SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
503
การสอนแบบบูรณาการ (A Model of Integration)
ในการสอนแต่ละหน่วย แต่ละคาบ แต่ละวัน ต้องสอนโดยยึดเด็กเป็นศูนย์กลาง (Child’s Center) ให้เด็ก
ได้ฟัง (Listening) พูด (Speaking) อ่าน (Reading) และเขียน (Writing) ไปด้วยกัน โดยใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร (Language
for Communication) ภาษาและวัฒนธรรม (Language and Culture) ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
(Curriculum Connection) ตลอดจนภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก (Language and Community and
Globalization) โดยให้เด็กได้คิดเอง ค้นคว้าเองตามหน่วยหรือเรื่อง (Child’s Thinking about Themes, Ideas and Values)
ให้เด็กได้แสดงความคิดเห็น และเห็นคุณค่าของเรื่องและความงดงาม ตลอดจนวัฒนธรรมของภาษาที่กำ�ลังเรียน โดย
มีครูคอยแนะนำ�จัดหาหนังสือ สื่อ และจัดประสบการณ์ต่างๆ ให้
การจัดกิจกรรมและประสบการณ์ต่างๆ อาจทำ�ได้ทั้งก่อนหรือหลังเรียนอ่านเขียน หรือระหว่างเวลาเรียนก็ได้
เช่น การเขียนควรสอนให้สัมพันธ์กับการพูด ส่วนการฟังและการอ่านก็เป็นเครื่องมือของการคิด เด็กจะแสดงความ
คิดเห็นได้ดี ต้องมีสมาธิในการฟังและรักการอ่าน ซึ่งเป็นเครื่องมืออันสำ�คัญในการจะเขียนได้ดีด้วย การสอนภาษา
ต้องฝึกทักษะ ดังนั้น การฝึกฟัง อ่าน พูด เขียน จึงจำ�เป็นมาก ครูที่สอนภาษาได้ดีต้องสอนให้สัมพันธ์กับชีวิตประจำ�วัน
ดึงเอาสิ่งที่เด็กสนใจ กิจกรรมที่มีในชุมชน เช่น เด็กพบเห็นนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ โฆษณา และข้อความจากสื่อ
จากบุคคลสำ�คัญต่างๆ มาพูดคุยกับเด็กเป็นภาษาอังกฤษ อย่าลืมว่าคุณครูเองต้องฝึกทักษะเหล่านี้ไปพร้อมๆ กับเด็ก และ
ให้รู้มากกว่าเด็ก จนใช้ได้โดยอัตโนมัติ
การสอนโดยยึดเรื่องราว (theme) เป็นหัวใจของการจัดเสริมสื่อการสอนให้สนุกสนาน แต่ต้องไม่ลืมให้เด็ก
ได้ฝึกทักษะ ฟัง พูด อ่าน เขียน โดยจัดกิจกรรมที่น่าสนใจ เพื่อให้การเรียนนั้นมีความหมาย (meaningful) กับชีวิต
ประจำ�วันของเด็ก การเลือกเรื่อง หรือหนังสือ ให้เด็กเรียนจึงสำ�คัญมาก นอกจากเรื่องที่หลักสูตรกำ�หนดไว้เป็นหัวข้อ
กว้างๆ แล้ว คุณครูควรจะถามเด็กด้วยว่าเด็กอยากเรียนเรื่องอะไร ถ้าเป็นโรงเรียนปลายทางขอให้แจ้งกลับมา เพื่อ
ผู้เขียนแผนฯ จะได้ค้นคว้า เรียบเรียง เป็นคู่มือให้ในเล่มต่อไป การแสดงความคิดเห็นของเด็กทุกครั้งที่เรียน นอกจากการ
พูด เขียน แสดงความคิดแล้ว ควรฝึกให้เด็กเขียนผังมโนทัศน์ ตาราง แผนที่ง่ายๆ ฯลฯ (webs, charts and other graphics
etc.) เพื่อเป็นการสื่อความหมายที่รวดเร็ว ชัดเจน ทันสมัย ทันโลก เป็นสากล
Child’s Thinking
About Ideas,
Themes
and Values
LISTENING SPEAKING READING WRITING
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
504
การเริ่มสอนด้วยการระดมความคิด (brainstorm) ควรได้ฝึกทุกชั่วโมง แต่ครูต้องไม่คาดหวังสูง และต้องใจเย็น
รอคำ�ตอบข้อมูลจากเด็กๆ โดยทั่วถึง ให้ทุกคน ทุกกลุ่ม ได้มีส่วนร่วม แม้เป็นการถามนำ�ก็ยังดี เด็กจะได้ฝึกพูดโต้ตอบ
บทสนทนาที่เจ้าของภาษาใช้ง่ายๆ จนติดปาก รวมทั้งมรรยาท และวัฒนธรรม (Pardon me!, Excuse me!, I’m sorry,
Thank you, You’re welcome etc.)
การสอนในห้องเรียนและในโรงเรียนต้องสัมพันธ์กับชีวิตประจำ�วันนอกโรงเรียน ที่บ้าน โดยอัตโนมัติ เช่น
ถ้ามีเหตุการณ์ใดเกิดขึ้น เพื่อนป่วย โรคหวัดระบาด ฯลฯ ครูควรนำ�เหตุการณ์นั้นมาสอน เชื่อมโยงกับบทเรียนทันที
การให้นักเรียนทำ�โครงงานง่ายๆ เกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียนเป็นการบ้าน ช่วยให้เด็กๆ มีเรื่องอภิปราย แสดงความคิดเห็น
ได้มากขึ้น และสนุกสนานด้วย คุณครูเองยังอยากสอน และสอนได้สนุกสนานเมื่อเตรียมตัวมาเต็มที่ เด็กๆ ก็เช่นเดียวกัน
เมื่อคุณครูให้การบ้านเด็ก ครูจึงควรทำ�การบ้านไปพร้อมกัน แต่ต้องใจเย็น ให้เด็กได้แสดงความคิดเห็นก่อน คำ�พูดที่
คุณครูควรพูดกระตุ้นเด็ก เช่น “Try looking back…” หรือ “Think about it (it อาจเป็นหนังสือหรือประสบการณ์ที่ครู
ให้ไปศึกษา ค้นคว้าในเรื่องนั้นๆ เป็นการบ้านก็ได้) การสอนแบบนี้เรียกว่า สอนให้สัมพันธ์กับชีวิตประจำ�วัน (Connecting
the Curriculum to Children’s Daily Lives)
สอนอย่างไรเด็กจึงจะเป็นคนรับผิดชอบและมีอิสระ
เด็กไทยรับคำ�สั่งจนเคยชิน แต่เด็กรุ่นใหม่เขาชอบแสดงออกมากขึ้น ซึ่งขึ้นอยู่กับเทคนิคการสอนของครู ครู
ต้องไม่ยึดติดกับการสอน อ่าน และเขียน ครูต้องให้อิสระทางความคิดแก่นักเรียน แต่สอนให้เขาคิดในทางสร้างสรรค์
รู้จักฟังความคิดเห็นผู้อื่น ครูควรให้เด็กเลือกหนังสือ หรือเรื่องที่น่าสนใจอ่านเอง โดยไม่กำ�หนดเรื่องให้อ่าน ฝึกเป็น
นักเขียนน้อย ฝึกบันทึกประจำ�วัน ฝึกเขียนคำ�คล้องจองง่ายๆ คำ�ขวัญ ฯลฯ นอกจากนี้ ครูควรใช้สื่อเทคโนโลยีใหม่ๆ
เช่น วิดีโอเทป เทป ภาพยนตร์ คอมพิวเตอร์ ช่วยให้เด็กได้เรียนรู้ภาษาบ้าง เป็นครั้งคราว เพื่อเปิดโลกทัศน์ให้กว้างขวางขึ้น
แต่ต้องมีการแสดงความคิดเห็น และวิจารณ์ร่วมกันระหว่างครู เด็ก และพ่อแม่ การส่งเสริมให้เด็กอ่าน เลือกหนังสือ
วิดีโอ ให้เป็น ยังเป็นการส่งเสริมความคิดและคุณค่าของผู้อ่านและผู้ดูด้วย ครูอาจตั้งคำ�ถามนำ� เช่น What is fairness?
What is courage? What is good or bad? การส่งเสริมให้เด็กอ่านหนังสือที่ดีๆ ไม่เพียงแต่ทำ�ให้เด็กรักการอ่านเท่านั้น
แต่ยังส่งเสริมให้เด็กมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลด้วยความงดงามของภาษา ช่วยให้เด็กคิดเป็น และเขียนได้สละสลวย
การเลือกหนังสือดีๆ อ่าน มีความสำ�คัญมาก พ่อแม่ ครู ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับเด็กควรคำ�นึงถึงความสำ�คัญข้อนี้
จึงควรจัดมุมหนังสือ ห้องสมุดไว้ในบ้าน ผู้ใหญ่ที่เติบโตมากับหนังสือหลายๆ คนประสบความสำ�เร็จในชีวิต ต้องไม่ลืม
ข้อนี้ หนังสือที่เด็กสนใจคือหนังสือที่เกี่ยวกับเด็ก และมีโครงเรื่องที่อยู่ในความสนใจของเด็ก ทำ�ให้ตื่นเต้นและอยากรู้
อยากเห็น เช่น เรื่องเกี่ยวกับการผจญภัย ความคิดฝัน และมีความหมายกับเด็ก ผู้แต่งที่ใช้ภาษา สละสลวย เช่น
พวกนิยาย ตำ�นาน เรื่องราวเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เรื่องจริง บทละคร ฯลฯ โดยเฉพาะหนังสือที่ขายดี เป็นที่นิยมของเด็ก
และเยาวชน ที่นักวิจารณ์ บรรณารักษ์ พ่อแม่ และครู ช่วยกันกลั่นกรอง และแนะนำ�
หนังสือภาษาอังกฤษมีมากมาย คุณครูควรเสนอให้พ่อแม่ผู้ปกครองสะสม และบริจาคให้ห้องสมุดโรงเรียน
เพื่อเด็กๆ จะได้มีหนังสือดีๆ อ่าน ผู้เขียนได้รวบรวมรายชื่อหนังสือที่จัดหาไว้ให้เด็กๆ อ่าน พอเป็นตัวอย่าง ดังนี้
The Three Little Pigs
Adapted by Milt Banta and AL Dempster ของ Walt Disney’s a Little Golden Book
The New Puppy
by Kathleen N. Daly a Little Golden Book
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
505
Dumbo Adapted
by Teddy Stater; Walt Disney’s a Little Golden Book
A Sleepy Story
by Elizabeth Burrowes, a Little Golden Book
A Day in the Park
by Ronne Peltzman a Little Golden Book
Cats
by Joanne Ryder a Little Golden Book
Lady and the Tramp
Adapted by Teddy Slater, Walt Disney’s a Little Golden Book
Ready, Set, Grow!
by Nancy Buss a Little Golden Book
Winnie the Pooh and Tigger too
by Walt Disney’s Random House
The Bear’s New Baby
by Joan Elizabeth Goodman, A Golden Book
Jack and the Beans talk
by Stella Williams Nathan a Little Golden Book
Winnie the Pooh and the Missing Bullhorn
by Michael Teitelbaum Walt Disney’s A Golden Book
Donald Duck’s Toy Sailboat
Walt Disney’s by Annie North Bedford; a Little Golden Book
Bambi
Walt Disney’s by Felix Salten a Little Golden Book
The Party Animals Come Celebrate
by Martin Lemelman Modern Publishing
The Party Animals Colorful Picnic
by Martin Lemelman Modern Publishing
Who Took the Farmer’s Hat?
by Joan L. Nodset
Oh, A-Hunting We Will Go
by John Langstaff
What Can You Hear? by Angela Litter
ชุด SESAME STREET.
a Little Golden Book etc.
มีหลายเรื่อง
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
506
และมีหนังสือที่พิมพ์ในท้องตลาดใหม่ๆ อีกมากมายที่โรงเรียนอาจเลือกเป็นหนังสืออ่านประกอบ หรือ
เสริมบทเรียนให้เด็ก ป. ๑ - ป. ๖ ได้เช่นกัน
ในการเรียนการสอน เราอาจนำ�บางตอนมาเขียนแผนการสอนได้ แต่ควรเขียนอ้างถึงหนังสือเล่มนั้นๆ หรือ
ชุดนั้นๆ ด้วย เป็นมารยาทที่ควรสอนเด็กในการเขียนรายงาน และการทำ�โครงงาน
การจัดกิจกรรมการสอน พูด และฟัง เป็นกิจกรรมที่สอนยากสำ�หรับเด็กไทย เพราะโอกาสในการฟังและพูด
แต่เดิมมา มีน้อยมากสำ�หรับภาษาอังกฤษ เพราะเรามีภาษาไทยเป็นภาษาประจำ�ชาติ แต่เดิมมาเราจึงเรียนอ่าน - เขียน
เป็นส่วนใหญ่ เพื่ออ่านตำ�รา และหาความรู้เพิ่มเติม แต่ปัจจุบันโลกแคบเข้า สื่อต่างๆ ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลาง เช่น
อินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ ภาพยนตร์ ฯลฯ นอกจากการพูด และฟัง เป็นการแสดงความคิดเห็นที่เราถ่ายทอดได้ทันที
หลังจากการเรียนรู้ เด็กๆ มีโอกาสฟัง และได้ยินความรู้จากสื่อต่างๆ มากขึ้น การพูดเป็นการสื่อความหมาย และ
การแสดงออกที่สำ�คัญของหลายๆ อาชีพ อาชีพที่เกี่ยวข้องกับการพูดมีความสำ�คัญและมีรายได้มากขึ้น เช่น อาชีพ
นักแสดง พิธีกร นักการเมือง นักพูด และเป็นอาชีพที่เด็กและเยาวชนสนใจมากขึ้นด้วย
กิจกรรมการพูดและฟัง เราควรจัดให้เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับการอ่านวรรณคดี หรือเรื่องราวต่างๆ เพื่อให้การ
พูดนั้นมีความรู้ ความคิด มีมาตรฐานในทางความคิดวิเคราะห์สร้างสรรค์ พอๆ กับความรู้ ความจำ�เรื่องราว นอกจากนี้
การพูดยังใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารและปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้างอีกด้วยกิจกรรมจึงต้องจัดอย่างหลากหลายสนุกสนาน
ไม่น่าเบื่อ ให้มีทั้งการแสดงบทบาทสมมติ (role-playing) การอภิปรายเป็นกลุ่ม การสัมภาษณ์ การรายงานหน้าชั้น
การแสดงละคร การเชิดหุ่น
ข้อสำ�คัญคุณครูต้องจัดกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ ให้มีความหมายต่อเด็ก นอกจากนี้ การพูดและการฟังควรได้ฝึก
และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การอ่านทำ�นองเสนาะ คำ�ประพันธ์พวก Rhymes, poems, poetry ทั้งอ่านพร้อมกัน อ่านเป็น
กลุ่ม อ่านจับคู่ (Pains Work) เป็นเรื่องจำ�เป็นในการฝึกทักษะทางภาษา เกม เพลง มีส่วนช่วยให้เด็กมีความสุขใน
การเรียน และอยากเรียนมากขึ้น
การสอนเขียน การสอนเขียนอ่านวรรณคดีและเรื่องราวต่างๆ ต้องไปด้วยกัน และควรจัดกิจกรรมส่งเสริม
การเขียนอ่านเช่นเดียวกัน ดังตัวอย่างในผังมโนทัศน์ในแผนการสอน หลังจากมีการระดมความคิด (brainstorm)
อภิปราย (discuss) สัมภาษณ์ (interview) ซึ่งเป็นขั้นฝึกพูดแล้ว นักเรียนจะต้องเขียน (write) ลงสมุด เขียนผังความคิด
(Webs) เขียนรายงาน (report) แต่งเรื่อง แต่งคำ�คล้องจอง กลอน เพลง (make up a short story, rhymes, poems and
songs) การแสดงความสามารถ ความรู้สึก ความคิดเห็น ตลอดจนเรื่องราวความรู้ต่างๆ ได้ ช่วยให้เด็กเกิดความเชื่อมั่น
ในตัวเอง และสามารถเขียนเรื่องราวต่างๆ ตามความสามารถ ความรู้ และประสบการณ์ของตนเองจนเป็นผู้ประสบ
ความสำ�เร็จได้ในที่สุด การเขียนช่วยให้นักเรียนใช้ภาษาได้และถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นรู้ได้ตามที่ต้องการ ซึ่งจะช่วยให้
เป็นผู้ที่ประสบความสำ�เร็จในอนาคต
การสอนแบบเด็กเป็นศูนย์กลาง และสอนให้คิดเป็น การสอนภาษาในปัจจุบัน เราไม่ได้สอนเฉพาะภาษา แต่
ต้องสอนให้เด็กมีความคิดอ่านที่เหมาะสมกับวัย ทันโลก ทันสมัย การเรียนวรรณคดี (Literature) เป็นการเรียนเพื่อ
ให้เกิดความคิดที่สำ�คัญๆ เกิดความคิดหลากหลาย แลกเปลี่ยนความรู้ รู้จักคิดพิจารณา รู้จักใช้วิจารณญาณตัดสิน
ข้อเท็จจริง และปัญหาต่างๆ ได้ เพราะครูสอนให้เด็กคิด แต่ไม่ได้บอกวิชา
สื่อต่างๆ ที่ครูจัดหรือให้เด็กร่วมกันทำ� เพื่อให้เกิดความคิดต่อเนื่องเป็นกระบวนการ เมื่อเด็กได้อ่านเกิด
คำ�ถาม เกิดความคิด วิเคราะห์ ทดลอง วัดผล ประเมินผล กระบวนการเหล่านี้จะเกิดผลชัดเจน และกระตุ้นความสามารถ
การเรียนรู้ของเด็กได้ตั้งแต่ ป. ๑ - ป. ๖ การที่เด็กจะรู้จักคิดวิเคราะห์ได้ด้วยตนเองนั้น จะต้องฝึกตั้งคำ�ถาม ถามตนเอง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
507
ก่อนถามผู้อื่น แล้วฝึกตอบค้นคิดหาเหตุผล ข้อมูลด้วยตนเอง จากการอ่าน การทดลองประสบการณ์ ซึ่งขึ้นอยู่กับ
การจัดกระบวนการเรียนการสอนของครู (และนักเรียนร่วมกัน) นอกจากนี้ ในการอ่านนักเรียนจะต้องรู้จักจุดประสงค์
หรือวางเป้าหมายว่าต้องการอะไร คือพูดง่ายๆ รู้จักวางแผน จะอ่านหนังสืออะไรบ้าง อยากรู้เรื่องอะไร อ่านแล้วรู้อะไร
เพิ่มขึ้น มีเทคนิค/ยุทธศาสตร์ (Strategies) ในการอ่านอย่างไร พฤติกรรมในการอ่านที่ใช้ เช่น การตั้งคำ�ถาม การติ - ชม
การวางจุดมุ่งหมาย เหล่านี้ล้วนเป็นการพัฒนาการอ่านให้ดีขึ้น ได้ประโยชน์จากการอ่านให้มากที่สุด และอย่าลืมมีสมุด
คู่มือการอ่านจดไว้กันลืม เพื่อจะนำ�ไปใช้ในการเขียนต่อไป
การเริ่มต้นการอ่าน ควรเลือกหนังสือที่สนใจมากที่สุดก่อน คุณครูพยายามศึกษาเด็กเป็นรายบุคคลว่าเขาสนใจ
เรื่องอะไร เช่น เด็กคนหนึ่งอาจเลือกเรียนเรื่องเกี่ยวกับกีฬา อีกคนอาจเลือกนิยายวิทยาศาสตร์ (science fiction) อ่านแล้ว
อาจแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน เด็กที่อ่านเรื่องกีฬาอาจสนใจประวัตินักกีฬาคนสำ�คัญๆ เด็กที่อ่านนิยายวิทยาศาสตร์อาจอยาก
อ่านเรื่องวิทยาศาสตร์ที่ไม่ใช่นิยายต่อก็ได้ เด็กที่ยังไม่พร้อมและยังไม่แสดงออกความสนใจ ครูก็คอยถามว่าสนใจอะไร
จะอ่านอะไร ชอบอะไร แล้วส่งเสริมให้ค้นคว้าหนังสืออ่านในห้องสมุด ไม่ช้าไม่นานอาจพบสิ่งที่เขาสนใจจนได้
เพื่อจะให้ทราบว่าหนังสืออะไรบ้างที่เหมาะสมกับเด็ก ควรมีการจัดสัมมนาครูภาษาอังกฤษ แลกเปลี่ยนเรียนรู้
กับครูบรรณารักษ์เป็นครั้งคราว
กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
แต่ละโรงเรียนควรมีโครงการส่งเสริมการอ่าน เช่น “หยุดทุกงาน อ่านทุกคน” แล้ว ควรมีการส่งเสริมการอ่าน
ในใจ (Silent Reading) และอ่านออกเสียง (Reading Aloud) ช่วยวางแผนกับเด็กๆ ว่า เมื่อไรควรอ่าน และอ่านหนังสือ
ได้ที่ไหนบ้าง เช่น อ่านตอนเช้าก่อนเข้าเรียน และหลังเลิกเรียน หลังอาหารกลางวันหรือหลังอาหารเย็น อ่านเป็นช่วง
สั้นๆ โดยจัดตารางการอ่าน และจุดมุ่งหมายการอ่านไว้พร้อมบันทึกส่งครู หรือรายงานหน้าชั้นเรียน
คุณครูเองควรอ่านเป็นตัวอย่างแก่เด็ก ตามตารางเวลาที่เด็กช่วยกันจัด การอ่านหนังสือเด็กทำ�ให้พูดคุยกับเด็ก
เข้าใจกันมากขึ้น ควรร่วมมือกับครูบรรณารักษ์และฝ่ายบริหารจัดมอบรางวัลให้นักเรียนที่อ่านได้มากเล่ม และสามารถ
เล่าและแสดงความคิดเห็นให้เพื่อนๆ ฟังหน้าชั้น และหน้าแถวนักเรียนได้ดี
ตัวอย่าง	 การสอนความเข้าใจภาษา (Comprehension Instruction)
	 ขั้นที่ ๑	 ให้เล่าหรือบอกเกี่ยวกับทักษะที่เป็นตัวอย่างที่เห็นจริง หรือประสบการณ์ตอนต้นๆ หรือ
		 อันดับแรก
	 ขั้นที่ ๒	 ให้คำ�จำ�กัดความและสาธิตทักษะทางภาษา
	 ขั้นที่ ๓	 ลงมือปฏิบัติจริงด้วยความช่วยเหลือของครู
	 ขั้นที่ ๔	 ปฏิบัติตามลำ�พัง/อย่างอิสระ
คุณครูสอนให้แต่งเรื่อง หรือเขียนเรื่อง ตามตัวอย่างกระบวนการเขียน ทำ�ไปตามขั้นตอนทีละขั้นพร้อมๆ ครู
ลองดูตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่าง	 การเขียนบทอภิปราย
	 ขั้นที่ ๑	 เริ่มโดยให้ทุกคนอ่านบทที่เขียนให้ฟัง เขียนบทโต้ตอบย่อๆ
	 ขั้นที่ ๒	 ลองตั้งคำ�ถามเป็นตัวอย่าง เพื่อให้เด็กคิดถามตัวเอง
		 –	 Had anything like this ever happened to you before?
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
508
		 –	 Did you like it?
		 –	 How did you feel?
	 ขั้นที่ ๓	 ตั้งข้อสังเกต กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
		 –	 I think it’s good for you.
		 –	 I think it’s surprising.
			 etc.
เรียนจากสิ่งที่รู้ และให้เกิดความคิดที่อิสระ
ก่อนเรียนครูต้องทดสอบ (Pre-Test) เพื่อทราบพื้นฐานความรู้ของเด็ก และควรให้เด็กอภิปราย (discuss)
เพื่อทราบความคิดเห็นและพื้นความรู้ ความคิด ให้มีการเตรียมการอ่าน (Prereading) เตรียมการเขียน (Prewriting) ด้วย
กิจกรรมต่างๆ เช่น ถาม - ตอบ ระดมความคิด ให้เขียนอะไรก็ได้ส่งครู เพื่อจะได้เรียนจากสิ่งที่รู้แล้ว ไปหาสิ่งที่ยังไม่รู้
เรียนจากรูปธรรม ไปสู่นามธรรม
มีคุณครูหลายคนเล่าว่า เด็กสนใจรูปวาด หรือสื่อที่เด็กวาดหรือสร้างเองมากกว่าสื่อสวยๆ ที่ครูเตรียมมาให้
การจัดหัวข้อให้นักเรียนเรียนหรือจัดกิจกรรมให้นักเรียนทำ� ควรคำ�นึงถึงความสนใจ และความต้องการของเด็กเป็น
สำ�คัญ รวมทั้งให้เด็กมีส่วนร่วมในการคิดแบบหรือบทของกิจกรรมเหล่านั้น การพัฒนาการอ่าน โดยให้เด็กตั้งคำ�ถาม
ติชม แก้ไข และวางจุดประสงค์การเรียนด้วยตนเอง จะทำ�ให้เด็กตระหนักในวิธีการและการใช้สื่อ เครื่องมือในการเรียนรู้
ได้ด้วยตนเอง
การกระตุ้นให้เด็กตั้งคำ�ถาม
ครูควรกระตุ้นให้เด็กตั้งคำ�ถามก่อนอ่าน ระหว่างอ่าน และหลังการอ่าน และเขียนด้วยตนเอง เช่น
เหตุการณ์สำ�คัญตอนที่ ๑ เป็นอย่างไร
เหตุการณ์ต่อไปในอนาคต เป็นอย่างไร
การแต่งเรื่องควรวางโครงเรื่องก่อน อาจเขียนเป็นผังความคิดก็ได้ แล้วจึงเรียบเรียงตามโครงเรื่อง หรือผังความ
คิดหลัก ความคิดรอง ความคิดย่อย
การใช้ผังความคิด แผนที่ หรือตาราง เขียนประกอบการสื่อความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน และ
รวดเร็ว ครูควรสอนให้เด็กใช้ผังความคิด (The Mind Mapping or Webs) แผนที่ (Maps) และตารางกราฟิกอื่นๆ
(Graphic Aids) ช่วยวางแผนในการแสดงข้อมูลในการอภิปราย ระดมความคิดก่อนอ่านและเขียน และแนะนำ�ศัพท์
ต่างๆ ให้เด็กคิดเองว่าควรจะใช้สื่ออะไรช่วย
