิน 
วาดภาพทะเล 
สังคม 
อาชีพ 
การท่องเที่ยว 
ชุมชน 
หัวหิน 
การอ่าน 
✍ อ่านจับใจ 
ความ 
✍ อ่านในใจ 
✍ อ่านออกเสียง 
✍ อ่านวิเคราะห์ 
การเขียน 
✍ บันทึกการ 
ค้นคว้า 
✍ รายงาน 
✍ บรรยาย 
✍ เรื่องราว 
การฟัง/พูด/ดู 
✍ การสัมภาษณ์ 
✍ การสำ�รวจ 
✍ สารคดี 
เกี่ยวกับหัวหิน 
หลักภาษา 
✍ คำ�ประสม 
✍ อักษรนำ� 
✍ สำ�นวนภาษา 
✍ การแต่ง 
ประโยค 
วรรณกรรม 
✍ บทร้อยกรอง 
เกี่ยวกับทะเล 
หัวหิน 
✍ พระราชวัง 
ไกลกังวล 
ภาษาไทย
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 
จำ�นวนหน่วยการเรียนรู้ ๓ หน่วย เวลา ๑๑๔ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ 
หน่วยการเรียนรู้ที่ หน่วยการเรียนรู้ เวลา/ชั่วโมง 
12 
๑ ตัวเรา ๓๙ 
๒ ชุมชนของเรา ๓๘ 
๓ เศรษฐกิจพอเพียง ๓๗ 
รวม ๑๑๔
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
13 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตัวเรา 
๑ ๑๖ พ.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ รู้ไว้ได้ประโยชน์ ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓, ป. ๕/๔ 
ป. ๕/๕ 
ท ๔.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
– สมุดบันทึก 
๒ ๑๙ พ.ค. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ รู้ไว้ได้ประโยชน์ ท ๑.๑ ป. ๕/๔ – สมุดบันทึก 
– ภาษาพาที 
– แบบฝึกหัด 
– ทักษะภาษา 
๓ ๒๐ พ.ค. ๕๗ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑/๖๐ รู้ไว้ได้ประโยชน์ ท ๑.๑ ป. ๕/๕ – สมุดบันทึก 
๔ ๒๑ พ.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ เกิดแล้วต้องมี่ชื่อ ท. ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๕ – ภาษาพาที 
– แบบฝึกหัด 
– ทักษะภาษา 
๕ ๒๑ พ.ค. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ ประวัติของฉัน ท ๒.๑ ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก 
– กระดาษ A4 
– ภาพถ่ายของฉัน 
๖ ๒๒ พ.ค. ๕๗ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑/๖๐ การเขียนแนะนำ� ท ๒.๑ ป. ๕/๒ – ภาษาพาที 
– แบบฝึกหัด 
– ทักษะภาษา 
๗ ๒๓ พ.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ การกรอกแบบรายการ ท ๒.๑ ป. ๕/๗ – สมุดบันทึก 
– ใบฝาก ใบถอน 
๘ ๒๖ พ.ค. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ ข่าว ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๕ – สมุดบันทึก 
– หนังสือพิมพ์ 
๙ ๒๗ พ.ค. ๕๗ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑/๖๐ ชีวิตมีค่า ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก 
– ภาษาพาที 
– พจนานุกรม
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
14 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
๑๐ ๒๘ พ.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ ชีวิตมีค่า ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – ภาษาพาที 
– แบบฝึกหัด 
– ทักษะภาษา 
๑๑ ๒๘ พ.ค. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ กีสาโคตมีเถรี ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – ภาษาพาที 
– แบบฝึกหัด 
– ทักษะภาษา 
๑๒ ๒๙ พ.ค. ๕๗ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑/๖๐ การเขียนจดหมาย ท ๒.๑ ป. ๕/๕ – ตัวอย่างจดหมาย 
– รูปแบบจดหมาย 
๑๓ ๓๐ พ.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ การเขียนจดหมายถึงผู้ปกครอง 
และญาติ 
ท ๒.๑ ป. ๕/๕ – กระดาษ 
– ซองจดหมาย 
– ดวงตราไปรษณียากร 
๑๔ ๒ มิ.ย. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ มารยาทในการเขียนและ 
การสร้างนิสัยรักการเขียน 
ท ๒.๑ ป. ๕/๙ – สมุดบันทึก 
– หนังสือภาษาพาที 
๑๕ ๓ มิ.ย. ๕๗ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑/๖๐ อักษรย่อรอเธอ ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก 
– กระดาษ A4, กาว, สีไม้ 
– หนังสือพิมพ์ 
๑๖ ๔ มิ.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ บทอาขยาน ท ๕.๑ ป. ๕/๔ – วรรณคดีลำ�นำ� 
– ทักษะภาษา 
๑๗ ๔ มิ.ย. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ การท่องจำ�บทอาขยาน ท ๕.๑ ป. ๕/๑ – วรรณคดีลำ�นำ� 
– บทอาขยาน 
๑๘ ๕ มิ.ย. ๕๗ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑/๖๐ กลอนแปด ท ๑.๑ ป. ๕/๑ – วรรณคดีลำ�นำ� 
– แผนผังกลอนแปด 
๑๙ ๖ มิ.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – วรรณคดีลำ�นำ� 
– พจนานุกรม 
๒๐ ๙ มิ.ย. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓, ป. ๕/๔ 
– วรรณคดีลำ�นำ� 
– พจนานุกรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
15 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
๒๑ ๑๐ มิ.ย. ๕๗ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑/๖๐ วรรณกรรมในหนังสือเรียน ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – หนังสือภาษาพาที 
– พจนานุกรมไทย 
๒๒ ๑๑ มิ.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ วรรณกรรมในหนังสือเรียน ท ๓.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – หนังสือภาษาพาที 
– ทักษะภาษา 
๒๓ ๑๑ มิ.ย. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ บทอ่านเสริม ท ๕.๑ ป. ๕/๒ – หนังสือภาษาพาที 
– ทักษะภาษา 
๒๔ ๑๒ มิ.ย. ๕๗ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑/๖๐ สำ�นวนไทย ท ๔.๑ ป. ๕/๗ – หนังสือภาษาพาที 
– ทักษะภาษา 
๒๕ ๑๓ มิ.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ คำ�ที่มีความหมายโดยตรง 
และคำ�ที่มีความหมายโดยนัย 
ท .๑.๑ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก 
– ทักษะภาษา 
– พจนานุกรม 
๒๖ ๑๖ มิ.ย. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ การคัดลายมือ ท ๒.๑ ป. ๕/๑ – สมุดบันทึก 
– แบบฝึกคัดลายมือ 
๒๗ ๑๗ มิ.ย. ๕๗ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑/๖๐ การคัดลายมือ ท ๒.๑ ป. ๕/๑ – สมุดบันทึก 
– แบบฝึกคัดลายมือ 
๒๘ ๑๘ มิ.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ อักษรนำ�จำ�ให้ดี ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒, 
ป. ๕/๓ 
– พจนานุกรม 
– สมุดบันทึก 
๒๙ ๑๘ มิ.ย. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ วรรณคดีและวรรณกรรม ท ๑.๑ ป. ๕/๗ – สมุดบันทึก 
๓๐ ๑๙ มิ.ย. ๕๗ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑/๖๐ วรรณคดีและวรรณกรรม ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– สมุดบันทึก 
๓๑ ๒๐ มิ.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ท ๕.๑ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก 
๓๒ ๒๓ มิ.ย. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ การเขียนแสดงความรู้สึก 
และความคิดเห็น 
ท ๒.๑ ป. ๕/๖ – สมุดบันทึก 
– ภาพเหตุการณ์ต่างๆ
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
16 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
๓๓ ๒๔ มิ.ย. ๕๗ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑/๖๐ พยางค์และคำ� ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก 
– พจนานุกรมไทย 
๓๔ ๒๕ มิ.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ วลีและประโยค ท ๔.๑ ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก 
๓๕ ๒๕ มิ.ย. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ บทกลอนสอนใจ ท ๑.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – สมุดบันทึก 
– กลอนของสุนทรภู่ 
๓๖ ๒๖ มิ.ย. ๕๗ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑/๖๐ รำ�ลึกถึงสุนทรภู่ ท ๕.๑ ป. ๕/๑ – สมุดบันทึก 
– ประวัติสุนทรภู่ 
๓๗ ๒๗ มิ.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ ประโยคและส่วนประกอบ 
ของประโยค 
ท ๔.๑ ป. ๕/๒ – ภาษาพาที 
– แบบฝึกหัดทักษะภาษา 
๓๘ ๓๐ มิ.ย. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ ประโยคสามัญและประโยครวม ท ๔.๑ ป. ๕/๒ – ภาษาพาที 
– แบบฝึกหัดทักษะภาษา 
๓๙ ๑ ก.ค. ๕๗ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑/๖๐ ทดสอบหลังเรียน ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓, ป. ๕/๔ 
ป. ๕/๕ 
ท ๔.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
– สมุดบันทึก 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ชุมชนของเรา 
๔๐ ๒ ก.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ ทดสอบก่อนเรียน ท ๔.๑ ป. ๕/๑ 
ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– สมุดบันทึก 
๔๑ ๒ ก.ค. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ ประวัติท้องถิ่น ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– พจนานุกรมไทย 
– สมุดบันทึก 
๔๒ ๓ ก.ค. ๕๗ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑/๖๐ คนละไม้ คนละมือ ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– ทักษะภาษา 
– ภาษาพาที 
– สมุดบันทึก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
17 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
๔๓ ๔ ก.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ คนละไม้ คนละมือ ท ๕.๑ ป ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– สมุดบันทึก 
– ทักษะภาษา 
– ภาษาพาที 
๔๔ ๗ ก.ค. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ จิตที่ควรพัฒนา : จิตสาธารณะ ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– สมุดบันทึก 
– ทักษะภาษา 
– ภาษาพาที 
๔๕ ๘ ก.ค. ๕๗ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑/๖๐ คำ�บุพบท ท ๔.๑ ป. ๕/๑ – สมุดบันทึก 
– พจนานุกรม 
– ทักษะภาษา 
– ภาษาพาที 
๔๖ ๙ ก.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ คำ�บุพบท ท ๔.๑ ป. ๕/๑ – สมุดบันทึก 
– พจนานุกรม 
– ทักษะภาษา 
– ภาษาพาที 
๔๗ ๙ ก.ค. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ เครื่องหมายวรรคตอน ท ๑.๑ ป. ๕/๑ – สมุดบันทึก 
– ทักษะภาษา 
– หนังสือพิมพ์ 
๔๘ ๑๐ ก.ค. ๕๗ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑/๖๐ การอ่านร้อยแก้ว ท ๑.๑ ป. ๕/๑ – สมุดบันทึก 
– พจนานุกรม 
วันศุกร์ที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ หยุดวันอาสาฬหบูชา 
วันจันทร์ที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๗ หยุดชดเชยวันเข้าพรรษา 
๔๙ ๑๕ ก.ค. ๕๗ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑/๖๐ มารยาทในการอ่านและ 
การสร้างนิสัยรักการอ่าน 
ท ๑.๑ ป. ๕/๘ – สมุดบันทึก 
– หนังสือที่ชอบ 
๕๐ ๑๖ ก.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ บทความดีมีประโยชน์ ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– สมุดบันทึก 
– บทความจากหนังสือพิมพ์
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
18 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
๕๑ ๑๖ ก.ค. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ กำ�เนิดผิดพ้นคนทั้งหลาย 
(สังข์ทอง ตอนกำ�เนิดพระสังข์) 
ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก 
– วรรณคดีลำ�นำ� 
– พจนานุกรมไทย 
๕๒ ๑๗ ก.ค. ๕๗ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑/๖๐ กำ�เนิดผิดพ้นคนทั้งหลาย 
(สังข์ทอง ตอนกำ�เนิดพระสังข์) 
ท ๑.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – วรรณคดีลำ�นำ� 
– พจนานุกรมไทย 
๕๓ ๑๘ ก.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ กำ�เนิดผิดพ้นคนทั้งหลาย 
(สังข์ทอง ตอนกำ�เนิดพระสังข์) 
ท ๑.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – วรรณคดีลำ�นำ� 