การสอนภาษาสัมพันธ์กับกลุ่มสาระ คุณครูอาจสอนภาษาบูรณาการกับกลุ่มสาระอื่นๆ เช่น วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ และอื่นๆ เพราะเราให้เด็กเรียนเพื่อแสดงความคิดเห็น มากกว่าเพื่อความจำ� กระบวนการจัดการเรียนรู้
ทุกกลุ่มสาระ มีเป้าหมายหลักตรงกัน
การสอนภาษาให้เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำ�วัน มีความจำ�เป็นอย่างยิ่งที่ต้องได้รับความร่วมมือจากพ่อแม่
ผู้ปกครอง ให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในงานของเด็ก เพราะพ่อแม่เองก็ต้องการรู้ว่าเด็กเรียนอะไรบ้าง เรียนได้ไม่ได้อย่างไร
ทำ�ไมเด็กทำ�การบ้านไม่ได้ หรือทำ�ไมคุณครูไม่ให้การบ้าน คุณครูควรให้เด็กฝึกเขียนรายงานถึงผู้ปกครอง ถ้าเป็นเด็กเล็ก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
509
ก็รายงานด้วยภาพ ตัวหนังสือน้อยๆ ถ้าเป็นเด็กโต เขียนรายงานประกอบภาพ แฟ้มรายงานผลงาน (Portfolio) มีความ
จำ�เป็น ควรเชิญผู้ปกครองเป็นวิทยากรในห้องเรียน และมีการประชุมอย่างสมํ่าเสมอสื่อการเรียนบางอย่าง ผู้ปกครอง
ควรมีส่วนร่วมในการช่วยคิด ช่วยทำ� จะได้เข้าใจปัญหาและร่วมแก้ปัญหากับครู
การเรียนแบบมีส่วนร่วม
การเรียนแบบนักเรียนมีส่วนร่วมกับครู เป็นหัวใจของการเรียนรู้ การเรียนแบบมีส่วนร่วม เน้นการทำ�งาน
เป็นกลุ่ม/ทีม เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การเรียนการทำ�งานเป็นกลุ่ม ได้ผลกว่าการเรียนตามลำ�พัง/รายคน กลุ่มที่
เหมาะสม แล้วแต่กิจกรรม ตามปกติกลุ่มละ ๔ - ๕ คน กำ�ลังพอเหมาะ กลุ่มที่จัดควรเป็นกลุ่มคละกัน ทั้งความรู้
ความสามารถ ประสบการณ์ เพศ ให้รู้จักตั้งชื่อกลุ่ม นั่งรวมกลุ่ม (จัดโต๊ะ) ควรเปลี่ยนกลุ่มทุกเดือน ช่วยให้เด็กได้ปรับ
ตัวเอง และควรจัดกิจกรรมให้กลุ่มเข้าใจจุดมุ่งหมายอย่างชัดเจนตรงกัน กลุ่มที่ดีครูควรช่วยเหลือให้น้อยที่สุด (หลังจาก
การปรับตัว และการเรียนรู้ซึ่งกันและกันแล้ว)
การเขียน
กลุ่มเก่งไม่เพียงแต่ช่วยตัวเองได้ดี วิเคราะห์ วิจารณ์งานได้เท่านั้น แต่ควรทบทวนงานเขียนของตนเอง และ
ช่วยเพื่อนที่ยังไม่พร้อมได้ด้วย
การทำ�งานเป็นกลุ่ม เพื่อให้ทุกคนในกลุ่มช่วยเหลือกัน รู้จักแบ่งงานกันทำ� ไม่เห็นแก่ตัว เรียนรู้ซึ่งกันและกัน
ถ่ายทอดสิ่งที่ดีให้กัน ช่วยแก้ไขจุดบกพร่องกันและกัน
ควรฝึกร่างเขียนก่อน แล้วให้กลุ่มอ่านออกเสียงเพื่อช่วยกันแก้ไข ทบทวน แล้วช่วยกันร่างข้อเขียนใหม่ แล้ว
ช่วยกันตรวจทาน ถ้างานที่ทำ�สำ�เร็จได้ผลดี กลุ่มหรือชั้นเรียนควรให้กำ�ลังใจซึ่งกันและกัน อ่านบทความนั้นดังๆ และ
จัดป้ายนิเทศ
การอ่าน
หลังจากอ่านในใจ ทุกคนควรอ่านออกเสียง ไม่ดังนัก แต่แสดงความซาบซึ้ง อ่านทีละประโยค/ย่อหน้า เพื่อ
ฝึกการอ่านไปด้วยกัน กลุ่มช่วยกันแก้ไข คำ�ผิด คำ�อ่านไม่ชัด
ขั้นสุดท้าย นักเรียนอาจต้องช่วยกันย่อความหรือสรุปใจความ (Summarizing) ถ้าเป็นความเรียง (non-fiction)
ควรอ่านจับใจความและความคิดให้ได้ ถ้าเป็นนวนิยาย (Fiction) ให้จับอุปนิสัยตัวละคร เป้าหมาย และพยายามสรุป
เรื่องราว
การอ่านจับใจความ ช่วยให้สามารถเข้าใจเรื่องราวได้ดีและเร็วขึ้น
ครูควรให้แบบฝึกหัดหลังจากนักเรียนเรียน แบบฝึกหัดนั้นควรเป็นแบบฝึกที่เสริมให้เด็กเข้าใจบทเรียนได้
ดีขึ้น การทำ�งานเป็นกลุ่มให้เพื่อนช่วยเพื่อน ช่วยกันถามตอบ ผลัดกัน หลังจากทำ�แบบฝึกหัดเสร็จแล้ว ให้ทุกคนได้
ตอบคำ�ถามปากเปล่าจนเข้าใจเรื่องราวทั้งหมดที่เรียนมา การตอบคำ�ถามนี้ควรตั้งเป้าไว้ว่าจะต้องได้ประมาณร้อยละ 90
คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มไม่ควรตํ่ากว่าร้อยละ ๘๐ - ๘๙ ครูควรให้ดาวหรือเครื่องหมายแทนรางวัล
ต่อจากนั้นครูควรให้เด็กฝึกคำ�ศัพท์ อย่างน้อย ๒ หน้าต่อหน่วยการเรียน แต่เมื่อเรียนจบเทอมหนึ่ง หรือปีหนึ่ง
ต้องได้ตามหลักสูตรกำ�หนด
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
510
ตัวอย่างการเรียนคำาศัพท์ (Spelling Words)
หน่วยที่..............................................
สะกดคำา : Words with c, k, and ck
back keep neck
cup kid sick
Discover the Spelling Pattern
– Read the words the words in the box. How is the sound /k/ in kite spelled in the words?
Write the words in the columns belows.
Words with c or k words with ck
1. cup 4. back
2. keep 5. neck
3. kid 6. sick
Sum up the sound /k/ in kite may be spelled c..... k..... or .....ck
Spelling and meaning
– Write the sentences by use these words:-
cup, keep, kid, back, neck, sick
การฝกคำาศัพท์
ก่อนฝึกควรทดสอบ (Pre-test) ก่อน เพื่อให้เด็กสังเกตคำาและให้แก้คำาผิดด้วยตนเอง ครูช่วยแนะนำาวิธี
สังเกตการสะกดคำา ทำาไมถึงเขียนผิด เพราะเหตุใด อ่านออกเสียง เพื่อสังเกตการสะกดคำา นักเรียนเรียนสะกดคำาด้วย
วิธีต่างๆ ไม่ใช่ให้จำากฎ การฝึกสังเกต อ่าน เขียน ออกเสียงคำาเหล่านั้นให้ถูก ช่วยให้เข้าใจความหมาย และสะกดได้ถูกต้อง
หน่วยที่..............................................
สะกดคำา (Spelling) : Choose Your Own Words
– Choose words from Reviewing
Vocabulary and your own writing that you think are hard to spell.
– Write the words on the lines below.
1. ........................................................................................................................... 2. ...........................................................................................................................
3. ........................................................................................................................... 4. ...........................................................................................................................
5. ........................................................................................................................... 6. ...........................................................................................................................
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
511
Practice your own words
–	 Write the words listed above again.
1.	...........................................................................................................................	 2.	...........................................................................................................................
3.	...........................................................................................................................	 4.	...........................................................................................................................
5.	...........................................................................................................................	 6.	...........................................................................................................................
Work with a Partner
–	 Talk with a partner about making up a funny TV show. Who will be the star?
–	 Then together write a few sentences telling about your funny show. Try to use words from the spelling lists.
ข้อสังเกต	 :	 ในการเขียน หรือแต่งประโยค พยายามใช้ศัพท์ที่เลือกมาเรียน และฝึกสะกด ถ้ามีคำ�ที่ยังเขียนผิด ให้นำ�มา
ทบทวนด้วยตนเองอีกครั้ง
		 ในการฝึกคำ�ศัพท์แต่ละครั้งคุณครูควรถามนักเรียนว่าอยากฝึกสะกดคำ�อะไร อย่างน้อยครึ่งหนึ่ง ของคำ�ศัพท์
ควรให้เด็กคิดเอง
ก่อนเรียนเรื่องใด นักเรียนและครูควรสนทนากันเกี่ยวกับความหมาย ความคิดเห็น และเรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับ
เรื่องนั้นๆ เพื่อให้เด็กเกิดความคิดรวบยอด (Concept) และเข้าใจโครงเรื่อง (Content) รวมทั้งเห็นคุณค่าในการเรียนเรื่อง
นั้นๆ
เนื่องจากเป็นกลุ่มสาระภาษาอังกฤษ จึงขอเรียบเรียงเป็นภาษาอังกฤษที่อาจเข้าใจได้ง่ายๆ คำ�ศัพท์เหล่านี้
ขอให้คุณครูพูดให้เด็กฟังบ่อยๆ เพราะกิจกรรมที่เด็กเรียนแต่ละหน่วยจะมีคำ�ศัพท์ที่ซํ้าๆ กัน การเรียนทุกหน่วย
มีเป้าหมายหลัก (Central Goal) ที่ประกอบด้วยเรื่อง (Theme) ความคิดต่างๆ (Ideas) และคุณค่า (Values) ในหน่วยที่ ๑
นักเรียนเรียนเรื่องเกี่ยวกับตัวเองและอื่นๆ (Learning about oneself and others) ซึ่งมีครอบครัว (Family) บ้าน (Home)
และโรงเรียน (School) เพื่อน (Friends) รางวัล (Prizes) สัตว์เลี้ยง (Pets) ได้เขียนแผนเป็น Mind Mapping เป็น
ตัวอย่างไว้ ๒ เรื่อง คือ Friends และ Prizes
ส่วนแผนอื่นๆ คุณครูอาจสอนเพิ่มเติมตามความสนใจของนักเรียน และตามความเหมาะสม บางแผนก็สอน
ไปบ้างแล้ว ในเทอมต้น ถ้าคิดว่ายังมีกิจกรรมที่น่าสนใจก็นำ�มาสอนเพิ่มเติมได้
	 เรียบเรียงโดย คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์
	 กรรมการบริหารและประธานคณะทำ�งาน โรงเรียนวังไกลกังวล

More Related Content

Viewers also liked

ใบความรู้ทดสอบหลังเรียน ปรากฏการณ์เทคโนโลยีอวกาศ++ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p...
ใบความรู้ทดสอบหลังเรียน ปรากฏการณ์เทคโนโลยีอวกาศ++ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p...ใบความรู้ทดสอบหลังเรียน ปรากฏการณ์เทคโนโลยีอวกาศ++ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p...
ใบความรู้ทดสอบหลังเรียน ปรากฏการณ์เทคโนโลยีอวกาศ++ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p...Prachoom Rangkasikorn
 
My Self+Name,Nickname, Age2+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f25-1page
My Self+Name,Nickname, Age2+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f25-1pageMy Self+Name,Nickname, Age2+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f25-1page
My Self+Name,Nickname, Age2+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f25-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+Lesson plan unit Food, Drink, Sport and Games+ป.1+103+dltvengp1+P1 ...
ใบความรู้+Lesson plan unit Food, Drink, Sport and Games+ป.1+103+dltvengp1+P1 ...ใบความรู้+Lesson plan unit Food, Drink, Sport and Games+ป.1+103+dltvengp1+P1 ...
ใบความรู้+Lesson plan unit Food, Drink, Sport and Games+ป.1+103+dltvengp1+P1 ...Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+My self+ป.1+103+dltvengp1+P1 t1 myself
ใบความรู้+My self+ป.1+103+dltvengp1+P1 t1 myselfใบความรู้+My self+ป.1+103+dltvengp1+P1 t1 myself
ใบความรู้+My self+ป.1+103+dltvengp1+P1 t1 myselfPrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-4page
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-4pageใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-4page
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+การแยกสารเนื้อเดีวตอนที่ 1+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f13-4page
ใบความรู้+การแยกสารเนื้อเดีวตอนที่ 1+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f13-4pageใบความรู้+การแยกสารเนื้อเดีวตอนที่ 1+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f13-4page
ใบความรู้+การแยกสารเนื้อเดีวตอนที่ 1+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f13-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
My Self+Name,Nickname, Age+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f23-1page
My Self+Name,Nickname, Age+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f23-1pageMy Self+Name,Nickname, Age+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f23-1page
My Self+Name,Nickname, Age+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f23-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+จันทรุปราคราเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f16-1page
ใบความรู้+จันทรุปราคราเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f16-1pageใบความรู้+จันทรุปราคราเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f16-1page
ใบความรู้+จันทรุปราคราเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f16-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+เงามือ เงามัว+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f28-4page
ใบความรู้+เงามือ เงามัว+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f28-4pageใบความรู้+เงามือ เงามัว+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f28-4page
ใบความรู้+เงามือ เงามัว+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f28-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+จรวดเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f15-1page
ใบความรู้+จรวดเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f15-1pageใบความรู้+จรวดเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f15-1page
ใบความรู้+จรวดเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f15-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+การเกิดสารใหม่+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f09-1page
ใบความรู้+การเกิดสารใหม่+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f09-1pageใบความรู้+การเกิดสารใหม่+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f09-1page
ใบความรู้+การเกิดสารใหม่+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f09-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1page
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1pageใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1page
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+การจำแนกสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f03-...
ใบความรู้+การจำแนกสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f03-...ใบความรู้+การจำแนกสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f03-...
ใบความรู้+การจำแนกสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f03-...Prachoom Rangkasikorn
 

Viewers also liked (13)

ใบความรู้ทดสอบหลังเรียน ปรากฏการณ์เทคโนโลยีอวกาศ++ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p...
ใบความรู้ทดสอบหลังเรียน ปรากฏการณ์เทคโนโลยีอวกาศ++ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p...ใบความรู้ทดสอบหลังเรียน ปรากฏการณ์เทคโนโลยีอวกาศ++ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p...
ใบความรู้ทดสอบหลังเรียน ปรากฏการณ์เทคโนโลยีอวกาศ++ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p...
 