– พจนานุกรมไทย 
– ทักษะภาษา 
๕๔ ๒๑ ก.ค. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ กำ�เนิดผิดพ้นคนทั้งหลาย 
(สังข์ทอง ตอนกำ�เนิดพระสังข์) 
ท ๑.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – วรรณคดีลำ�นำ� 
– พจนานุกรมไทย 
– ทักษะภาษา 
๕๕ ๒๒ ก.ค. ๕๗ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑/๖๐ คำ�ที่มีตัวการันต์ ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – กระดาษ A4 
– สมุดบันทึก 
๕๖ ๒๓ ก.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ การเขียนย่อความ ท ๒.๑ ป. ๕/๔ – สมุดบันทึก 
– นิทาน วรรณคดี บทความ 
– ข่าวตามความสนใจ 
๕๗ ๒๓ ก.ค. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ คำ�เชื่อม ท ๔.๑ ป. ๕/๑ – สมุดบันทึก พจนานุกรม 
– ทักษะภาษา ภาษาพาที 
๕๘ ๒๔ ก.ค. ๕๗ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑/๖๐ คำ�เชื่อม ท ๔.๑ ป. ๕/๑ – สมุดบันทึก พจนานุกรม 
– ทักษะภาษา ภาษาพาที 
๕๙ ๒๕ ก.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ สัญลักษณ์น่ารู้ ท ๑.๑ ป. ๕/๒ – สัญลักษณ์ต่างๆ 
– สมุดบันทึก 
๖๐ ๒๘ ก.ค. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ การเลือกใช้คำ�ให้ตรงความหมาย ท ๑.๑ ป. ๕/๑ – สำ�นวนไทย 
– สมุดบันทึก 
๖๑ ๒๙ ก.ค. ๕๗ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑/๖๐ วันภาษาไทยแห่งชาติ ท ๑.๑ ป. ๕/๒ 
ท ๔.๑ ป. ๕/๑ 
– ความเป็นมาของ 
วันภาษาไทยแห่งชาติ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
19 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
๖๒ ๓๐ ก.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ ร่วมแรง ร่วมใจ ท ๕.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – สมุดบันทึก 
– ทักษะภาษา ภาษาพาที 
๖๓ ๓๐ ก.ค. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ ร่วมแรง ร่วมใจ ท ๕.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – สมุดบันทึก 
– ทักษะภาษา ภาษาพาที 
๖๔ ๓๑ ก.ค. ๕๗ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑/๖๐ เรื่องของมด ท ๑.๑ ป. ๕/๕ 
ท ๒.๑ ป. ๕/๓ 
– นิทานในภาษาพาที 
– ภาษาพาที ทักษะภาษา 
๖๕ ๑ ส.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ แผนภาพโครงเรื่อง ท ๒.๑ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก 
– ทักษะภาษา 
๖๖ ๔ ส.ค. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ การอ่านข่าวสารของทางราชการ ท ๑.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – ทักษะภาษา 
– ภาษาพาที ข่าว 
๖๗ ๕ ส.ค. ๕๗ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑/๖๐ กาพย์ยานี ๑๑ ท ๔.๑ ป. ๕/๖ – แผนผังกาพย์ยานี ๑๑ 
– พจนานุกรม 
๖๘ ๖ ส.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ วิชาเหมือนสินค้า ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – วรรณคดีลำ�นำ� 
– พจนานุกรม ทักษะภาษา 
๖๙ ๖ ส.ค. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ วิชาเหมือนสินค้า ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – วรรณคดีลำ�นำ� 
– พจนานุกรม ทักษะภาษา 
๗๐ ๗ ส.ค. ๕๗ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑/๖๐ นิทาน ท ๕.๑ ป. ๕/๓, ป. ๕/๔ – นิทานเกี่ยวกับแม่ 
๗๑ ๘ ส.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ การเขียนเรียงความ ท ๒.๑ ป. ๕/๒ – ตัวอย่างเรียงความ 
– สมุดบันทึก 
๗๒ ๑๑ ส.ค. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ การเขียนเรียงความ ท ๒.๑ ป. ๕/๒ – ตัวอย่างเรียงความ 
– สมุดบันทึก 
วันอังคารที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ หยุดวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ 
๗๓ ๑๓ ส.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ คำ�อุทานสื่อสารอารมณ์ ท ๔.๑ ป. ๕/๑ – ทักษะภาษา 
– พจนานุกรม
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
20 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
๗๔ ๑๓ ส.ค. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ การฟังและการอ่านงานเขียน 
ประเภทโน้มน้าวใจ 
ท ๑.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ 
ท ๓.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– สมุดบันทึก 
๗๕ ๑๔ ส.ค. ๕๗ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑/๖๐ นิทานพื้นบ้าน ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก 
– นิทานพื้นบ้าน 
๗๖ ๑๕ ส.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ คำ�ที่มีความหมายโดยตรง - โดยนัย ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– สมุดบันทึก 
– พจนานุกรม 
๗๗ ๑๘ ส.ค. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ ทดสอบหลังเรียน ท ๔.๑ ป. ๕/๑ 
ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒, 
ป. ๕/๓ 
– สมุดบันทึก 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เศรษฐกิจพอเพียง 
๗๘ ๑๙ ส.ค. ๕๗ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑/๖๐ ทดสอบก่อนเรียน ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ท ๔.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒, 
ป. ๕/๓, ป. ๕/๔, 
ป. ๕/๕, ป. ๕/๖, 
ป. ๕/๗ 
ท ๕.๑ ป. ๕/๓ 
– สมุดบันทึก 
๗๙ ๒๐ ส.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ ครอบครัวพอเพียง ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – ทักษะภาษา 
– พจนานุกรม, สมุด 
– ภาษาพาที 
๘๐ ๒๐ ส.ค. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ ครอบครัวพอเพียง ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– ทักษะภาษา 
– ภาษาพาที 
๘๑ ๒๑ ส.ค. ๕๗ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑/๖๐ ครอบครัวพอเพียง ท ๑.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – พจนานุกรม 
– สมุดบันทึก 
๘๒ ๒๒ ส.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ การสร้างตนเอง ท ๑.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – สมุดบันทึก 
– เล่าวิธีการสร้างตนเอง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
21 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
๘๓ ๒๕ ส.ค. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ ควายงานกับผักหวานป่า ท ๑.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – สมุดบันทึก 
– ภาษาพาที 
๘๔ ๒๖ ส.ค. ๕๗ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑/๖๐ การอ่านจับใจความ ท ๑.๑ ป. ๕/๕ – สมุดบันทึก 
– ภาษาพาที 
๘๕ ๒๗ ส.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ การพูดและเขียนแสดงความรู้สึก ท ๒.๑ ป. ๕/๖ 
ท ๓.๑ ป. ๕/๑ 
– สมุดบันทึก 
– ภาษาพาที 
๘๖ ๒๗ ส.ค. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ นิทานหรรษา ท ๓.๑ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก 
๘๗ ๒๘ ส.ค. ๕๗ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑/๖๐ โฆษณา ท ๑.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – สมุดบันทึก 
– กระดาษ A4, สีไม้ 
๘๘ ๒๙ ส.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ โฆษณา ท ๒.๑ ป. ๕/๒ – สีไม้ 
– กระดาษ A4 
๘๙ ๑ ก.ย. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ บ้านใคร บ้านเขา ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– สมุดบันทึก 
๙๐ ๒ ก.ย. ๕๗ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑/๖๐ คำ�ที่มีตัวการันต์ ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก 
– พจนานุกรมไทย 
๙๑ ๓ ก.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ วรรณกรรมดีมีคุณค่า ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– สมุดบันทึก 
๙๒ ๓ ก.ย. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ วรรณกรรมดีมีคุณค่า ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– สมุดบันทึก 
๙๓ ๔ ก.ย. ๕๗ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑/๖๐ วรรณกรรมดีมีคุณค่า ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– สมุดบันทึก 
๙๔ ๕ ก.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ วรรณคดีมีคุณค่า ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– สมุดบันทึก
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
22 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
๙๕ ๘ ก.ย. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ การพูดและเขียนแสดงความรู้สึก ท ๒.๑ ป. ๕/๖ 
ท ๓.๑ ป. ๕/๑ 
– สมุดบันทึก 
๙๖ ๙ ก.ย. ๕๗ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑/๖๐ คำ�ที่มีความหมายโดยตรง 
และคำ�ที่มีความหมายโดยนัย 
ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒, 
ป. ๕/๓ 
– พจนานุกรม 
– สมุดบันทึก 
๙๗ ๑๐ ก.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ คำ�ควบกลํ้า ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – พจนานุกรม 
– สมุดบันทึก 
๙๘ ๑๐ ก.ย. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ การเขียนเรื่องราวที่สัมพันธ์กับชีวิตจริง ท ๒.๑ ป. ๕/๒, ป. ๕/๖ – สมุดบันทึก 
๙๙ ๑๑ ก.ย. ๕๗ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑/๖๐ วรรณกรรมร่วมสมัย ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– สมุดบันทึก 
๑๐๐ ๑๒ ก.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ ฟังให้ได้คุณค่า ท ๓.๑ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก 
๑๐๑ ๑๕ ก.ย. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ นิทานนานาชาติ ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– นิทานนานาชาติ 
– สมุดบันทึก 
๑๐๒ ๑๖ ก.ย. ๕๗ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑/๖๐ ภัยเงียบ ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – ภาษาพาที ทักษะภาษา 
– พจนานุกรม 
๑๐๓ ๑๗ ก.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ ภัยเงียบ ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– ภาษาพาที ทักษะภาษา 
– พจนานุกรม 
๑๐๔ ๑๗ ก.ย. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ ภัยเงียบ ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– ภาษาพาที ทักษะภาษา 
– พจนานุกรม 
๑๐๕ ๑๘ ก.ย. ๕๗ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑/๖๐ ประโยคและส่วนประกอบของประโยค 
(ประโยคที่มีส่วนขยาย) 
ท ๔.๑ ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก 
– ภาษาพาที 
๑๐๖ ๑๙ ก.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ สำ�นวนไทย ท ๔.๑ ป. ๕/๗ – สมุดบันทึก ภาษาพาที 
– หนังสือสำ�นวนไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
23 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
๑๐๗ ๒๒ ก.ย. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ คำ�ไทยแท้ ท ๔.๑ ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก 
– พจนานุกรม 
๑๐๘ ๒๓ ก.ย. ๕๗ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑/๖๐ คำ�ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ท ๔.๑ ป. ๕/๒ – ภาษาพาที 
– พจนานุกรม 
– สมุดบันทึก 
๑๐๙ ๒๔ ก.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ คำ�ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ท ๔.๑ ป. ๕/๒ – ภาษาพาที 
– พจนานุกรม 
– สมุดบันทึก 
๑๑๐ ๒๔ ก.ย. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ การพูดอธิบายเหตุผล ท ๓.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– พจนานุกรม 