My Self+Name,Nickname, Age2+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f25-1page
My Self+Name,Nickname, Age2+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f25-1pageMy Self+Name,Nickname, Age2+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f25-1page
My Self+Name,Nickname, Age2+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f25-1page
 
ใบความรู้+Lesson plan unit Food, Drink, Sport and Games+ป.1+103+dltvengp1+P1 ...
ใบความรู้+Lesson plan unit Food, Drink, Sport and Games+ป.1+103+dltvengp1+P1 ...ใบความรู้+Lesson plan unit Food, Drink, Sport and Games+ป.1+103+dltvengp1+P1 ...
ใบความรู้+Lesson plan unit Food, Drink, Sport and Games+ป.1+103+dltvengp1+P1 ...
 
ใบความรู้+My self+ป.1+103+dltvengp1+P1 t1 myself
ใบความรู้+My self+ป.1+103+dltvengp1+P1 t1 myselfใบความรู้+My self+ป.1+103+dltvengp1+P1 t1 myself
ใบความรู้+My self+ป.1+103+dltvengp1+P1 t1 myself
 
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-4page
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-4pageใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-4page
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-4page
 
ใบความรู้+การแยกสารเนื้อเดีวตอนที่ 1+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f13-4page
ใบความรู้+การแยกสารเนื้อเดีวตอนที่ 1+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f13-4pageใบความรู้+การแยกสารเนื้อเดีวตอนที่ 1+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f13-4page
ใบความรู้+การแยกสารเนื้อเดีวตอนที่ 1+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f13-4page
 
My Self+Name,Nickname, Age+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f23-1page
My Self+Name,Nickname, Age+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f23-1pageMy Self+Name,Nickname, Age+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f23-1page
My Self+Name,Nickname, Age+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f23-1page
 
ใบความรู้+จันทรุปราคราเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f16-1page
ใบความรู้+จันทรุปราคราเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f16-1pageใบความรู้+จันทรุปราคราเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f16-1page
ใบความรู้+จันทรุปราคราเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f16-1page
 
ใบความรู้+เงามือ เงามัว+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f28-4page
ใบความรู้+เงามือ เงามัว+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f28-4pageใบความรู้+เงามือ เงามัว+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f28-4page
ใบความรู้+เงามือ เงามัว+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f28-4page
 
ใบความรู้+จรวดเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f15-1page
ใบความรู้+จรวดเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f15-1pageใบความรู้+จรวดเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f15-1page
ใบความรู้+จรวดเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f15-1page
 
ใบความรู้+การเกิดสารใหม่+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f09-1page
ใบความรู้+การเกิดสารใหม่+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f09-1pageใบความรู้+การเกิดสารใหม่+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f09-1page
ใบความรู้+การเกิดสารใหม่+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f09-1page
 
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1page
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1pageใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1page
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1page
 
ใบความรู้+การจำแนกสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f03-...
ใบความรู้+การจำแนกสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f03-...ใบความรู้+การจำแนกสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f03-...
ใบความรู้+การจำแนกสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f03-...
 

Similar to ใบความรู้+การสอนแบบบูรณาการ(A model of Integration)+ป.1+103+dltvengp1+21 integration

Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...aphithak
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยPiyatida Prayoonprom
 
เน็ตพูด
เน็ตพูดเน็ตพูด
เน็ตพูดpanneem
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59Natthapon Inhom
 
Readingcorner 120621045147-phpapp02
Readingcorner 120621045147-phpapp02Readingcorner 120621045147-phpapp02
Readingcorner 120621045147-phpapp02Ict Krutao
 
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 

Similar to ใบความรู้+การสอนแบบบูรณาการ(A model of Integration)+ป.1+103+dltvengp1+21 integration (20)

03 modelof integration+188
03 modelof integration+18803 modelof integration+188
03 modelof integration+188
 
04028 683
04028 68304028 683
04028 683
 
test
testtest
test
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Subject Description_Worksheet 2
Subject Description_Worksheet 2Subject Description_Worksheet 2
Subject Description_Worksheet 2
 
เน็ตพูด
เน็ตพูดเน็ตพูด
เน็ตพูด
 
จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
3 lang
3 lang3 lang
3 lang
 
Readingcorner 120621045147-phpapp02
Readingcorner 120621045147-phpapp02Readingcorner 120621045147-phpapp02
Readingcorner 120621045147-phpapp02
 
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 

More from Prachoom Rangkasikorn

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....Prachoom Rangkasikorn
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....Prachoom Rangkasikorn
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 

More from Prachoom Rangkasikorn (20)

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
 

ใบความรู้+การสอนแบบบูรณาการ(A model of Integration)+ป.1+103+dltvengp1+21 integration