– หนังสือสำ�นวนไทย 
๑๑๑ ๒๕ ก.ย. ๕๗ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑/๖๐ สารคดีมีคุณค่า ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– วรรณคดีลำ�นำ� 
– สมุดบันทึก 
๑๑๒ ๒๖ ก.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ การเลือกใช้คำ�ให้ตรงความหมาย ท ๑.๑ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก 
– พจนานุกรม 
๑๑๓ ๒๙ ก.ย. ๕๗ 
๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. 
๑/๖๐ คำ�ที่ใช้ บัน และ บรร ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก 
– พจนานุกรม 
๑๑๔ ๓๐ ก.ย. ๕๗ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑/๖๐ ทดสอบหลังเรียน ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ 
ท ๔.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒, 
ป. ๕/๓, ป. ๕/๔, 
ป. ๕/๕, ป. ๕/๖, 
ป. ๕/๗ 
ท ๕.๑ ป. ๕/๓ 
– สมุดบันทึก
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
– การใช้พจนานุกรม – คำ�ราชาศัพท์ 
– กลอนบทละคร – คำ�ศัพท์ที่ใช้กับพระสงฆ์ 
– คำ�ที่มีตัวการันต์ – คำ�สุภาพ 
– พยางค์และคำ� – คำ�ควบกลํ้า 
– ชนิดและหน้าที่ของคำ� – อักษรนำ� 
– วลีและประโยค – กลอนแปด 
– ส่วนประกอบของประโยค 
24 
ผังวิเคราะห์ประเด็นการเรียนรู้ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 
ระดับชั้น ป.๕ หลักการใช้ภาษา 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ 
ตัวเรา 
วรรณคดีและวรรณกรรม 
– ฉันคือใคร 
– สังข์ทอง 
– สำ�นวนไทย 
– คุณค่าของวรร ณคดีและวรรณกรรม 
– รำ�ลึกถึงสุนทรภู่ 
– ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน 
การอ่าน 
– คำ�ยาก 
– มารยาทในการอ่าน 
– จับใจความ 
– บทร้อยกรอง 
– ทำ�นองเสนาะ 
– ร้อยแก้ว 
– คำ�ที่มีตัวการันต์ 
– คำ�ควบกลํ้า 
– อักษรนำ� 
– บทอาขยาน 
การเขียน 
– ประวัติของฉัน 
– ถอดคำ�ประพันธ์ 
– แผนภาพโครงเรื่องและ 
แผนภาพความคิด 
– สรุปเรื่องและข้อคิด 
– คำ�ศัพท์สำ�หรับพระสงฆ์ 
– บรรยายความรู้สึก 
– คัดลายมือ 
การฟัง การดู การพูด 
– สรุปข้อคิดที่ได้จากการอ่าน 
– เล่านิทาน 
– ใช้คำ�ราชาศัพท์ 
– ใช้คำ�สุภาพ 
– พูดแสดงความรู้ ความคิด 
และความรู้สึก 
– ท่องบทอาขยาน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
25 
ผังวิเคราะห์ประเด็นการเรียนรู้ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ 
ชุมชนของเรา 
ระดับชั้น ป.๕ 
วรรณคดีและวรรณกรรม 
– ประวัติความเป็นมาของท้องถิ่น 
– วรรณคดีมีคุณค่า 
– สำ�นวน สุภาษิต คำ�พังเพย 
– เพลงพื้นบ้าน 
– วันภาษาไทยแห่งชาติ 
– นิทานคำ�กลอน 
– บทเพลงเพื่อแม่ 
– นิทานคุณธรรม 
การอ่าน – บทอาขยาน 
– จับใจความ 
– นิทานในท้องถิ่น 
– งานเขียนเชิงอธิบาย คำ�สั่ง 
ข้อแนะนำ� และปฏิบัติตาม 
– ข่าวและเหตุการณ์ประจำ�วัน 
– อักษรย่อ 
– บทอาขยาน 
การเขียน 
– เพื่อการสื่อสาร 
– ย่อความ 
– จดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ 
– มารยาทในการเขียน 
และการสร้างนิสัย 
รักการเขียน 
– กาพย์ยานี ๑๑ 
การฟัง การดู การพูด 
– วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากสื่อต่างๆ 
– แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น 
– มารยาทในการฟัง การดู และการพูด 
– ฟังเพลงพื้นบ้าน 
– พูดแสดงความคิดเห็นจากสิ่งที่ฟัง 
– ใช้คำ�ของกลุ่มบุคคลในสังคม 
– ฟังไว้ได้ประโยชน์ 
หลักการใช้ภาษา 
– โวหารในงานประพันธ์ – ส่วนประกอบของประโยค 
– ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น – ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น 
– คำ�สรรพนาม – คำ�คม คติพจน์ คำ�ขวัญ 
– คำ�กริยาบอกอาการ – คำ�ที่มีความหมายโดยตรง - โดยนัย 
– อักษรย่อ – กาพย์ยานี ๑๑
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
26 
ผังวิเคราะห์ประเด็นการเรียนรู้ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 
การอ่าน ระดับชั้น ป.๕ 
– จับใจความ 
– คำ�ควบกลํ้า 
– คำ�ที่มีตัวการันต์ 
– โฆษณา 
– เครื่องหมายวรรคตอน 
– คำ�ที่ใช้ บัน และบรร 
การเขียน – บทร้อยกรอง 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ 
เศรษฐกิจพอเพียง 
– สารคดี 
– กรอกแบบรายการ 
– รายงานการศึกษาค้นคว้า 
– บทโฆษณา 
– อธิบายขั้นตอน 
– เรื่องราวที่สัมพันธ์กับชีวิตจริง 
– คำ�ที่ใช้ บัน และบรร 
– ย่อความ 
– เพื่อการสื่อสาร 
– คุณค่าของบทเพลง 
การฟัง การดู การพูด 
– เล่าวิธีการสร้างตนเอง 
– พูดปริศนาคำ�ทาย 
– พูดลำ�ดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน 
– ฟังให้ได้คุณค่า 
– ใช้คำ�ให้ตรงความหมาย 
– พูดอธิบายเหตุผล 
หลักการใช้ภาษา 
– คำ�ควบกลํ้า 
– คำ�ที่มีตัวการันต์ 
– เครื่องหมายวรรคตอน 
– ประสมคำ� 
– คำ�ซํ้า คำ�ซ้อน 
– คำ�ที่มีความหมายโดยตรง - โดยนัย 
– คำ�วิเศษณ์ 
– ประโยคที่มีส่วนขยาย 
– ประโยคเดี่ยวและประโยครวม 
– คำ�ที่ใช้ บัน และบรร 
วรรณคดีและวรรณกรรม 
– อยู่อย่างพอเพียง 
– สารคดีมีคุณค่า 
– ปริศนาคำ�ทาย 
– บ้านใคร บ้านเขา 
– วรรณกรรมร่วมสมัย 
– นิทานนานาชาติ 
– บทร้อยกรอง 
– สำ�นวนไทย 
– แนวคิดจากวรรณกรรม 
– เพลงที่มีคุณค่า
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
27 
แผนการจัดการเรียนรู้ 
ตัวอย่าง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตัวเรา ระยะเวลาในการสอน ๓๙ ชั่วโมง 
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ 
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนำ�ไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำ�เนิน 
ชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน 
ตัวชี้วัด 
ป. ๕/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง 
ป. ๕/๒ อธิบายความหมายของคำ� ประโยคและข้อความที่เป็นการบรรยาย และการพรรณนา 
ป. ๕/๕ วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน เพื่อนำ�ไปใช้ในการดำ�เนินชีวิต 
ป. ๕/๖ อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำ�สั่ง ข้อแนะนำ� และปฏิบัติตาม 
ป. ๕/๘ มีมารยาทในการอ่าน 
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ 
ต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ 
ตัวชี้วัด 
ป. ๕/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด 
ป. ๕/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำ�ได้ถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสม 
ป. ๕/๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน 
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟัง และดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึก 
ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์ 
ตัวชี้วัด 
ป. ๕/๑ พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู 
ป. ๕/๒ ตั้งคำ�ถามและตอบคำ�ถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู 
ป. ๕/๔ พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา 
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษา และหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา 
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทย ไว้เป็นสมบัติของชาติ 
ตัวชี้วัด 
ป. ๕/๑ ระบุชนิดและหน้าที่ของคำ�ในประโยค 
ป. ๕/๒ จำ�แนกส่วนประกอบของประโยค
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
28 
ป. ๕/๔ ใช้คำ�ราชาศัพท์ 
ป. ๕/๗ ใช้สำ�นวนได้ถูกต้อง 
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำ� 
มาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง 
ตัวชี้วัด 
ป. ๕/๑ สรุปเรื่องของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน 
ป. ๕/๒ ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถนำ�ไปใช้ในชีวิตจริง 
ป. ๕/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม 
ป. ๕/๔ ท่องจำ�บทอาขยานตามที่กำ�หนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ 
๒. สาระสำ�คัญ 
อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคำ� ประโยค ข้อความที่เป็นการบรรยาย 
การพรรณนา วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำ�ไปใช้ในการดำ�เนินชีวิต อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย 
คำ�สั่ง ข้อแนะนำ� และปฏิบัติตาม มีมารยาทในการอ่าน คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสาร 
โดยใช้คำ�ได้ถูกต้องและเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน พูดแสดงความรู้ 
ความคิดเห็น และความรู้สึก ตั้งคำ�ถามและตอบคำ�ถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู พูดรายงานเรื่องหรือประเด็น 
ที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา ระบุชนิดและหน้าที่ของคำ�ในประโยค จำ�แนกส่วนประกอบของ 
ประโยค ใช้คำ�ราชาศัพท์ และสำ�นวนได้ถูกต้อง สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน ระบุความรู้และข้อคิดจาก 
การอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถนำ�ไปใช้ในชีวิตจริง อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ท่องจำ� 
บทอาขยานตามที่กำ�หนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ 
๓. สาระการเรียนรู้ 
ความรู้ 
๑. การอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของ 
– คำ�ที่มีพยัญชนะควบกลํ้า 
– คำ�ที่มีอักษรนำ� 
– คำ�ที่มีตัวการันต์ 
– บทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง 
– ข้อความที่เป็นการบรรยายและพรรณนา 
๒. การอ่านบทร้อยกรองเป็นทำ�นองเสนาะ (กลอนสุภาพ) 
๓. การถอดคำ�ประพันธ์ 
๔. การใช้พจนานุกรม 
๕. มารยาทในการอ่าน และการสร้างนิสัยรักการอ่าน 
๖. การอ่านจับใจความสำ�คัญ 
๗. การตั้งคำ�ถาม การตอบคำ�ถาม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
29 
๘. การพูดลำ�ดับเหตุการณ์ 
๙. การเขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิด 
๑๐. การสรุปเรื่องและข้อคิดของเรื่อง 
๑๑. การเขียนสื่อสาร 
๑๒. การพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในเรื่องที่ฟังและดู จากสื่อต่างๆ 
๑๓. ชนิดและหน้าที่ของคำ� 
๑๔. ประโยคและส่วนประกอบของประโยค 
๑๕. คำ�ราชาศัพท์ 
๑๖. สำ�นวน สุภาษิต คำ�พังเพย 
๑๗. วรรณคดีและวรรณกรรมตามความสนใจ 
๑๘. คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม 
๑๙. บทอาขยาน (ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน) 
๒๐. การคัดลายมือ 
๔. ทักษะ / กระบวนการ 
๑. อ่านออกเสียงและบอกความหมายของคำ� ประโยค ข้อความ บทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง 
๒. อ่านบทร้อยกรองเป็นทำ�นองเสนาะ 
๓. ถอดคำ�ประพันธ์ 
๔. ใช้พจนานุกรม 
๕. มีมารยาทในการอ่าน และนิสัยรักการอ่าน 
๖. จับใจความสำ�คัญ 
๗. ตั้งคำ�ถาม และตอบคำ�ถาม 
๘. พูดลำ�ดับเหตุการณ์ 
๙. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิด 
๑๐. สรุปเรื่อง และข้อคิดของเรื่อง 
๑๑. เขียนสื่อสารตรงตามเจตนา 
๑๒. พูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในเรื่องที่ฟังและดูจากสื่อต่างๆ 
๑๓. ระบุชนิดและหน้าที่ของคำ� 
๑๔. จำ�แนกประโยคและส่วนประกอบของประโยค 
๑๕. ใช้คำ�ราชาศัพท์ 
๑๖. ใช้สำ�นวน สุภาษิต คำ�พังเพย 
๑๗. ศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมตามความสนใจ 
๑๘. วิเคราะห์ และอธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม 
๑๙. ท่องจำ�บทอาขยาน (ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน) 
๒๐. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1

More Related Content

What's hot

การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานChainarong Maharak
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความPensri Sangsuk
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศBoonlert Aroonpiboon
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความmarisa724
 
เจ้าหญิงนกกระจาบ
เจ้าหญิงนกกระจาบเจ้าหญิงนกกระจาบ
เจ้าหญิงนกกระจาบSasiprapha Srisaeng
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสปายด์ 'ดื้อ
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5กชนุช คำเวียง
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมpong_4548
 
โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558
โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558
โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558เทพ ธรรมะ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความพัน พัน
 
วิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษวิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษGratae
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมายkroonoi06
 

What's hot (16)

การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงาน
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
 
เจ้าหญิงนกกระจาบ
เจ้าหญิงนกกระจาบเจ้าหญิงนกกระจาบ
เจ้าหญิงนกกระจาบ
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
 
โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558
โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558
โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความ
 
วิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษวิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษ
 
Pan14
Pan14Pan14
Pan14
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมาย
 

Viewers also liked

การบ้านภาษาไทย
การบ้านภาษาไทยการบ้านภาษาไทย
การบ้านภาษาไทยKrumada
 
ผังมโนทัศ
ผังมโนทัศผังมโนทัศ
ผังมโนทัศKanokkorn Harsuk
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนKroo R WaraSri
 
การทำงานสู่ความเป็นเลิศ
การทำงานสู่ความเป็นเลิศการทำงานสู่ความเป็นเลิศ
การทำงานสู่ความเป็นเลิศsongsri
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดKroo R WaraSri
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗Milky' __
 
หนังสือเรียนภาษาไทย ป.1 เล่ม 1 ชุด มานะ ปิติ มานี ชูใจ
หนังสือเรียนภาษาไทย ป.1 เล่ม 1 ชุด มานะ ปิติ มานี ชูใจหนังสือเรียนภาษาไทย ป.1 เล่ม 1 ชุด มานะ ปิติ มานี ชูใจ
หนังสือเรียนภาษาไทย ป.1 เล่ม 1 ชุด มานะ ปิติ มานี ชูใจsornordon
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (11)

การบ้านภาษาไทย
การบ้านภาษาไทยการบ้านภาษาไทย
การบ้านภาษาไทย
 
ผังมโนทัศ
ผังมโนทัศผังมโนทัศ
ผังมโนทัศ
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
 
การทำงานสู่ความเป็นเลิศ
การทำงานสู่ความเป็นเลิศการทำงานสู่ความเป็นเลิศ
การทำงานสู่ความเป็นเลิศ
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กด
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
Main Idea (Mama)
Main Idea (Mama)Main Idea (Mama)
Main Idea (Mama)
 
หนังสือเรียนภาษาไทย ป.1 เล่ม 1 ชุด มานะ ปิติ มานี ชูใจ
หนังสือเรียนภาษาไทย ป.1 เล่ม 1 ชุด มานะ ปิติ มานี ชูใจหนังสือเรียนภาษาไทย ป.1 เล่ม 1 ชุด มานะ ปิติ มานี ชูใจ
หนังสือเรียนภาษาไทย ป.1 เล่ม 1 ชุด มานะ ปิติ มานี ชูใจ
 
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
 
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดกใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 

Similar to 1

เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายjiratt
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนkuneena
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59Natthapon Inhom
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบปNamfon Wannapa
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยBoonlert Aroonpiboon
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubonWaree Wera
 
การอ่านจับใจความสำคัญจากวรรณกรรมพื้นบ้าน ด้วยเทคนิค SQ4R.pdf
การอ่านจับใจความสำคัญจากวรรณกรรมพื้นบ้าน ด้วยเทคนิค SQ4R.pdfการอ่านจับใจความสำคัญจากวรรณกรรมพื้นบ้าน ด้วยเทคนิค SQ4R.pdf
การอ่านจับใจความสำคัญจากวรรณกรรมพื้นบ้าน ด้วยเทคนิค SQ4R.pdfLinlyBird
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนkhemmarat
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์kruthai40
 
Reading corner
Reading cornerReading corner
Reading cornerkrusunny
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋Kaekea Bio
 

Similar to 1 (20)

เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมาย
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอน
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
1
11
1
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
การอ่านจับใจความสำคัญจากวรรณกรรมพื้นบ้าน ด้วยเทคนิค SQ4R.pdf
การอ่านจับใจความสำคัญจากวรรณกรรมพื้นบ้าน ด้วยเทคนิค SQ4R.pdfการอ่านจับใจความสำคัญจากวรรณกรรมพื้นบ้าน ด้วยเทคนิค SQ4R.pdf
การอ่านจับใจความสำคัญจากวรรณกรรมพื้นบ้าน ด้วยเทคนิค SQ4R.pdf
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
Web
WebWeb
Web
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
Reading corner
Reading cornerReading corner
Reading corner
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
 