  • 1. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 503 การสอนแบบบูรณาการ (A Model of Integration) ในการสอนแต่ละหน่วย แต่ละคาบ แต่ละวัน ต้องสอนโดยยึดเด็กเป็นศูนย์กลาง (Child’s Center) ให้เด็ก ได้ฟัง (Listening) พูด (Speaking) อ่าน (Reading) และเขียน (Writing) ไปด้วยกัน โดยใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร (Language for Communication) ภาษาและวัฒนธรรม (Language and Culture) ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น (Curriculum Connection) ตลอดจนภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก (Language and Community and Globalization) โดยให้เด็กได้คิดเอง ค้นคว้าเองตามหน่วยหรือเรื่อง (Child’s Thinking about Themes, Ideas and Values) ให้เด็กได้แสดงความคิดเห็น และเห็นคุณค่าของเรื่องและความงดงาม ตลอดจนวัฒนธรรมของภาษาที่กำ�ลังเรียน โดย มีครูคอยแนะนำ�จัดหาหนังสือ สื่อ และจัดประสบการณ์ต่างๆ ให้ การจัดกิจกรรมและประสบการณ์ต่างๆ อาจทำ�ได้ทั้งก่อนหรือหลังเรียนอ่านเขียน หรือระหว่างเวลาเรียนก็ได้ เช่น การเขียนควรสอนให้สัมพันธ์กับการพูด ส่วนการฟังและการอ่านก็เป็นเครื่องมือของการคิด เด็กจะแสดงความ คิดเห็นได้ดี ต้องมีสมาธิในการฟังและรักการอ่าน ซึ่งเป็นเครื่องมืออันสำ�คัญในการจะเขียนได้ดีด้วย การสอนภาษา ต้องฝึกทักษะ ดังนั้น การฝึกฟัง อ่าน พูด เขียน จึงจำ�เป็นมาก ครูที่สอนภาษาได้ดีต้องสอนให้สัมพันธ์กับชีวิตประจำ�วัน ดึงเอาสิ่งที่เด็กสนใจ กิจกรรมที่มีในชุมชน เช่น เด็กพบเห็นนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ โฆษณา และข้อความจากสื่อ จากบุคคลสำ�คัญต่างๆ มาพูดคุยกับเด็กเป็นภาษาอังกฤษ อย่าลืมว่าคุณครูเองต้องฝึกทักษะเหล่านี้ไปพร้อมๆ กับเด็ก และ ให้รู้มากกว่าเด็ก จนใช้ได้โดยอัตโนมัติ การสอนโดยยึดเรื่องราว (theme) เป็นหัวใจของการจัดเสริมสื่อการสอนให้สนุกสนาน แต่ต้องไม่ลืมให้เด็ก ได้ฝึกทักษะ ฟัง พูด อ่าน เขียน โดยจัดกิจกรรมที่น่าสนใจ เพื่อให้การเรียนนั้นมีความหมาย (meaningful) กับชีวิต ประจำ�วันของเด็ก การเลือกเรื่อง หรือหนังสือ ให้เด็กเรียนจึงสำ�คัญมาก นอกจากเรื่องที่หลักสูตรกำ�หนดไว้เป็นหัวข้อ กว้างๆ แล้ว คุณครูควรจะถามเด็กด้วยว่าเด็กอยากเรียนเรื่องอะไร ถ้าเป็นโรงเรียนปลายทางขอให้แจ้งกลับมา เพื่อ ผู้เขียนแผนฯ จะได้ค้นคว้า เรียบเรียง เป็นคู่มือให้ในเล่มต่อไป การแสดงความคิดเห็นของเด็กทุกครั้งที่เรียน นอกจากการ พูด เขียน แสดงความคิดแล้ว ควรฝึกให้เด็กเขียนผังมโนทัศน์ ตาราง แผนที่ง่ายๆ ฯลฯ (webs, charts and other graphics etc.) เพื่อเป็นการสื่อความหมายที่รวดเร็ว ชัดเจน ทันสมัย ทันโลก เป็นสากล Child’s Thinking About Ideas, Themes and Values LISTENING SPEAKING READING WRITING
  • 2. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 504 การเริ่มสอนด้วยการระดมความคิด (brainstorm) ควรได้ฝึกทุกชั่วโมง แต่ครูต้องไม่คาดหวังสูง และต้องใจเย็น รอคำ�ตอบข้อมูลจากเด็กๆ โดยทั่วถึง ให้ทุกคน ทุกกลุ่ม ได้มีส่วนร่วม แม้เป็นการถามนำ�ก็ยังดี เด็กจะได้ฝึกพูดโต้ตอบ บทสนทนาที่เจ้าของภาษาใช้ง่ายๆ จนติดปาก รวมทั้งมรรยาท และวัฒนธรรม (Pardon me!, Excuse me!, I’m sorry, Thank you, You’re welcome etc.) การสอนในห้องเรียนและในโรงเรียนต้องสัมพันธ์กับชีวิตประจำ�วันนอกโรงเรียน ที่บ้าน โดยอัตโนมัติ เช่น ถ้ามีเหตุการณ์ใดเกิดขึ้น เพื่อนป่วย โรคหวัดระบาด ฯลฯ ครูควรนำ�เหตุการณ์นั้นมาสอน เชื่อมโยงกับบทเรียนทันที การให้นักเรียนทำ�โครงงานง่ายๆ เกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียนเป็นการบ้าน ช่วยให้เด็กๆ มีเรื่องอภิปราย แสดงความคิดเห็น ได้มากขึ้น และสนุกสนานด้วย คุณครูเองยังอยากสอน และสอนได้สนุกสนานเมื่อเตรียมตัวมาเต็มที่ เด็กๆ ก็เช่นเดียวกัน เมื่อคุณครูให้การบ้านเด็ก ครูจึงควรทำ�การบ้านไปพร้อมกัน แต่ต้องใจเย็น ให้เด็กได้แสดงความคิดเห็นก่อน คำ�พูดที่ คุณครูควรพูดกระตุ้นเด็ก เช่น “Try looking back…” หรือ “Think about it (it อาจเป็นหนังสือหรือประสบการณ์ที่ครู ให้ไปศึกษา ค้นคว้าในเรื่องนั้นๆ เป็นการบ้านก็ได้) การสอนแบบนี้เรียกว่า สอนให้สัมพันธ์กับชีวิตประจำ�วัน (Connecting the Curriculum to Children’s Daily Lives) สอนอย่างไรเด็กจึงจะเป็นคนรับผิดชอบและมีอิสระ เด็กไทยรับคำ�สั่งจนเคยชิน แต่เด็กรุ่นใหม่เขาชอบแสดงออกมากขึ้น ซึ่งขึ้นอยู่กับเทคนิคการสอนของครู ครู ต้องไม่ยึดติดกับการสอน อ่าน และเขียน ครูต้องให้อิสระทางความคิดแก่นักเรียน แต่สอนให้เขาคิดในทางสร้างสรรค์ รู้จักฟังความคิดเห็นผู้อื่น ครูควรให้เด็กเลือกหนังสือ หรือเรื่องที่น่าสนใจอ่านเอง โดยไม่กำ�หนดเรื่องให้อ่าน ฝึกเป็น นักเขียนน้อย ฝึกบันทึกประจำ�วัน ฝึกเขียนคำ�คล้องจองง่ายๆ คำ�ขวัญ ฯลฯ นอกจากนี้ ครูควรใช้สื่อเทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น วิดีโอเทป เทป ภาพยนตร์ คอมพิวเตอร์ ช่วยให้เด็กได้เรียนรู้ภาษาบ้าง เป็นครั้งคราว เพื่อเปิดโลกทัศน์ให้กว้างขวางขึ้น แต่ต้องมีการแสดงความคิดเห็น และวิจารณ์ร่วมกันระหว่างครู เด็ก และพ่อแม่ การส่งเสริมให้เด็กอ่าน เลือกหนังสือ วิดีโอ ให้เป็น ยังเป็นการส่งเสริมความคิดและคุณค่าของผู้อ่านและผู้ดูด้วย ครูอาจตั้งคำ�ถามนำ� เช่น What is fairness? What is courage? What is good or bad? การส่งเสริมให้เด็กอ่านหนังสือที่ดีๆ ไม่เพียงแต่ทำ�ให้เด็กรักการอ่านเท่านั้น แต่ยังส่งเสริมให้เด็กมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลด้วยความงดงามของภาษา ช่วยให้เด็กคิดเป็น และเขียนได้สละสลวย การเลือกหนังสือดีๆ อ่าน มีความสำ�คัญมาก พ่อแม่ ครู ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับเด็กควรคำ�นึงถึงความสำ�คัญข้อนี้ จึงควรจัดมุมหนังสือ ห้องสมุดไว้ในบ้าน ผู้ใหญ่ที่เติบโตมากับหนังสือหลายๆ คนประสบความสำ�เร็จในชีวิต ต้องไม่ลืม ข้อนี้ หนังสือที่เด็กสนใจคือหนังสือที่เกี่ยวกับเด็ก และมีโครงเรื่องที่อยู่ในความสนใจของเด็ก ทำ�ให้ตื่นเต้นและอยากรู้ อยากเห็น เช่น เรื่องเกี่ยวกับการผจญภัย ความคิดฝัน และมีความหมายกับเด็ก ผู้แต่งที่ใช้ภาษา สละสลวย เช่น พวกนิยาย ตำ�นาน เรื่องราวเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เรื่องจริง บทละคร ฯลฯ โดยเฉพาะหนังสือที่ขายดี เป็นที่นิยมของเด็ก และเยาวชน ที่นักวิจารณ์ บรรณารักษ์ พ่อแม่ และครู ช่วยกันกลั่นกรอง และแนะนำ� หนังสือภาษาอังกฤษมีมากมาย คุณครูควรเสนอให้พ่อแม่ผู้ปกครองสะสม และบริจาคให้ห้องสมุดโรงเรียน เพื่อเด็กๆ จะได้มีหนังสือดีๆ อ่าน ผู้เขียนได้รวบรวมรายชื่อหนังสือที่จัดหาไว้ให้เด็กๆ อ่าน พอเป็นตัวอย่าง ดังนี้ The Three Little Pigs Adapted by Milt Banta and AL Dempster ของ Walt Disney’s a Little Golden Book The New Puppy by Kathleen N. Daly a Little Golden Book
  • 3. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 505 Dumbo Adapted by Teddy Stater; Walt Disney’s a Little Golden Book A Sleepy Story by Elizabeth Burrowes, a Little Golden Book A Day in the Park by Ronne Peltzman a Little Golden Book Cats by Joanne Ryder a Little Golden Book Lady and the Tramp Adapted by Teddy Slater, Walt Disney’s a Little Golden Book Ready, Set, Grow! by Nancy Buss a Little Golden Book Winnie the Pooh and Tigger too by Walt Disney’s Random House The Bear’s New Baby by Joan Elizabeth Goodman, A Golden Book Jack and the Beans talk by Stella Williams Nathan a Little Golden Book Winnie the Pooh and the Missing Bullhorn by Michael Teitelbaum Walt Disney’s A Golden Book Donald Duck’s Toy Sailboat Walt Disney’s by Annie North Bedford; a Little Golden Book Bambi Walt Disney’s by Felix Salten a Little Golden Book The Party Animals Come Celebrate by Martin Lemelman Modern Publishing The Party Animals Colorful Picnic by Martin Lemelman Modern Publishing Who Took the Farmer’s Hat? by Joan L. Nodset Oh, A-Hunting We Will Go by John Langstaff What Can You Hear? by Angela Litter ชุด SESAME STREET. a Little Golden Book etc. มีหลายเรื่อง