Media
MediaMedia
Media
 

1

  • 1. ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
  • 3. โรงเรียนวังไกลกังวล (ระดับประถมศึกษา) ถนนเพชรเกษม อำ�เภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ คู่มือการจัดการเรียนการสอน ทางไกลผ่านดาวเทียม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม สงวนลิขสิทธิ์
  • 4. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง คำ�แนะนำ�แนวการสอนภาษาไทย ก. การสอนโดยใช้หนังสือเรียน 4 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ ใช้หนังสือเป็นหลัก เน้นอ่านเพื่อเข้าใจ และให้สัมพันธ์กับการพูด การเขียน ๑. การเตรียมการอ่าน ๑.๑ ให้ดูภาพ สนทนาเกี่ยวกับชื่อเรื่อง แล้วอภิปรายเกี่ยวกับความคิดในบทเรียน อ่านคำ�ใหม่ อภิปราย คำ�ยาก อ่านข้อความบางตอน แล้วอภิปรายว่าบทเรียนเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร และบทอ่านชนิดใด ๑.๒ ตั้งจุดประสงค์การอ่าน ได้แก่ อ่านเพื่อตอบคำ�ถาม อ่านเพื่อสรุป อ่านเพื่อหารายละเอียด เป็นต้น ๒. การอ่าน ๒.๑ อ่านในใจ ✍ โดยแบ่งการอ่านเป็นตอน เป็นย่อหน้า หรือตลอดเรื่อง ✍ ตอบคำ�ถามปากเปล่าเพื่อทำ�ความเข้าใจ “ใคร ทำ�อะไร ที่ไหน อย่างไร” หรือ “เหตุเกิดเมื่อไร ใคร เกี่ยวข้อง เริ่มจากอะไร ทำ�ให้เกิดผลอย่างไร” เป็นต้น ๒.๒ อภิปรายโครงสร้างของเรื่อง ✍ เขียนโครงร่างของเรื่อง ✍ ร่วมกันอภิปรายโครงสร้างของเรื่อง ✍ เขียนโครงสร้างของเรื่องตามโครงเรื่อง ✍ เล่าเรื่องตามโครงสร้าง ✍ เขียนเรื่องตามโครงสร้างลงแผนภูมิ/สมุด ✍ เขียนตอบคำ�ถาม ๒.๓ อ่านออกเสียง ✍ ฝึกอ่านออกเสียง และอ่านเพื่อความชื่นชม (ทำ�นองเสนาะ) ๓. การจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะทางภาษา มีดังนี้ ๓.๑ กิจกรรมส่งเสริมการจำ�คำ� เช่น เกมต่างๆ ๓.๒ การคัดและเขียน ๓.๓ การเขียนเรียงความ ๓.๔ การเขียนหลักเกณฑ์ทางภาษา ๓.๕ การฝึกฝนการใช้ภาษาตามกฎเกณฑ์ ๓.๖ การอ่านหนังสือเพิ่มเติม และทำ�รายงาน
  • 5. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ๔. การขยายและประยุกต์ความคิดจากบทเรียน จัดกิจกรรมนำ�ไปสู่ การอ่าน เขียน พูด และฟัง ๔.๑ อภิปราย ข้อคิด เกี่ยวกับบทเรียน ๔.๒ เขียนเชิงสร้างสรรค์ โดยนำ�โครงสร้างของเรื่องมาเขียนใหม่ และเขียนบทอ่านเป็นสมุดเล่มใหญ่ (กลุ่ม) ๔.๓ เขียนเรียงความจากโครงสร้างเดิม ๔.๔ การอ่านหนังสือในห้องสมุด แล้วเขียนรายงาน หรือเรียงความ ๔.๕ การเขียนบทละครจากบทเรียน ๔.๖ การอภิปรายการกระทำ� และนิสัยใจคอของตัวละคร ๕. การจัดกิจกรรมเสริมทักษะ ทางภาษา เช่น เล่นเกม อ่านหนังสือเพิ่มเติม ร้องเพลง เล่นละคร แสดง 5 บทบาทสมมติ ข. การสอนโดยวิธีการทางหลักภาษา เป็นการสอนสะกดแจกคำ� แจกลูก และหลักเกณฑ์ทางภาษา ฝึกสังเกตคำ�ที่มีตัวสะกดต่างกันแต่ออกเสียง เหมือนกัน อ่านความในประโยค แล้วสังเกตการวางคำ� และการใช้คำ�ในประโยค เป็นต้น แล้วสรุปเป็นกฎเกณฑ์ทาง หลักภาษา แล้วนำ�ไปใช้ ขั้นตอนมีดังนี้ ✍ อ่านคำ�หรือประโยค ✍ สังเกตคำ�หรือประโยค ✍ รู้ความหมายของคำ�และประโยค ✍ สรุปเป็นกฎเกณฑ์ทางภาษา ✍ นำ�คำ�หรือประโยคไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ ค. การสอนอ่านอิสระ เพื่อให้มีนิสัยรักการอ่านและเขียน อ่านเพื่อบันเทิง อ่านเพื่อการงาน ค้นคว้า ทำ�รายงาน เพื่อฝึกตนเอง มุ่งปลูกฝัง ความรับผิดชอบต่อการทำ�งาน แนวการสอนมีดังนี้ ✍ วางแผนการอ่าน ตั้งจุดมุ่งหมายของการอ่าน เวลา จำ�นวนหน้า ✍ กำ�หนดกิจกรรมหลังอ่าน เช่น เขียนเรื่องย่อ ทำ�รายงาน เขียนข้อคิด วาดภาพประกอบ และเขียนคำ�บรรยาย หาความหมายจากพจนานุกรม คัดและเขียนคำ�ในบทอ่าน ✍ ทำ�กิจกรรมหลังอ่าน ✍ เสนอผลงานและประเมินผล ✍ อ่านเสริมบทเรียน และอ่านหนังสือในห้องสมุด ง. การสอนอ่านเพื่อความเข้าใจ ต้องใช้ความรู้เดิมช่วยทำ�ความเข้าใจการอ่าน ความรู้ทั้งหลายของผู้อ่านจะเก็บไว้เป็นหน่วยความรู้ และความรู้ เหล่านั้นจะเชื่อมโยงกัน ความรู้ที่เชื่อมโยงเป็นเรื่องๆ นี้จะช่วยทำ�ให้การอ่านเกิดความเข้าใจได้อย่างลึกซึ้ง เป็นแบบแผน ความรู้ ฉะนั้นความรู้ที่นักเรียนมีอยู่จะจัดความรู้มาสัมพันธ์ เป็นแบบแผน ความรู้เหล่านี้จะช่วยให้เกิดความเข้าใจการอ่านได้
  • 6. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง อย่างลึกซึ้ง ใช้เดาความในบริบทในเวลาอ่าน ช่วยในการแยกแยะข้อความสำ�คัญกับรายละเอียดของเรื่องที่อ่าน ช่วยตีความ ในเรื่องที่อ่าน วิธีสอนเพื่อพัฒนาแบบแผนความรู้ มีดังนี้ 6 ๑. สอนอ่านจากบทเรียนสั้นๆ จากคำ�ไปสู่วลี จากวลีไปสู่ประโยค จากประโยคไปสู่ย่อหน้า ๒. สอนอ่าน โดยให้ทำ�นายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ต่อไปผลจากเหตุการณ์นั้นควรเป็นอย่างไร ๓. ถ้านักเรียนไม่มีแบบแผนความรู้ ครูควรสร้างความรู้พื้นฐานในการสนทนาเรื่องในบทอ่าน เพื่อสร้างขอบข่าย ความรู้ในบทเรียนเป็นพื้นฐานการอ่าน ๔. นักเรียนตั้งคำ�ถามก่อนอ่าน และคำ�ถามหลังอ่าน จ. การอ่านเพื่อความรู้ความเข้าใจ นักเรียนจะต้องมีความสามารถในการคิด จับประเด็นสำ�คัญของเรื่องได้ หารายละเอียดของเรื่องที่อ่านได้ จะ สามารถวิเคราะห์เรื่อง สังเคราะห์เรื่อง ประเมินค่า สิ่งที่อ่านได้ ดังนั้น นักเรียนที่มีความสามารถในการทำ�โครงสร้างของ เรื่องจากการอ่าน จะช่วยให้นักเรียนจับประเด็นสำ�คัญ รายละเอียดของเรื่องได้ ซึ่งจะนำ�ไปสู่การคิดเป็น ถ้านักเรียนหาคำ� สำ�คัญของเรื่องในแต่ละย่อหน้าได้ จะทำ�ให้นักเรียนจับประเด็นสำ�คัญได้โดยสะดวก ฉ. การหาโครงสร้างของย่อหน้าหรือเรื่อง ผู้อ่านที่ดี ควรหาโครงสร้างของย่อหน้าหรือเรื่อง แล้วทำ�แผนภาพ โครงสร้างของย่อหน้าแต่ละย่อหน้า หรือ เรื่องที่อ่าน ดังนี้ ๑. โครงสร้างเหตุการณ์ เนื้อเรื่องที่เป็นนิทาน นิยาย มักจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับเหตุการณ์ ซึ่งมีลำ�ดับก่อนหลังของ เหตุการณ์ ผู้อ่านควรหาความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ตามระยะเวลาของเรื่อง แล้วนำ�มาเขียนเป็นโครงสร้าง เหตุการณ์ ๒. โครงสร้างรายละเอียด เนื้อเรื่องรายละเอียด เป็นการให้รายละเอียดของเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จะทำ�ให้ผู้อ่าน สามารถหารายละเอียดของเรื่องที่อ่านได้ ๓. โครงสร้างบทนำ� ย่อหน้าของบทนำ� จะเป็นบทที่กล่าวถึงความสำ�คัญของเรื่อง ๔. โครงสร้างบทสรุป เป็นย่อหน้าสรุปความคิด ซึ่งจะอยู่ในตอนท้ายของเรื่อง หรือย่อหน้าสุดท้าย ๕. โครงสร้างความหมาย เป็นย่อหน้าที่ใช้อธิบายความคิดรวบยอด หรือให้คำ�จำ�กัดความ ๖. โครงสร้างสาธก เป็นย่อหน้าที่ให้ตัวอย่าง จะมีการอธิบายให้ตัวอย่าง ๗. โครงสร้างเปรียบเทียบ แสดงการเปรียบเทียบ หาสิ่งเหมือนกัน หรือต่างกันของจุดสำ�คัญในเรื่อง ๘. โครงสร้างแก้ปัญหา บอกปัญหาของเรื่อง และวิธีการแก้ปัญหา วิธีสอนโครงสร้างของย่อหน้าหรือโครงสร้างของเรื่อง ๑. เขียนโครงสร้างที่สมบูรณ์ก่อน เพื่อเป็นคู่มือ ๒. เขียนโครงสร้างของเรื่อง โดยไม่มีรายละเอียด ๓. อ่านเรื่อง ๔. ช่วยกันเติมข้อความ หรือรายละเอียดของโครงสร้าง
  • 7. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ๕. เล่าเรื่องตามโครงสร้าง ๖. เขียนเรื่องที่อ่านตามโครงสร้างด้วยถ้อยคำ�ของผู้อ่าน จากแนวการสอน เพื่อความเข้าใจนี้ ได้กำ�หนดแนว การสอนตามลำ�ดับขั้นตอน ดังนี้ 7 ๑. การสอนอ่านในใจ ๑.๑ เตรียมการอ่าน ๑.๑.๑ สนทนาเกี่ยวกับหัวข้อเรื่อง ๑.๑.๒ ให้ความรู้พื้นฐาน ๑.๑.๓ สอนคำ�ศัพท์ โดยอ่านคำ�ใหม่ ทบทวนคำ�เก่า ๑.๑.๔ ตั้งจุดประสงค์การอ่าน ๑.๒ อ่านในใจ มีลำ�ดับขั้นตอนดังนี้ ๑.๒.๑ กำ�หนดเรื่องให้อ่าน แล้วตอบคำ�ถาม ๑.๒.๒ เสนอโครงสร้างของเรื่อง แล้วอภิปราย ๑.๒.๓ ช่วยกันเขียนรายละเอียดของโครงสร้างของเรื่อง ๑.๒.๔ เล่าเรื่องที่อ่านตามโครงสร้าง ๑.๒.๕ เขียนเรื่องตามโครงสร้าง ๑.๒.๖ อ่านเรื่องและคิดเกี่ยวกับบทเรียน ๑.๒.๗ ตอบคำ�ถาม ทำ�แบบฝึกหัด ๒. อ่านออกเสียง ๒.๑ ทบทวนคำ�ศัพท์ แจกลูก สะกดคำ� ผันวรรณยุกต์ ๒.๒ อ่านแบบฝึกอ่านในหนังสือ ๒.๓ อ่านออกเสียงจากบทอ่าน เป็นร้อยแก้ว/ร้อยกรอง ๒.๔ กิจกรรมหลังอ่าน ช่วยกันประเมินการออกเสียง ๓. การใช้ภาษา และหลักภาษา ๓.๑ ศึกษาความรู้ทางภาษาในบทเรียน ๓.๒ ฝึกแต่งประโยค และการใช้ถ้อยคำ� สำ�นวนโวหารตามกฎเกณฑ์ที่เรียนมาแล้ว ๔. การฝึกความคิดสร้างสรรค์ ๔.๑ นำ�บทอ่านมาอ่าน แล้วสร้างโครงเรื่อง นักเรียนเล่าเรื่อง หรือเขียนตามโครงสร้าง ๔.๒ นำ�โครงสร้างมาดัดแปลงเรื่อง อาจกำ�หนดตัวละคร โครงเรื่อง ชื่อตัวละคร สถานที่ และเขียนเรื่องขึ้น ใหม่ตามโครงเรื่องที่ดัดแปลง ๔.๓ กลุ่มนักเรียนเขียนเรื่อง ตามโครงเรื่องที่ดัดแปลง เป็น Big Book
  • 8. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง ๕. พัฒนาทักษะทางภาษา 8 ๕.๑ พัฒนาทักษะ การพูด ฟัง อ่าน และเขียน โดยอ่านหนังสือเพิ่มเติม และนำ�มาเล่าให้เพื่อนฟัง เขียนคำ� คัด หรือเขียนคำ�ในบทเรียน และแต่งประโยค รวบรวมคำ�ใหม่เป็นแผนภูมิสำ�หรับชั้นเรียน รวบรวม ประโยคเป็นแผนภูมิ ๕.๒ กิจกรรม ค้นคว้า และรายงาน ๕.๓ รวบรวมคำ�ทำ�เป็นพจนานุกรมสำ�หรับชั้น ฝึกใช้พจนานุกรม ๕.๔ ร้องเพลงเกี่ยวกับบทเรียน เล่นเกม ๕.๕ เขียนบทละครจากเรื่องที่อ่าน ๕.๖ เรียงความ ย่อความ เขียนจดหมาย ๖. อ่านบทร้อยกรองในบทเรียน ๖.๑ อ่านคำ�ยากในบทร้อยกรอง ๖.๒ ฝึกอ่านบทร้อยกรองให้เป็นจังหวะ ๖.๓ หาคำ�คล้องจองจากบทร้อยกรอง ๖.๔ ฝึกอ่านทำ�นองเสนาะ ๗. อ่านเสริมบทเรียน ๗.๑ วางแผนการอ่าน ว่าอ่านแล้วจะทำ�กิจกรรมใด ๗.๒ กำ�หนดให้อ่านที่บ้าน หรือในเวลาว่าง แล้วทำ�กิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ๗.๓ เสนอผลงานต่อชั้นเรียน ๘. การสอนซ่อมเสริม ควรสอนทั้งในเวลาและนอกเวลา เมื่อทราบว่านักเรียนบกพร่องเรื่องอะไร การพูด การฟัง หรือการอ่าน เน้น การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ กระบวนการคิด แสวงหาความรู้ การอ่านตามลำ�พัง การทำ�งานเป็นกลุ่ม การคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ การแก้ปัญหา ฯลฯ ตลอดเวลา ควรยึดกระบวนการสอนเป็นหลัก โดยใช้หนังสือเรียนเป็นสื่อ เพื่อฝึกทักษะ กระบวนการ หลักการสอนซ่อมเสริม ๑. แนวคิดในการสอนซ่อมเสริม การสอนซ่อมเสริม เป็นการจัดการเรียนการสอน เพื่อช่วยเหลือนักเรียนที่บกพร่องด้านทักษะต่างๆ ทั้งฟัง พูด อ่าน เขียน รวมถึงนักเรียนที่เรียนช้า เป็นการสอนซ่อมเสริมนักเรียนที่มีปัญหาเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง และเสริม นักเรียนที่เรียนดี - เก่ง เพื่อพัฒนาศักยภาพ และสังคมนิสัยไปพร้อมกัน
  • 9. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 9 ๒. หลักพึงปฏิบัติในการสอนซ่อมเสริม ๒.๑ สังเกต และบันทึกพฤติกรรมสมํ่าเสมอ เป็นรายบุคคล ๒.๒ การสอนซ่อมเสริม ควรคำ�นึงถึงสิ่งต่อไปนี้ ๒.๒.๑ ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ของครูที่ต้องคอยเสริมแรงจูงใจ กระตุ้นให้เรียนอย่างสนุกสนาน ครูต้องมีความรัก ความเมตตา อดทน ใจเย็น ให้คำ�ชมเชย เสริมแรงให้เกิดกำ�ลังใจ ๒.๒.๒ สื่อและกิจกรรม ควรจูงใจ ควรใช้เกม เพลง กิจกรรมต่างๆ เร้าความสนใจ ให้เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน กระตือรือร้น รักเรียน กิจกรรมควรจัดหลากหลาย ไม่เบื่อหน่าย ๒.๒.๓ ควรอธิบายชัดเจนตามขั้นตอน จากง่ายไปหายาก จัดกิจกรรมให้นักเรียนเป็นศูนย์กลาง และ มีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง ๒.๒.๔ ช่วงเวลาซ่อมเสริม ไม่นานเกินไป ประมาณ ๑๕ นาที จัดเป็นตารางซ่อมเสริมไว้ทุกวัน ๒.๒.๕ กลุ่มซ่อมเสริม ควรเป็นกลุ่มเล็กๆ ควรมีการทดสอบก่อนเรียน เพื่อจัดกลุ่มที่มีข้อบกพร่องคล้ายๆ กัน เพื่อจัดกิจกรรมฝึกฝนร่วมกัน และมีแขง่ขันกันบ้าง ช่วยกระตุ้นให้มีการพัฒนาตนเองยิ่งขึ้น ส่วนนักเรียนที่มีข้อบกพร่องเฉพาะตัว ควรเสริมรายบุคคล ๓. การประเมินผลการเรียนการสอนซ่อมเสริม ๓.๑ จดบันทึกพฤติกรรมการเรียนทุกครั้ง ๓.๒ ทดสอบหลังเรียนทุกเรื่อง เพื่อเปรียบเทียบผลก่อน - หลัง ๓.๓ จัดทำ�แผนภูมิความก้าวหน้าเป็นรายคน เรียบเรียงโดย คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
  • 10. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง ระดับชั้น ป.๔ - ๖ เทคนิคการจัดกิจกรรม – เรียนปนเล่น – ปฏิบัติจริง – จัดกิจกรรมแบบบูรณาการ – จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะทางภาษา – ฝึกความคิดสร้างสรรค์ – โครงงาน – การสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ 10 ผังวิเคราะห์ประเด็นการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย นักเรียนมีความรู้ มีทักษะการอ่าน คิดวิเคราะห์ มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม มีความคิดสร้างสรรค์ และบูรณาการ มาตรฐานการเรียนรู้ ๑. อ่านได้คล่องและเร็ว เข้าใจความหมายของคำ� ถ้อยคำ� สำ�นวนโวหาร แยก ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ความ ตีความ อ่านในใจ อ่านออกเสียง บทร้อยแก้วบทร้อยกรองได้คล่องแคล่ว ๒. เขียนเรียงความ ย่อความ เขียนสื่อสารได้เหมาะกับโอกาส มีนิสัยรักการ เขียน และการศึกษาค้นคว้า ๓. จับประเด็นสำ�คัญ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น พูดแสดงความรู้ ความ คิดเห็นได้ ๔. สะกดคำ� อ่านเขียนคำ�ได้ถูกต้อง ใช้คำ� กลุ่มคำ� เรียบเรียงประโยคเพื่อใช้ ในการสนทนาสื่อสาร เข้าใจลักษณะของคำ�ไทย คำ�ภาษาถิ่น คำ�ภาษา ต่างประเทศ แต่งบทร้อยกรอง เล่านิทานพื้นบ้านอย่างเห็นคุณค่าและ สร้างสรรค์ ๕. เลือกอ่านหนังสือได้หลากหลาย ทั้งนิทาน ตำ�นาน เรื่องสั้น สารคดี บทความบทร้อยกรอง บทละคร อย่างเห็นคุณค่าและนำ�ไปใช้ในชีวิตจริง กระบวนการคุณธรรม จริยธรรม – ใช้กระบวนการอ่านและเขียนในการพัฒนาความรู้ – มีนิสัยรักการอ่าน – สนใจใฝ่รู้ – มีมารยาทในการอ่านและเขียน – มีมารยาทการฟัง ดู พูด และใช้ภาษาไทยถูกต้องและสร้างสรรค์ – ยอมรับฟังความคิดเห็นการวิพากษ์วิจารณ์ – ใช้ทักษะทางภาษาในการเพิ่มพูนความรู้ความคิดได้ สาระการเรียนรู้ – การอ่านในใจ อ่านออกเสียง คำ� ความหมายของคำ� – การแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ความ ตีความ สรุปความ – การอ่านในใจ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง – การเลือกอ่านหนังสือและสื่อสารสนเทศ – การเขียนเรียงความ ย่อความ จดหมาย รายงาน – มารยาทในการเขียนและนิสัยรักการเขียน – จับประเด็นสำ�คัญของเรื่อง – แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น สรุปความ วิเคราะห์เรื่อง – พูดสนทนาโต้ตอบแสดงความรู้ความคิด – อ่านคำ� เขียนคำ� สะกดคำ� – คำ� กลุ่มคำ� ประโยค – คำ�ไทย คำ�ภาษาถิ่น คำ�ต่างประเทศ – แต่งบทร้อยกรองประเภทกาพย์กลอน – การใช้เทคโนโลยีพัฒนาความรู้ – การใช้ภาษากับกลุ่มบุคคล – คุณธรรมการใช้ภาษา – นิทาน ตำ�นานพื้นบ้าน เรื่องสั้น สารคดี บทความ วรรณคดีและ วรรณกรรม การอ่าน การเขียน หลักการ การฟัง ดู พูด ใช้ภาษา
  • 11. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 11 หน่วยการเรียนรู้สหบูรณาการเรื่อง “หัวหิน” กอท. หินชนิดต่างๆ หินรัตนชาติ สิ่งประดิษฐ์จากทะเล คณิต เส้นทาง ทิศ แผนผัง ระยะทาง พื้นที่ ภาษาอังกฤษ คำ� การสนทนา วิทยาศาสตร์ นํ้าทะเล ลมบก ลมทะเล สิ่งมีชีวิตในทะเล การอนุรักษ์ ประวัติ ประวัติ ที่มา สถานที่สำ�คัญ พลศึกษา สิ่งบันเทิง กีฬาทางนํ้า กีฬาชายหาด ศิลปศึกษา, นาฏศิลป์, เพลง ระบำ�ชายหาด เพลงหัวหิน วาดภาพทะเล สังคม อาชีพ การท่องเที่ยว ชุมชน หัวหิน การอ่าน ✍ อ่านจับใจ ความ ✍ อ่านในใจ ✍ อ่านออกเสียง ✍ อ่านวิเคราะห์ การเขียน ✍ บันทึกการ ค้นคว้า ✍ รายงาน ✍ บรรยาย ✍ เรื่องราว การฟัง/พูด/ดู ✍ การสัมภาษณ์ ✍ การสำ�รวจ ✍ สารคดี เกี่ยวกับหัวหิน หลักภาษา ✍ คำ�ประสม ✍ อักษรนำ� ✍ สำ�นวนภาษา ✍ การแต่ง ประโยค วรรณกรรม ✍ บทร้อยกรอง เกี่ยวกับทะเล หัวหิน ✍ พระราชวัง ไกลกังวล ภาษาไทย
  • 12. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ จำ�นวนหน่วยการเรียนรู้ ๓ หน่วย เวลา ๑๑๔ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ หน่วยการเรียนรู้ เวลา/ชั่วโมง 12 ๑ ตัวเรา ๓๙ ๒ ชุมชนของเรา ๓๘ ๓ เศรษฐกิจพอเพียง ๓๗ รวม ๑๑๔
  • 13. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 13 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตัวเรา ๑ ๑๖ พ.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ รู้ไว้ได้ประโยชน์ ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓, ป. ๕/๔ ป. ๕/๕ ท ๔.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก ๒ ๑๙ พ.ค. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ รู้ไว้ได้ประโยชน์ ท ๑.๑ ป. ๕/๔ – สมุดบันทึก – ภาษาพาที – แบบฝึกหัด – ทักษะภาษา ๓ ๒๐ พ.ค. ๕๗ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑/๖๐ รู้ไว้ได้ประโยชน์ ท ๑.๑ ป. ๕/๕ – สมุดบันทึก ๔ ๒๑ พ.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ เกิดแล้วต้องมี่ชื่อ ท. ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๕ – ภาษาพาที – แบบฝึกหัด – ทักษะภาษา ๕ ๒๑ พ.ค. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ ประวัติของฉัน ท ๒.๑ ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก – กระดาษ A4 – ภาพถ่ายของฉัน ๖ ๒๒ พ.ค. ๕๗ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑/๖๐ การเขียนแนะนำ� ท ๒.๑ ป. ๕/๒ – ภาษาพาที – แบบฝึกหัด – ทักษะภาษา ๗ ๒๓ พ.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ การกรอกแบบรายการ ท ๒.๑ ป. ๕/๗ – สมุดบันทึก – ใบฝาก ใบถอน ๘ ๒๖ พ.ค. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ ข่าว ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๕ – สมุดบันทึก – หนังสือพิมพ์ ๙ ๒๗ พ.ค. ๕๗ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑/๖๐ ชีวิตมีค่า ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก – ภาษาพาที – พจนานุกรม
  • 14. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 14 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) ๑๐ ๒๘ พ.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ ชีวิตมีค่า ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – ภาษาพาที – แบบฝึกหัด – ทักษะภาษา ๑๑ ๒๘ พ.ค. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ กีสาโคตมีเถรี ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – ภาษาพาที – แบบฝึกหัด – ทักษะภาษา ๑๒ ๒๙ พ.ค. ๕๗ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑/๖๐ การเขียนจดหมาย ท ๒.๑ ป. ๕/๕ – ตัวอย่างจดหมาย – รูปแบบจดหมาย ๑๓ ๓๐ พ.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ การเขียนจดหมายถึงผู้ปกครอง และญาติ ท ๒.๑ ป. ๕/๕ – กระดาษ – ซองจดหมาย – ดวงตราไปรษณียากร ๑๔ ๒ มิ.ย. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ มารยาทในการเขียนและ การสร้างนิสัยรักการเขียน ท ๒.๑ ป. ๕/๙ – สมุดบันทึก – หนังสือภาษาพาที ๑๕ ๓ มิ.ย. ๕๗ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑/๖๐ อักษรย่อรอเธอ ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก – กระดาษ A4, กาว, สีไม้ – หนังสือพิมพ์ ๑๖ ๔ มิ.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ บทอาขยาน ท ๕.๑ ป. ๕/๔ – วรรณคดีลำ�นำ� – ทักษะภาษา ๑๗ ๔ มิ.ย. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ การท่องจำ�บทอาขยาน ท ๕.๑ ป. ๕/๑ – วรรณคดีลำ�นำ� – บทอาขยาน ๑๘ ๕ มิ.ย. ๕๗ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑/๖๐ กลอนแปด ท ๑.๑ ป. ๕/๑ – วรรณคดีลำ�นำ� – แผนผังกลอนแปด ๑๙ ๖ มิ.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – วรรณคดีลำ�นำ� – พจนานุกรม ๒๐ ๙ มิ.ย. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓, ป. ๕/๔ – วรรณคดีลำ�นำ� – พจนานุกรม
  • 15. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 15 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) ๒๑ ๑๐ มิ.ย. ๕๗ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑/๖๐ วรรณกรรมในหนังสือเรียน ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – หนังสือภาษาพาที – พจนานุกรมไทย ๒๒ ๑๑ มิ.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ วรรณกรรมในหนังสือเรียน ท ๓.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – หนังสือภาษาพาที – ทักษะภาษา ๒๓ ๑๑ มิ.ย. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ บทอ่านเสริม ท ๕.๑ ป. ๕/๒ – หนังสือภาษาพาที – ทักษะภาษา ๒๔ ๑๒ มิ.ย. ๕๗ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑/๖๐ สำ�นวนไทย ท ๔.๑ ป. ๕/๗ – หนังสือภาษาพาที – ทักษะภาษา ๒๕ ๑๓ มิ.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ คำ�ที่มีความหมายโดยตรง และคำ�ที่มีความหมายโดยนัย ท .๑.๑ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก – ทักษะภาษา – พจนานุกรม ๒๖ ๑๖ มิ.ย. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ การคัดลายมือ ท ๒.๑ ป. ๕/๑ – สมุดบันทึก – แบบฝึกคัดลายมือ ๒๗ ๑๗ มิ.ย. ๕๗ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑/๖๐ การคัดลายมือ ท ๒.๑ ป. ๕/๑ – สมุดบันทึก – แบบฝึกคัดลายมือ ๒๘ ๑๘ มิ.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ อักษรนำ�จำ�ให้ดี ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓ – พจนานุกรม – สมุดบันทึก ๒๙ ๑๘ มิ.ย. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ วรรณคดีและวรรณกรรม ท ๑.๑ ป. ๕/๗ – สมุดบันทึก ๓๐ ๑๙ มิ.ย. ๕๗ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑/๖๐ วรรณคดีและวรรณกรรม ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก ๓๑ ๒๐ มิ.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ท ๕.๑ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก ๓๒ ๒๓ มิ.ย. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ การเขียนแสดงความรู้สึก และความคิดเห็น ท ๒.๑ ป. ๕/๖ – สมุดบันทึก – ภาพเหตุการณ์ต่างๆ
  • 16. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 16 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) ๓๓ ๒๔ มิ.ย. ๕๗ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑/๖๐ พยางค์และคำ� ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก – พจนานุกรมไทย ๓๔ ๒๕ มิ.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ วลีและประโยค ท ๔.๑ ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก ๓๕ ๒๕ มิ.ย. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ บทกลอนสอนใจ ท ๑.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – สมุดบันทึก – กลอนของสุนทรภู่ ๓๖ ๒๖ มิ.ย. ๕๗ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑/๖๐ รำ�ลึกถึงสุนทรภู่ ท ๕.๑ ป. ๕/๑ – สมุดบันทึก – ประวัติสุนทรภู่ ๓๗ ๒๗ มิ.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ ประโยคและส่วนประกอบ ของประโยค ท ๔.๑ ป. ๕/๒ – ภาษาพาที – แบบฝึกหัดทักษะภาษา ๓๘ ๓๐ มิ.ย. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ ประโยคสามัญและประโยครวม ท ๔.๑ ป. ๕/๒ – ภาษาพาที – แบบฝึกหัดทักษะภาษา ๓๙ ๑ ก.ค. ๕๗ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑/๖๐ ทดสอบหลังเรียน ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓, ป. ๕/๔ ป. ๕/๕ ท ๔.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ชุมชนของเรา ๔๐ ๒ ก.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ ทดสอบก่อนเรียน ท ๔.๑ ป. ๕/๑ ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก ๔๑ ๒ ก.ค. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ ประวัติท้องถิ่น ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – พจนานุกรมไทย – สมุดบันทึก ๔๒ ๓ ก.ค. ๕๗ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑/๖๐ คนละไม้ คนละมือ ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – ทักษะภาษา – ภาษาพาที – สมุดบันทึก