  • 4. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 506 และมีหนังสือที่พิมพ์ในท้องตลาดใหม่ๆ อีกมากมายที่โรงเรียนอาจเลือกเป็นหนังสืออ่านประกอบ หรือ เสริมบทเรียนให้เด็ก ป. ๑ - ป. ๖ ได้เช่นกัน ในการเรียนการสอน เราอาจนำ�บางตอนมาเขียนแผนการสอนได้ แต่ควรเขียนอ้างถึงหนังสือเล่มนั้นๆ หรือ ชุดนั้นๆ ด้วย เป็นมารยาทที่ควรสอนเด็กในการเขียนรายงาน และการทำ�โครงงาน การจัดกิจกรรมการสอน พูด และฟัง เป็นกิจกรรมที่สอนยากสำ�หรับเด็กไทย เพราะโอกาสในการฟังและพูด แต่เดิมมา มีน้อยมากสำ�หรับภาษาอังกฤษ เพราะเรามีภาษาไทยเป็นภาษาประจำ�ชาติ แต่เดิมมาเราจึงเรียนอ่าน - เขียน เป็นส่วนใหญ่ เพื่ออ่านตำ�รา และหาความรู้เพิ่มเติม แต่ปัจจุบันโลกแคบเข้า สื่อต่างๆ ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลาง เช่น อินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ ภาพยนตร์ ฯลฯ นอกจากการพูด และฟัง เป็นการแสดงความคิดเห็นที่เราถ่ายทอดได้ทันที หลังจากการเรียนรู้ เด็กๆ มีโอกาสฟัง และได้ยินความรู้จากสื่อต่างๆ มากขึ้น การพูดเป็นการสื่อความหมาย และ การแสดงออกที่สำ�คัญของหลายๆ อาชีพ อาชีพที่เกี่ยวข้องกับการพูดมีความสำ�คัญและมีรายได้มากขึ้น เช่น อาชีพ นักแสดง พิธีกร นักการเมือง นักพูด และเป็นอาชีพที่เด็กและเยาวชนสนใจมากขึ้นด้วย กิจกรรมการพูดและฟัง เราควรจัดให้เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับการอ่านวรรณคดี หรือเรื่องราวต่างๆ เพื่อให้การ พูดนั้นมีความรู้ ความคิด มีมาตรฐานในทางความคิดวิเคราะห์สร้างสรรค์ พอๆ กับความรู้ ความจำ�เรื่องราว นอกจากนี้ การพูดยังใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารและปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้างอีกด้วยกิจกรรมจึงต้องจัดอย่างหลากหลายสนุกสนาน ไม่น่าเบื่อ ให้มีทั้งการแสดงบทบาทสมมติ (role-playing) การอภิปรายเป็นกลุ่ม การสัมภาษณ์ การรายงานหน้าชั้น การแสดงละคร การเชิดหุ่น ข้อสำ�คัญคุณครูต้องจัดกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ ให้มีความหมายต่อเด็ก นอกจากนี้ การพูดและการฟังควรได้ฝึก และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การอ่านทำ�นองเสนาะ คำ�ประพันธ์พวก Rhymes, poems, poetry ทั้งอ่านพร้อมกัน อ่านเป็น กลุ่ม อ่านจับคู่ (Pains Work) เป็นเรื่องจำ�เป็นในการฝึกทักษะทางภาษา เกม เพลง มีส่วนช่วยให้เด็กมีความสุขใน การเรียน และอยากเรียนมากขึ้น การสอนเขียน การสอนเขียนอ่านวรรณคดีและเรื่องราวต่างๆ ต้องไปด้วยกัน และควรจัดกิจกรรมส่งเสริม การเขียนอ่านเช่นเดียวกัน ดังตัวอย่างในผังมโนทัศน์ในแผนการสอน หลังจากมีการระดมความคิด (brainstorm) อภิปราย (discuss) สัมภาษณ์ (interview) ซึ่งเป็นขั้นฝึกพูดแล้ว นักเรียนจะต้องเขียน (write) ลงสมุด เขียนผังความคิด (Webs) เขียนรายงาน (report) แต่งเรื่อง แต่งคำ�คล้องจอง กลอน เพลง (make up a short story, rhymes, poems and songs) การแสดงความสามารถ ความรู้สึก ความคิดเห็น ตลอดจนเรื่องราวความรู้ต่างๆ ได้ ช่วยให้เด็กเกิดความเชื่อมั่น ในตัวเอง และสามารถเขียนเรื่องราวต่างๆ ตามความสามารถ ความรู้ และประสบการณ์ของตนเองจนเป็นผู้ประสบ ความสำ�เร็จได้ในที่สุด การเขียนช่วยให้นักเรียนใช้ภาษาได้และถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นรู้ได้ตามที่ต้องการ ซึ่งจะช่วยให้ เป็นผู้ที่ประสบความสำ�เร็จในอนาคต การสอนแบบเด็กเป็นศูนย์กลาง และสอนให้คิดเป็น การสอนภาษาในปัจจุบัน เราไม่ได้สอนเฉพาะภาษา แต่ ต้องสอนให้เด็กมีความคิดอ่านที่เหมาะสมกับวัย ทันโลก ทันสมัย การเรียนวรรณคดี (Literature) เป็นการเรียนเพื่อ ให้เกิดความคิดที่สำ�คัญๆ เกิดความคิดหลากหลาย แลกเปลี่ยนความรู้ รู้จักคิดพิจารณา รู้จักใช้วิจารณญาณตัดสิน ข้อเท็จจริง และปัญหาต่างๆ ได้ เพราะครูสอนให้เด็กคิด แต่ไม่ได้บอกวิชา สื่อต่างๆ ที่ครูจัดหรือให้เด็กร่วมกันทำ� เพื่อให้เกิดความคิดต่อเนื่องเป็นกระบวนการ เมื่อเด็กได้อ่านเกิด คำ�ถาม เกิดความคิด วิเคราะห์ ทดลอง วัดผล ประเมินผล กระบวนการเหล่านี้จะเกิดผลชัดเจน และกระตุ้นความสามารถ การเรียนรู้ของเด็กได้ตั้งแต่ ป. ๑ - ป. ๖ การที่เด็กจะรู้จักคิดวิเคราะห์ได้ด้วยตนเองนั้น จะต้องฝึกตั้งคำ�ถาม ถามตนเอง
  • 5. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 507 ก่อนถามผู้อื่น แล้วฝึกตอบค้นคิดหาเหตุผล ข้อมูลด้วยตนเอง จากการอ่าน การทดลองประสบการณ์ ซึ่งขึ้นอยู่กับ การจัดกระบวนการเรียนการสอนของครู (และนักเรียนร่วมกัน) นอกจากนี้ ในการอ่านนักเรียนจะต้องรู้จักจุดประสงค์ หรือวางเป้าหมายว่าต้องการอะไร คือพูดง่ายๆ รู้จักวางแผน จะอ่านหนังสืออะไรบ้าง อยากรู้เรื่องอะไร อ่านแล้วรู้อะไร เพิ่มขึ้น มีเทคนิค/ยุทธศาสตร์ (Strategies) ในการอ่านอย่างไร พฤติกรรมในการอ่านที่ใช้ เช่น การตั้งคำ�ถาม การติ - ชม การวางจุดมุ่งหมาย เหล่านี้ล้วนเป็นการพัฒนาการอ่านให้ดีขึ้น ได้ประโยชน์จากการอ่านให้มากที่สุด และอย่าลืมมีสมุด คู่มือการอ่านจดไว้กันลืม เพื่อจะนำ�ไปใช้ในการเขียนต่อไป การเริ่มต้นการอ่าน ควรเลือกหนังสือที่สนใจมากที่สุดก่อน คุณครูพยายามศึกษาเด็กเป็นรายบุคคลว่าเขาสนใจ เรื่องอะไร เช่น เด็กคนหนึ่งอาจเลือกเรียนเรื่องเกี่ยวกับกีฬา อีกคนอาจเลือกนิยายวิทยาศาสตร์ (science fiction) อ่านแล้ว อาจแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน เด็กที่อ่านเรื่องกีฬาอาจสนใจประวัตินักกีฬาคนสำ�คัญๆ เด็กที่อ่านนิยายวิทยาศาสตร์อาจอยาก อ่านเรื่องวิทยาศาสตร์ที่ไม่ใช่นิยายต่อก็ได้ เด็กที่ยังไม่พร้อมและยังไม่แสดงออกความสนใจ ครูก็คอยถามว่าสนใจอะไร จะอ่านอะไร ชอบอะไร แล้วส่งเสริมให้ค้นคว้าหนังสืออ่านในห้องสมุด ไม่ช้าไม่นานอาจพบสิ่งที่เขาสนใจจนได้ เพื่อจะให้ทราบว่าหนังสืออะไรบ้างที่เหมาะสมกับเด็ก ควรมีการจัดสัมมนาครูภาษาอังกฤษ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับครูบรรณารักษ์เป็นครั้งคราว กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน แต่ละโรงเรียนควรมีโครงการส่งเสริมการอ่าน เช่น “หยุดทุกงาน อ่านทุกคน” แล้ว ควรมีการส่งเสริมการอ่าน ในใจ (Silent Reading) และอ่านออกเสียง (Reading Aloud) ช่วยวางแผนกับเด็กๆ ว่า เมื่อไรควรอ่าน และอ่านหนังสือ ได้ที่ไหนบ้าง เช่น อ่านตอนเช้าก่อนเข้าเรียน และหลังเลิกเรียน หลังอาหารกลางวันหรือหลังอาหารเย็น อ่านเป็นช่วง สั้นๆ โดยจัดตารางการอ่าน และจุดมุ่งหมายการอ่านไว้พร้อมบันทึกส่งครู หรือรายงานหน้าชั้นเรียน คุณครูเองควรอ่านเป็นตัวอย่างแก่เด็ก ตามตารางเวลาที่เด็กช่วยกันจัด การอ่านหนังสือเด็กทำ�ให้พูดคุยกับเด็ก เข้าใจกันมากขึ้น ควรร่วมมือกับครูบรรณารักษ์และฝ่ายบริหารจัดมอบรางวัลให้นักเรียนที่อ่านได้มากเล่ม และสามารถ เล่าและแสดงความคิดเห็นให้เพื่อนๆ ฟังหน้าชั้น และหน้าแถวนักเรียนได้ดี ตัวอย่าง การสอนความเข้าใจภาษา (Comprehension Instruction) ขั้นที่ ๑ ให้เล่าหรือบอกเกี่ยวกับทักษะที่เป็นตัวอย่างที่เห็นจริง หรือประสบการณ์ตอนต้นๆ หรือ อันดับแรก ขั้นที่ ๒ ให้คำ�จำ�กัดความและสาธิตทักษะทางภาษา ขั้นที่ ๓ ลงมือปฏิบัติจริงด้วยความช่วยเหลือของครู ขั้นที่ ๔ ปฏิบัติตามลำ�พัง/อย่างอิสระ คุณครูสอนให้แต่งเรื่อง หรือเขียนเรื่อง ตามตัวอย่างกระบวนการเขียน ทำ�ไปตามขั้นตอนทีละขั้นพร้อมๆ ครู ลองดูตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่าง การเขียนบทอภิปราย ขั้นที่ ๑ เริ่มโดยให้ทุกคนอ่านบทที่เขียนให้ฟัง เขียนบทโต้ตอบย่อๆ ขั้นที่ ๒ ลองตั้งคำ�ถามเป็นตัวอย่าง เพื่อให้เด็กคิดถามตัวเอง – Had anything like this ever happened to you before?
  • 6. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 508 – Did you like it? – How did you feel? ขั้นที่ ๓ ตั้งข้อสังเกต กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น – I think it’s good for you. – I think it’s surprising. etc. เรียนจากสิ่งที่รู้ และให้เกิดความคิดที่อิสระ ก่อนเรียนครูต้องทดสอบ (Pre-Test) เพื่อทราบพื้นฐานความรู้ของเด็ก และควรให้เด็กอภิปราย (discuss) เพื่อทราบความคิดเห็นและพื้นความรู้ ความคิด ให้มีการเตรียมการอ่าน (Prereading) เตรียมการเขียน (Prewriting) ด้วย กิจกรรมต่างๆ เช่น ถาม - ตอบ ระดมความคิด ให้เขียนอะไรก็ได้ส่งครู เพื่อจะได้เรียนจากสิ่งที่รู้แล้ว ไปหาสิ่งที่ยังไม่รู้ เรียนจากรูปธรรม ไปสู่นามธรรม มีคุณครูหลายคนเล่าว่า เด็กสนใจรูปวาด หรือสื่อที่เด็กวาดหรือสร้างเองมากกว่าสื่อสวยๆ ที่ครูเตรียมมาให้ การจัดหัวข้อให้นักเรียนเรียนหรือจัดกิจกรรมให้นักเรียนทำ� ควรคำ�นึงถึงความสนใจ และความต้องการของเด็กเป็น สำ�คัญ รวมทั้งให้เด็กมีส่วนร่วมในการคิดแบบหรือบทของกิจกรรมเหล่านั้น การพัฒนาการอ่าน โดยให้เด็กตั้งคำ�ถาม ติชม แก้ไข และวางจุดประสงค์การเรียนด้วยตนเอง จะทำ�ให้เด็กตระหนักในวิธีการและการใช้สื่อ เครื่องมือในการเรียนรู้ ได้ด้วยตนเอง การกระตุ้นให้เด็กตั้งคำ�ถาม ครูควรกระตุ้นให้เด็กตั้งคำ�ถามก่อนอ่าน ระหว่างอ่าน และหลังการอ่าน และเขียนด้วยตนเอง เช่น เหตุการณ์สำ�คัญตอนที่ ๑ เป็นอย่างไร เหตุการณ์ต่อไปในอนาคต เป็นอย่างไร การแต่งเรื่องควรวางโครงเรื่องก่อน อาจเขียนเป็นผังความคิดก็ได้ แล้วจึงเรียบเรียงตามโครงเรื่อง หรือผังความ คิดหลัก ความคิดรอง ความคิดย่อย การใช้ผังความคิด แผนที่ หรือตาราง เขียนประกอบการสื่อความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน และ รวดเร็ว ครูควรสอนให้เด็กใช้ผังความคิด (The Mind Mapping or Webs) แผนที่ (Maps) และตารางกราฟิกอื่นๆ (Graphic Aids) ช่วยวางแผนในการแสดงข้อมูลในการอภิปราย ระดมความคิดก่อนอ่านและเขียน และแนะนำ�ศัพท์ ต่างๆ ให้เด็กคิดเองว่าควรจะใช้สื่ออะไรช่วย การสอนภาษาสัมพันธ์กับกลุ่มสาระ คุณครูอาจสอนภาษาบูรณาการกับกลุ่มสาระอื่นๆ เช่น วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และอื่นๆ เพราะเราให้เด็กเรียนเพื่อแสดงความคิดเห็น มากกว่าเพื่อความจำ� กระบวนการจัดการเรียนรู้ ทุกกลุ่มสาระ มีเป้าหมายหลักตรงกัน การสอนภาษาให้เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำ�วัน มีความจำ�เป็นอย่างยิ่งที่ต้องได้รับความร่วมมือจากพ่อแม่ ผู้ปกครอง ให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในงานของเด็ก เพราะพ่อแม่เองก็ต้องการรู้ว่าเด็กเรียนอะไรบ้าง เรียนได้ไม่ได้อย่างไร ทำ�ไมเด็กทำ�การบ้านไม่ได้ หรือทำ�ไมคุณครูไม่ให้การบ้าน คุณครูควรให้เด็กฝึกเขียนรายงานถึงผู้ปกครอง ถ้าเป็นเด็กเล็ก