  • 17. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 17 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) ๔๓ ๔ ก.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ คนละไม้ คนละมือ ท ๕.๑ ป ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก – ทักษะภาษา – ภาษาพาที ๔๔ ๗ ก.ค. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ จิตที่ควรพัฒนา : จิตสาธารณะ ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก – ทักษะภาษา – ภาษาพาที ๔๕ ๘ ก.ค. ๕๗ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑/๖๐ คำ�บุพบท ท ๔.๑ ป. ๕/๑ – สมุดบันทึก – พจนานุกรม – ทักษะภาษา – ภาษาพาที ๔๖ ๙ ก.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ คำ�บุพบท ท ๔.๑ ป. ๕/๑ – สมุดบันทึก – พจนานุกรม – ทักษะภาษา – ภาษาพาที ๔๗ ๙ ก.ค. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ เครื่องหมายวรรคตอน ท ๑.๑ ป. ๕/๑ – สมุดบันทึก – ทักษะภาษา – หนังสือพิมพ์ ๔๘ ๑๐ ก.ค. ๕๗ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑/๖๐ การอ่านร้อยแก้ว ท ๑.๑ ป. ๕/๑ – สมุดบันทึก – พจนานุกรม วันศุกร์ที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ หยุดวันอาสาฬหบูชา วันจันทร์ที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๗ หยุดชดเชยวันเข้าพรรษา ๔๙ ๑๕ ก.ค. ๕๗ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑/๖๐ มารยาทในการอ่านและ การสร้างนิสัยรักการอ่าน ท ๑.๑ ป. ๕/๘ – สมุดบันทึก – หนังสือที่ชอบ ๕๐ ๑๖ ก.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ บทความดีมีประโยชน์ ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก – บทความจากหนังสือพิมพ์
  • 18. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 18 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) ๕๑ ๑๖ ก.ค. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ กำ�เนิดผิดพ้นคนทั้งหลาย (สังข์ทอง ตอนกำ�เนิดพระสังข์) ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก – วรรณคดีลำ�นำ� – พจนานุกรมไทย ๕๒ ๑๗ ก.ค. ๕๗ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑/๖๐ กำ�เนิดผิดพ้นคนทั้งหลาย (สังข์ทอง ตอนกำ�เนิดพระสังข์) ท ๑.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – วรรณคดีลำ�นำ� – พจนานุกรมไทย ๕๓ ๑๘ ก.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ กำ�เนิดผิดพ้นคนทั้งหลาย (สังข์ทอง ตอนกำ�เนิดพระสังข์) ท ๑.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – วรรณคดีลำ�นำ� – พจนานุกรมไทย – ทักษะภาษา ๕๔ ๒๑ ก.ค. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ กำ�เนิดผิดพ้นคนทั้งหลาย (สังข์ทอง ตอนกำ�เนิดพระสังข์) ท ๑.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – วรรณคดีลำ�นำ� – พจนานุกรมไทย – ทักษะภาษา ๕๕ ๒๒ ก.ค. ๕๗ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑/๖๐ คำ�ที่มีตัวการันต์ ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – กระดาษ A4 – สมุดบันทึก ๕๖ ๒๓ ก.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ การเขียนย่อความ ท ๒.๑ ป. ๕/๔ – สมุดบันทึก – นิทาน วรรณคดี บทความ – ข่าวตามความสนใจ ๕๗ ๒๓ ก.ค. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ คำ�เชื่อม ท ๔.๑ ป. ๕/๑ – สมุดบันทึก พจนานุกรม – ทักษะภาษา ภาษาพาที ๕๘ ๒๔ ก.ค. ๕๗ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑/๖๐ คำ�เชื่อม ท ๔.๑ ป. ๕/๑ – สมุดบันทึก พจนานุกรม – ทักษะภาษา ภาษาพาที ๕๙ ๒๕ ก.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ สัญลักษณ์น่ารู้ ท ๑.๑ ป. ๕/๒ – สัญลักษณ์ต่างๆ – สมุดบันทึก ๖๐ ๒๘ ก.ค. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ การเลือกใช้คำ�ให้ตรงความหมาย ท ๑.๑ ป. ๕/๑ – สำ�นวนไทย – สมุดบันทึก ๖๑ ๒๙ ก.ค. ๕๗ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑/๖๐ วันภาษาไทยแห่งชาติ ท ๑.๑ ป. ๕/๒ ท ๔.๑ ป. ๕/๑ – ความเป็นมาของ วันภาษาไทยแห่งชาติ
  • 19. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 19 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) ๖๒ ๓๐ ก.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ ร่วมแรง ร่วมใจ ท ๕.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – สมุดบันทึก – ทักษะภาษา ภาษาพาที ๖๓ ๓๐ ก.ค. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ ร่วมแรง ร่วมใจ ท ๕.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – สมุดบันทึก – ทักษะภาษา ภาษาพาที ๖๔ ๓๑ ก.ค. ๕๗ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑/๖๐ เรื่องของมด ท ๑.๑ ป. ๕/๕ ท ๒.๑ ป. ๕/๓ – นิทานในภาษาพาที – ภาษาพาที ทักษะภาษา ๖๕ ๑ ส.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ แผนภาพโครงเรื่อง ท ๒.๑ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก – ทักษะภาษา ๖๖ ๔ ส.ค. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ การอ่านข่าวสารของทางราชการ ท ๑.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – ทักษะภาษา – ภาษาพาที ข่าว ๖๗ ๕ ส.ค. ๕๗ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑/๖๐ กาพย์ยานี ๑๑ ท ๔.๑ ป. ๕/๖ – แผนผังกาพย์ยานี ๑๑ – พจนานุกรม ๖๘ ๖ ส.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ วิชาเหมือนสินค้า ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – วรรณคดีลำ�นำ� – พจนานุกรม ทักษะภาษา ๖๙ ๖ ส.ค. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ วิชาเหมือนสินค้า ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – วรรณคดีลำ�นำ� – พจนานุกรม ทักษะภาษา ๗๐ ๗ ส.ค. ๕๗ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑/๖๐ นิทาน ท ๕.๑ ป. ๕/๓, ป. ๕/๔ – นิทานเกี่ยวกับแม่ ๗๑ ๘ ส.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ การเขียนเรียงความ ท ๒.๑ ป. ๕/๒ – ตัวอย่างเรียงความ – สมุดบันทึก ๗๒ ๑๑ ส.ค. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ การเขียนเรียงความ ท ๒.๑ ป. ๕/๒ – ตัวอย่างเรียงความ – สมุดบันทึก วันอังคารที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ หยุดวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ๗๓ ๑๓ ส.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ คำ�อุทานสื่อสารอารมณ์ ท ๔.๑ ป. ๕/๑ – ทักษะภาษา – พจนานุกรม
  • 20. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 20 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) ๗๔ ๑๓ ส.ค. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ การฟังและการอ่านงานเขียน ประเภทโน้มน้าวใจ ท ๑.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ ท ๓.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก ๗๕ ๑๔ ส.ค. ๕๗ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑/๖๐ นิทานพื้นบ้าน ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก – นิทานพื้นบ้าน ๗๖ ๑๕ ส.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ คำ�ที่มีความหมายโดยตรง - โดยนัย ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก – พจนานุกรม ๗๗ ๑๘ ส.ค. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ ทดสอบหลังเรียน ท ๔.๑ ป. ๕/๑ ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เศรษฐกิจพอเพียง ๗๘ ๑๙ ส.ค. ๕๗ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑/๖๐ ทดสอบก่อนเรียน ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ท ๔.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔, ป. ๕/๕, ป. ๕/๖, ป. ๕/๗ ท ๕.๑ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก ๗๙ ๒๐ ส.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ ครอบครัวพอเพียง ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – ทักษะภาษา – พจนานุกรม, สมุด – ภาษาพาที ๘๐ ๒๐ ส.ค. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ ครอบครัวพอเพียง ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – ทักษะภาษา – ภาษาพาที ๘๑ ๒๑ ส.ค. ๕๗ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑/๖๐ ครอบครัวพอเพียง ท ๑.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – พจนานุกรม – สมุดบันทึก ๘๒ ๒๒ ส.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ การสร้างตนเอง ท ๑.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – สมุดบันทึก – เล่าวิธีการสร้างตนเอง
  • 21. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 21 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) ๘๓ ๒๕ ส.ค. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ ควายงานกับผักหวานป่า ท ๑.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – สมุดบันทึก – ภาษาพาที ๘๔ ๒๖ ส.ค. ๕๗ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑/๖๐ การอ่านจับใจความ ท ๑.๑ ป. ๕/๕ – สมุดบันทึก – ภาษาพาที ๘๕ ๒๗ ส.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ การพูดและเขียนแสดงความรู้สึก ท ๒.๑ ป. ๕/๖ ท ๓.๑ ป. ๕/๑ – สมุดบันทึก – ภาษาพาที ๘๖ ๒๗ ส.ค. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ นิทานหรรษา ท ๓.๑ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก ๘๗ ๒๘ ส.ค. ๕๗ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑/๖๐ โฆษณา ท ๑.๑ ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ – สมุดบันทึก – กระดาษ A4, สีไม้ ๘๘ ๒๙ ส.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ โฆษณา ท ๒.๑ ป. ๕/๒ – สีไม้ – กระดาษ A4 ๘๙ ๑ ก.ย. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ บ้านใคร บ้านเขา ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก ๙๐ ๒ ก.ย. ๕๗ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑/๖๐ คำ�ที่มีตัวการันต์ ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก – พจนานุกรมไทย ๙๑ ๓ ก.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ วรรณกรรมดีมีคุณค่า ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก ๙๒ ๓ ก.ย. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ วรรณกรรมดีมีคุณค่า ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก ๙๓ ๔ ก.ย. ๕๗ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑/๖๐ วรรณกรรมดีมีคุณค่า ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก ๙๔ ๕ ก.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ วรรณคดีมีคุณค่า ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก
  • 22. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 22 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) ๙๕ ๘ ก.ย. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ การพูดและเขียนแสดงความรู้สึก ท ๒.๑ ป. ๕/๖ ท ๓.๑ ป. ๕/๑ – สมุดบันทึก ๙๖ ๙ ก.ย. ๕๗ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑/๖๐ คำ�ที่มีความหมายโดยตรง และคำ�ที่มีความหมายโดยนัย ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓ – พจนานุกรม – สมุดบันทึก ๙๗ ๑๐ ก.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ คำ�ควบกลํ้า ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – พจนานุกรม – สมุดบันทึก ๙๘ ๑๐ ก.ย. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ การเขียนเรื่องราวที่สัมพันธ์กับชีวิตจริง ท ๒.๑ ป. ๕/๒, ป. ๕/๖ – สมุดบันทึก ๙๙ ๑๑ ก.ย. ๕๗ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑/๖๐ วรรณกรรมร่วมสมัย ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก ๑๐๐ ๑๒ ก.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ ฟังให้ได้คุณค่า ท ๓.๑ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก ๑๐๑ ๑๕ ก.ย. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ นิทานนานาชาติ ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – นิทานนานาชาติ – สมุดบันทึก ๑๐๒ ๑๖ ก.ย. ๕๗ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑/๖๐ ภัยเงียบ ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – ภาษาพาที ทักษะภาษา – พจนานุกรม ๑๐๓ ๑๗ ก.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ ภัยเงียบ ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – ภาษาพาที ทักษะภาษา – พจนานุกรม ๑๐๔ ๑๗ ก.ย. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ ภัยเงียบ ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – ภาษาพาที ทักษะภาษา – พจนานุกรม ๑๐๕ ๑๘ ก.ย. ๕๗ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑/๖๐ ประโยคและส่วนประกอบของประโยค (ประโยคที่มีส่วนขยาย) ท ๔.๑ ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก – ภาษาพาที ๑๐๖ ๑๙ ก.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ สำ�นวนไทย ท ๔.๑ ป. ๕/๗ – สมุดบันทึก ภาษาพาที – หนังสือสำ�นวนไทย