  • 7. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 509 ก็รายงานด้วยภาพ ตัวหนังสือน้อยๆ ถ้าเป็นเด็กโต เขียนรายงานประกอบภาพ แฟ้มรายงานผลงาน (Portfolio) มีความ จำ�เป็น ควรเชิญผู้ปกครองเป็นวิทยากรในห้องเรียน และมีการประชุมอย่างสมํ่าเสมอสื่อการเรียนบางอย่าง ผู้ปกครอง ควรมีส่วนร่วมในการช่วยคิด ช่วยทำ� จะได้เข้าใจปัญหาและร่วมแก้ปัญหากับครู การเรียนแบบมีส่วนร่วม การเรียนแบบนักเรียนมีส่วนร่วมกับครู เป็นหัวใจของการเรียนรู้ การเรียนแบบมีส่วนร่วม เน้นการทำ�งาน เป็นกลุ่ม/ทีม เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การเรียนการทำ�งานเป็นกลุ่ม ได้ผลกว่าการเรียนตามลำ�พัง/รายคน กลุ่มที่ เหมาะสม แล้วแต่กิจกรรม ตามปกติกลุ่มละ ๔ - ๕ คน กำ�ลังพอเหมาะ กลุ่มที่จัดควรเป็นกลุ่มคละกัน ทั้งความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เพศ ให้รู้จักตั้งชื่อกลุ่ม นั่งรวมกลุ่ม (จัดโต๊ะ) ควรเปลี่ยนกลุ่มทุกเดือน ช่วยให้เด็กได้ปรับ ตัวเอง และควรจัดกิจกรรมให้กลุ่มเข้าใจจุดมุ่งหมายอย่างชัดเจนตรงกัน กลุ่มที่ดีครูควรช่วยเหลือให้น้อยที่สุด (หลังจาก การปรับตัว และการเรียนรู้ซึ่งกันและกันแล้ว) การเขียน กลุ่มเก่งไม่เพียงแต่ช่วยตัวเองได้ดี วิเคราะห์ วิจารณ์งานได้เท่านั้น แต่ควรทบทวนงานเขียนของตนเอง และ ช่วยเพื่อนที่ยังไม่พร้อมได้ด้วย การทำ�งานเป็นกลุ่ม เพื่อให้ทุกคนในกลุ่มช่วยเหลือกัน รู้จักแบ่งงานกันทำ� ไม่เห็นแก่ตัว เรียนรู้ซึ่งกันและกัน ถ่ายทอดสิ่งที่ดีให้กัน ช่วยแก้ไขจุดบกพร่องกันและกัน ควรฝึกร่างเขียนก่อน แล้วให้กลุ่มอ่านออกเสียงเพื่อช่วยกันแก้ไข ทบทวน แล้วช่วยกันร่างข้อเขียนใหม่ แล้ว ช่วยกันตรวจทาน ถ้างานที่ทำ�สำ�เร็จได้ผลดี กลุ่มหรือชั้นเรียนควรให้กำ�ลังใจซึ่งกันและกัน อ่านบทความนั้นดังๆ และ จัดป้ายนิเทศ การอ่าน หลังจากอ่านในใจ ทุกคนควรอ่านออกเสียง ไม่ดังนัก แต่แสดงความซาบซึ้ง อ่านทีละประโยค/ย่อหน้า เพื่อ ฝึกการอ่านไปด้วยกัน กลุ่มช่วยกันแก้ไข คำ�ผิด คำ�อ่านไม่ชัด ขั้นสุดท้าย นักเรียนอาจต้องช่วยกันย่อความหรือสรุปใจความ (Summarizing) ถ้าเป็นความเรียง (non-fiction) ควรอ่านจับใจความและความคิดให้ได้ ถ้าเป็นนวนิยาย (Fiction) ให้จับอุปนิสัยตัวละคร เป้าหมาย และพยายามสรุป เรื่องราว การอ่านจับใจความ ช่วยให้สามารถเข้าใจเรื่องราวได้ดีและเร็วขึ้น ครูควรให้แบบฝึกหัดหลังจากนักเรียนเรียน แบบฝึกหัดนั้นควรเป็นแบบฝึกที่เสริมให้เด็กเข้าใจบทเรียนได้ ดีขึ้น การทำ�งานเป็นกลุ่มให้เพื่อนช่วยเพื่อน ช่วยกันถามตอบ ผลัดกัน หลังจากทำ�แบบฝึกหัดเสร็จแล้ว ให้ทุกคนได้ ตอบคำ�ถามปากเปล่าจนเข้าใจเรื่องราวทั้งหมดที่เรียนมา การตอบคำ�ถามนี้ควรตั้งเป้าไว้ว่าจะต้องได้ประมาณร้อยละ 90 คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มไม่ควรตํ่ากว่าร้อยละ ๘๐ - ๘๙ ครูควรให้ดาวหรือเครื่องหมายแทนรางวัล ต่อจากนั้นครูควรให้เด็กฝึกคำ�ศัพท์ อย่างน้อย ๒ หน้าต่อหน่วยการเรียน แต่เมื่อเรียนจบเทอมหนึ่ง หรือปีหนึ่ง ต้องได้ตามหลักสูตรกำ�หนด
  • 8. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 510 ตัวอย่างการเรียนคำาศัพท์ (Spelling Words) หน่วยที่.............................................. สะกดคำา : Words with c, k, and ck back keep neck cup kid sick Discover the Spelling Pattern – Read the words the words in the box. How is the sound /k/ in kite spelled in the words? Write the words in the columns belows. Words with c or k words with ck 1. cup 4. back 2. keep 5. neck 3. kid 6. sick Sum up the sound /k/ in kite may be spelled c..... k..... or .....ck Spelling and meaning – Write the sentences by use these words:- cup, keep, kid, back, neck, sick การฝกคำาศัพท์ ก่อนฝึกควรทดสอบ (Pre-test) ก่อน เพื่อให้เด็กสังเกตคำาและให้แก้คำาผิดด้วยตนเอง ครูช่วยแนะนำาวิธี สังเกตการสะกดคำา ทำาไมถึงเขียนผิด เพราะเหตุใด อ่านออกเสียง เพื่อสังเกตการสะกดคำา นักเรียนเรียนสะกดคำาด้วย วิธีต่างๆ ไม่ใช่ให้จำากฎ การฝึกสังเกต อ่าน เขียน ออกเสียงคำาเหล่านั้นให้ถูก ช่วยให้เข้าใจความหมาย และสะกดได้ถูกต้อง หน่วยที่.............................................. สะกดคำา (Spelling) : Choose Your Own Words – Choose words from Reviewing Vocabulary and your own writing that you think are hard to spell. – Write the words on the lines below. 1. ........................................................................................................................... 2. ........................................................................................................................... 3. ........................................................................................................................... 4. ........................................................................................................................... 5. ........................................................................................................................... 6. ...........................................................................................................................
  • 9. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 511 Practice your own words – Write the words listed above again. 1. ........................................................................................................................... 2. ........................................................................................................................... 3. ........................................................................................................................... 4. ........................................................................................................................... 5. ........................................................................................................................... 6. ........................................................................................................................... Work with a Partner – Talk with a partner about making up a funny TV show. Who will be the star? – Then together write a few sentences telling about your funny show. Try to use words from the spelling lists. ข้อสังเกต : ในการเขียน หรือแต่งประโยค พยายามใช้ศัพท์ที่เลือกมาเรียน และฝึกสะกด ถ้ามีคำ�ที่ยังเขียนผิด ให้นำ�มา ทบทวนด้วยตนเองอีกครั้ง ในการฝึกคำ�ศัพท์แต่ละครั้งคุณครูควรถามนักเรียนว่าอยากฝึกสะกดคำ�อะไร อย่างน้อยครึ่งหนึ่ง ของคำ�ศัพท์ ควรให้เด็กคิดเอง ก่อนเรียนเรื่องใด นักเรียนและครูควรสนทนากันเกี่ยวกับความหมาย ความคิดเห็น และเรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับ เรื่องนั้นๆ เพื่อให้เด็กเกิดความคิดรวบยอด (Concept) และเข้าใจโครงเรื่อง (Content) รวมทั้งเห็นคุณค่าในการเรียนเรื่อง นั้นๆ เนื่องจากเป็นกลุ่มสาระภาษาอังกฤษ จึงขอเรียบเรียงเป็นภาษาอังกฤษที่อาจเข้าใจได้ง่ายๆ คำ�ศัพท์เหล่านี้ ขอให้คุณครูพูดให้เด็กฟังบ่อยๆ เพราะกิจกรรมที่เด็กเรียนแต่ละหน่วยจะมีคำ�ศัพท์ที่ซํ้าๆ กัน การเรียนทุกหน่วย มีเป้าหมายหลัก (Central Goal) ที่ประกอบด้วยเรื่อง (Theme) ความคิดต่างๆ (Ideas) และคุณค่า (Values) ในหน่วยที่ ๑ นักเรียนเรียนเรื่องเกี่ยวกับตัวเองและอื่นๆ (Learning about oneself and others) ซึ่งมีครอบครัว (Family) บ้าน (Home) และโรงเรียน (School) เพื่อน (Friends) รางวัล (Prizes) สัตว์เลี้ยง (Pets) ได้เขียนแผนเป็น Mind Mapping เป็น ตัวอย่างไว้ ๒ เรื่อง คือ Friends และ Prizes ส่วนแผนอื่นๆ คุณครูอาจสอนเพิ่มเติมตามความสนใจของนักเรียน และตามความเหมาะสม บางแผนก็สอน ไปบ้างแล้ว ในเทอมต้น ถ้าคิดว่ายังมีกิจกรรมที่น่าสนใจก็นำ�มาสอนเพิ่มเติมได้ เรียบเรียงโดย คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ กรรมการบริหารและประธานคณะทำ�งาน โรงเรียนวังไกลกังวล