  • 23. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 23 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) ๑๐๗ ๒๒ ก.ย. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ คำ�ไทยแท้ ท ๔.๑ ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก – พจนานุกรม ๑๐๘ ๒๓ ก.ย. ๕๗ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑/๖๐ คำ�ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ท ๔.๑ ป. ๕/๒ – ภาษาพาที – พจนานุกรม – สมุดบันทึก ๑๐๙ ๒๔ ก.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ คำ�ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ท ๔.๑ ป. ๕/๒ – ภาษาพาที – พจนานุกรม – สมุดบันทึก ๑๑๐ ๒๔ ก.ย. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ การพูดอธิบายเหตุผล ท ๓.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – พจนานุกรม – หนังสือสำ�นวนไทย ๑๑๑ ๒๕ ก.ย. ๕๗ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑/๖๐ สารคดีมีคุณค่า ท ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – วรรณคดีลำ�นำ� – สมุดบันทึก ๑๑๒ ๒๖ ก.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ การเลือกใช้คำ�ให้ตรงความหมาย ท ๑.๑ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก – พจนานุกรม ๑๑๓ ๒๙ ก.ย. ๕๗ ๑๓.๓๐ - ๑๔.๓๐ น. ๑/๖๐ คำ�ที่ใช้ บัน และ บรร ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ – สมุดบันทึก – พจนานุกรม ๑๑๔ ๓๐ ก.ย. ๕๗ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑/๖๐ ทดสอบหลังเรียน ท ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒ ท ๔.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔, ป. ๕/๕, ป. ๕/๖, ป. ๕/๗ ท ๕.๑ ป. ๕/๓ – สมุดบันทึก
  • 24. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง – การใช้พจนานุกรม – คำ�ราชาศัพท์ – กลอนบทละคร – คำ�ศัพท์ที่ใช้กับพระสงฆ์ – คำ�ที่มีตัวการันต์ – คำ�สุภาพ – พยางค์และคำ� – คำ�ควบกลํ้า – ชนิดและหน้าที่ของคำ� – อักษรนำ� – วลีและประโยค – กลอนแปด – ส่วนประกอบของประโยค 24 ผังวิเคราะห์ประเด็นการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้น ป.๕ หลักการใช้ภาษา หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตัวเรา วรรณคดีและวรรณกรรม – ฉันคือใคร – สังข์ทอง – สำ�นวนไทย – คุณค่าของวรร ณคดีและวรรณกรรม – รำ�ลึกถึงสุนทรภู่ – ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน การอ่าน – คำ�ยาก – มารยาทในการอ่าน – จับใจความ – บทร้อยกรอง – ทำ�นองเสนาะ – ร้อยแก้ว – คำ�ที่มีตัวการันต์ – คำ�ควบกลํ้า – อักษรนำ� – บทอาขยาน การเขียน – ประวัติของฉัน – ถอดคำ�ประพันธ์ – แผนภาพโครงเรื่องและ แผนภาพความคิด – สรุปเรื่องและข้อคิด – คำ�ศัพท์สำ�หรับพระสงฆ์ – บรรยายความรู้สึก – คัดลายมือ การฟัง การดู การพูด – สรุปข้อคิดที่ได้จากการอ่าน – เล่านิทาน – ใช้คำ�ราชาศัพท์ – ใช้คำ�สุภาพ – พูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึก – ท่องบทอาขยาน
  • 25. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 25 ผังวิเคราะห์ประเด็นการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ชุมชนของเรา ระดับชั้น ป.๕ วรรณคดีและวรรณกรรม – ประวัติความเป็นมาของท้องถิ่น – วรรณคดีมีคุณค่า – สำ�นวน สุภาษิต คำ�พังเพย – เพลงพื้นบ้าน – วันภาษาไทยแห่งชาติ – นิทานคำ�กลอน – บทเพลงเพื่อแม่ – นิทานคุณธรรม การอ่าน – บทอาขยาน – จับใจความ – นิทานในท้องถิ่น – งานเขียนเชิงอธิบาย คำ�สั่ง ข้อแนะนำ� และปฏิบัติตาม – ข่าวและเหตุการณ์ประจำ�วัน – อักษรย่อ – บทอาขยาน การเขียน – เพื่อการสื่อสาร – ย่อความ – จดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ – มารยาทในการเขียน และการสร้างนิสัย รักการเขียน – กาพย์ยานี ๑๑ การฟัง การดู การพูด – วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากสื่อต่างๆ – แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น – มารยาทในการฟัง การดู และการพูด – ฟังเพลงพื้นบ้าน – พูดแสดงความคิดเห็นจากสิ่งที่ฟัง – ใช้คำ�ของกลุ่มบุคคลในสังคม – ฟังไว้ได้ประโยชน์ หลักการใช้ภาษา – โวหารในงานประพันธ์ – ส่วนประกอบของประโยค – ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น – ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น – คำ�สรรพนาม – คำ�คม คติพจน์ คำ�ขวัญ – คำ�กริยาบอกอาการ – คำ�ที่มีความหมายโดยตรง - โดยนัย – อักษรย่อ – กาพย์ยานี ๑๑
  • 26. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 26 ผังวิเคราะห์ประเด็นการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย การอ่าน ระดับชั้น ป.๕ – จับใจความ – คำ�ควบกลํ้า – คำ�ที่มีตัวการันต์ – โฆษณา – เครื่องหมายวรรคตอน – คำ�ที่ใช้ บัน และบรร การเขียน – บทร้อยกรอง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เศรษฐกิจพอเพียง – สารคดี – กรอกแบบรายการ – รายงานการศึกษาค้นคว้า – บทโฆษณา – อธิบายขั้นตอน – เรื่องราวที่สัมพันธ์กับชีวิตจริง – คำ�ที่ใช้ บัน และบรร – ย่อความ – เพื่อการสื่อสาร – คุณค่าของบทเพลง การฟัง การดู การพูด – เล่าวิธีการสร้างตนเอง – พูดปริศนาคำ�ทาย – พูดลำ�ดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน – ฟังให้ได้คุณค่า – ใช้คำ�ให้ตรงความหมาย – พูดอธิบายเหตุผล หลักการใช้ภาษา – คำ�ควบกลํ้า – คำ�ที่มีตัวการันต์ – เครื่องหมายวรรคตอน – ประสมคำ� – คำ�ซํ้า คำ�ซ้อน – คำ�ที่มีความหมายโดยตรง - โดยนัย – คำ�วิเศษณ์ – ประโยคที่มีส่วนขยาย – ประโยคเดี่ยวและประโยครวม – คำ�ที่ใช้ บัน และบรร วรรณคดีและวรรณกรรม – อยู่อย่างพอเพียง – สารคดีมีคุณค่า – ปริศนาคำ�ทาย – บ้านใคร บ้านเขา – วรรณกรรมร่วมสมัย – นิทานนานาชาติ – บทร้อยกรอง – สำ�นวนไทย – แนวคิดจากวรรณกรรม – เพลงที่มีคุณค่า
  • 27. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 27 แผนการจัดการเรียนรู้ ตัวอย่าง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตัวเรา ระยะเวลาในการสอน ๓๙ ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนำ�ไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำ�เนิน ชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ป. ๕/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ป. ๕/๒ อธิบายความหมายของคำ� ประโยคและข้อความที่เป็นการบรรยาย และการพรรณนา ป. ๕/๕ วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน เพื่อนำ�ไปใช้ในการดำ�เนินชีวิต ป. ๕/๖ อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำ�สั่ง ข้อแนะนำ� และปฏิบัติตาม ป. ๕/๘ มีมารยาทในการอ่าน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ ต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ป. ๕/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด ป. ๕/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำ�ได้ถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสม ป. ๕/๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟัง และดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึก ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ป. ๕/๑ พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู ป. ๕/๒ ตั้งคำ�ถามและตอบคำ�ถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู ป. ๕/๔ พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษา และหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทย ไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ป. ๕/๑ ระบุชนิดและหน้าที่ของคำ�ในประโยค ป. ๕/๒ จำ�แนกส่วนประกอบของประโยค
  • 28. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 28 ป. ๕/๔ ใช้คำ�ราชาศัพท์ ป. ๕/๗ ใช้สำ�นวนได้ถูกต้อง มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำ� มาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ตัวชี้วัด ป. ๕/๑ สรุปเรื่องของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน ป. ๕/๒ ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถนำ�ไปใช้ในชีวิตจริง ป. ๕/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ป. ๕/๔ ท่องจำ�บทอาขยานตามที่กำ�หนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ ๒. สาระสำ�คัญ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคำ� ประโยค ข้อความที่เป็นการบรรยาย การพรรณนา วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำ�ไปใช้ในการดำ�เนินชีวิต อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำ�สั่ง ข้อแนะนำ� และปฏิบัติตาม มีมารยาทในการอ่าน คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสาร โดยใช้คำ�ได้ถูกต้องและเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึก ตั้งคำ�ถามและตอบคำ�ถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู พูดรายงานเรื่องหรือประเด็น ที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา ระบุชนิดและหน้าที่ของคำ�ในประโยค จำ�แนกส่วนประกอบของ ประโยค ใช้คำ�ราชาศัพท์ และสำ�นวนได้ถูกต้อง สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน ระบุความรู้และข้อคิดจาก การอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถนำ�ไปใช้ในชีวิตจริง อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ท่องจำ� บทอาขยานตามที่กำ�หนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ ๓. สาระการเรียนรู้ ความรู้ ๑. การอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของ – คำ�ที่มีพยัญชนะควบกลํ้า – คำ�ที่มีอักษรนำ� – คำ�ที่มีตัวการันต์ – บทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง – ข้อความที่เป็นการบรรยายและพรรณนา ๒. การอ่านบทร้อยกรองเป็นทำ�นองเสนาะ (กลอนสุภาพ) ๓. การถอดคำ�ประพันธ์ ๔. การใช้พจนานุกรม ๕. มารยาทในการอ่าน และการสร้างนิสัยรักการอ่าน ๖. การอ่านจับใจความสำ�คัญ ๗. การตั้งคำ�ถาม การตอบคำ�ถาม
  • 29. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 29 ๘. การพูดลำ�ดับเหตุการณ์ ๙. การเขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิด ๑๐. การสรุปเรื่องและข้อคิดของเรื่อง ๑๑. การเขียนสื่อสาร ๑๒. การพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในเรื่องที่ฟังและดู จากสื่อต่างๆ ๑๓. ชนิดและหน้าที่ของคำ� ๑๔. ประโยคและส่วนประกอบของประโยค ๑๕. คำ�ราชาศัพท์ ๑๖. สำ�นวน สุภาษิต คำ�พังเพย ๑๗. วรรณคดีและวรรณกรรมตามความสนใจ ๑๘. คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ๑๙. บทอาขยาน (ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน) ๒๐. การคัดลายมือ ๔. ทักษะ / กระบวนการ ๑. อ่านออกเสียงและบอกความหมายของคำ� ประโยค ข้อความ บทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง ๒. อ่านบทร้อยกรองเป็นทำ�นองเสนาะ ๓. ถอดคำ�ประพันธ์ ๔. ใช้พจนานุกรม ๕. มีมารยาทในการอ่าน และนิสัยรักการอ่าน ๖. จับใจความสำ�คัญ ๗. ตั้งคำ�ถาม และตอบคำ�ถาม ๘. พูดลำ�ดับเหตุการณ์ ๙. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิด ๑๐. สรุปเรื่อง และข้อคิดของเรื่อง ๑๑. เขียนสื่อสารตรงตามเจตนา ๑๒. พูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในเรื่องที่ฟังและดูจากสื่อต่างๆ ๑๓. ระบุชนิดและหน้าที่ของคำ� ๑๔. จำ�แนกประโยคและส่วนประกอบของประโยค ๑๕. ใช้คำ�ราชาศัพท์ ๑๖. ใช้สำ�นวน สุภาษิต คำ�พังเพย ๑๗. ศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมตามความสนใจ ๑๘. วิเคราะห์ และอธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ๑๙. ท่องจำ�บทอาขยาน (ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน) ๒๐. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด