SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
หนังสือเรียนวิชา สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
รายวิชา พท.12001 จานวน 1 หน่วยกิต
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
บทที่ 1
หลักการและความสาคัญของการสื่อสาร
สาระสาคัญ
ศึกษาเรียนรู้ เข้าใจถึงหลักการและความสาคัญของการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
อธิบายหลักการและความสาคัญของการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
ขอบข่ายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 หลักการของการสื่อสาร
เรื่องที่ 2 ความสาคัญของการสื่อสาร
เรื่องที่ 1 หลักการของการสื่อสาร
หลักกวาง ๆ ในการสื่อสารใหมีประสิทธิผลสูงสุด ไดแก
ความถูกตองนาเชื่อถือ
ความถูกตองนาเชื่อถือในที่นี้มีความหมายถึงความถูกตองนาเชื่อถือของสารและของบุคคลผูสงสารหรือแหลง
สารดวย
ความนาเชื่อถือของแหลงสารขึ้นกับลักษณะหลายประการ ไดแก
1) ความรู และประสบการณของผูสงหรือแหลงสารเกี่ยวกับเนื้อหาสาระที่สื่อสารกัน
บุคลิกภาพของผูสงสาร การมี บุคลิกดี มีผลตอความเชื่อถือตอสารมาก เชน ผูที่ดูเปนผูใหญ มั่นคง จริงจัง เปนหลักฐาน ย
อมนาเชื่อถือกวาผูที่ดูหลุกหลิก ไมจริงใจ หรือคนที่มีลักษณะ “กะลอน”
2) การมีคุณสมบัติที่สอดคลองสัมพันธกับเนื้อหาของสารมาก เชน คนที่จะเปนตัวแทนจาหนายเครื่องสาอาง ควรมีหน
าตาผิวพรรณงดงาม ชางกอสรางหรือสถาปนิก วิศวกรเหมาะที่จะโฆษณาวัสดุกอสราง หรือแมบานเหมาะสาหรับ
โฆษณาผงซักฟอก เปนตน
3) วิธีการสื่อสารก็มีผลต อความเชื่อถื อ แมผูสงสารจะมีฐานะตาแหนงสูง มีการศึกษาดีและเปนผูเชี่ยวชาญในเรื่องนั้น
โดยตรง แตสื่อสารในสิ่งที่ขัดกับประสบการณตรงของผูรับก็ยอมไมอาจทาใหเชื่อถือได เชน ผูปวยปวดทองแพทยตรวจ
แลวบอกวา “ไมเปนไร” ผูปวยก็ไมเชื่อเพราะอาการปวดทองยังคงอยูและบอกไดวา “เปนไร” การใชคาวาไมเปนไรจึง
ควรเปลี่ยนเปน “ไมเปนอะไรมาก” “ไมมีอันตรายอะไร” หรือ “อาการเชนนี้อาจเกิดขึ้นได แลวจะหายไปเอง” ฯลฯ
ความเหมาะสมของเนื้อหาสาระ
ดังได กลาวแลววาสาระของสารมีสวนสาคัญตอผลการสื่อสารมาก ในที่นี้จึงขอสรุปเพียงสั้น ๆ วาสารที่สงควร
จะมี
1) มีสาระที่มีคุณคาควรแกการสื่อสาร
2) สาระนั้นตรงกับความสนใจหรือประโยชนของผูที่เราจะสื่อสารดวย
3) สาระนั้นครบถวนครอบคลุมพอที่ จะบรรลุ ประโยชน ตามความมุงหมายของการสื่อสาร
ความแจมแจง
ความแจมแจ งของสารที่ สื่อสารกันเปนสวนสาคัญอี กประการหนึ่ง ความแจ มแจงนี้ตองมีอยูทั้งในเนื้อหา
ของสารและในลักษณะทางกายภาพของสาร ความแจมแจงในเนื้อหาหมายความวาเนื้อหานั้นสามารถบอกไดชัดเจน
ไมคลุมเครือไมออมคอม วกวน หรือกากวม
ความเหมาะสมกับกาลเทศะ
การสื่อสารที่ ดีตองกลมกลืนไปกั นไดกับวัฒนธรรมของสังคม เหมาะสมกับสิ่งแวดลอมบุคคล เวลา สถานที่ เช
น ที่ใดควรคุยเรื่องใดหรือเวลาใดควรพูดเรื่องใด การใชถอยคาภาษา กิริยาทาทางตอบุคคลใดมีความเหมาะสมหรือไม
ความตอเนื่องและสม่าเสมอ
การสื่อสารที่ตอเนื่องสม่ําเสมอ คงเสนคงวา มีความสาคัญอยางยิ่ง การสื่อสารที่สม่ําเสมอชวยรักษาและ
กระชับสัมพันธภาพระหวางบุคคล คาพังเพยไทยในเรื่องนี้เชน “ดักลอบตองหมั่นกู”
เจาชูตองหมั่นเกี้ยว” การประชาสัมพันธสถาบันตาง ๆ ก็มีหลักอยูวาตองบอกกลาวเรื่องราวเผยแพรสูประชาชนให
สม่ําเสมอ ในงานพยาบาลก็จาเปนตองมีความตอเนื่องในการสื่อสาร เชน การรายงานความเปลี่ยนแปลงของผูปวยทุก
ระยะ เพื่อประโยชนในการดูแลรักษาหรือการชวยใหผูปวยหรือญาติปฏิบัติตนไดเหมาะสม ชวยใหหายปวยไดเร็วขึ้น
ความคงเสนคงวา หรือความสอดคลองในการสื่อสาร จะชวยใหผูสื่อสาร มีความเขาใจที่ถูกตอง และมีความเปนเอก
ภาพในการสื่อสาร ดังจะเห็นวาวิธีการเขียนอางอิงมีหลายแบบ หนังสือเลมหนึ่งควรใชวิธีเขียนแบบเดียวกันตลอดทั้งเล
ม การจัดรายการวิทยุหรือรายการโทรทัศน แตละรายการก็จะมีความตอเนื่องและรักษารูปแบบของแตละรายการไวอย
างสม่ําเสมอเชนกัน
ความเหมาะสมในการใชสื่อ
วิทยาการดานตาง ๆ พัฒนากาวหนาขึ้น มีผลใหเกิดการผลิตสื่อตาง ๆ ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นเรื่อย ๆ การวิจัย
เกี่ยวกับประสิทธิผลของสื่อตาง ๆ ไดรับความสนใจมาก แตขอสรุปที่ไดมาไมใชสูตรสาเร็จที่ จะบอกวาสื่ อชนิดใดจะดี
ที่สุด หลั กการสาคัญในการใช สื่อต องประกอบดวยการพิ จารณาสิ่งแวดลอมหลาย ๆ ดาน เชน ตองการสื่อสารกับ
คนกลุมใด ดวยวัตถุประสงคอะไรในสิ่งแวดลอมอยางไร คาตอบเหลานี้มีผลตอสื่อที่จะเลือกใช ฉะนั้นจึงตองพิจารณาใน
รายละเอียดเปนเรื่อง ๆ ไป
ความสามารถของผูรับสาร
การพิจารณาความสามารถของผูรับสารมีประเด็นที่ตองคานึงถึงหลายดานทางกายภาพ u3648 .ชนผูรับมี
ประสาทสัมผัสรับรูไดครบถวน หรือมีความพิการทาใหเปดรับสารไมไดบางหรือไม ทางดานจิตใจ เชน อยูในอารมณ
อยางไร โกรธ วิตกกังวล เศราโศก ฯลฯ ทางดานการเขาถึงสื่อ เชน มีสื่ออะไรสาหรับการรบสารบางและทางดานระดับ
สติปญญา เชน ความรูความเขาใจที่จะรั บสารไดเพียงใด เปนตน
สรุป
การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดควรมีลักษณะ ดังนี้ ถูกตอง นาเชื่อถือเนื้อหาสาระเหมาะสม
มีความแจมแจง เหมาะสมกับกาละเทศะ มีความตอเนื่องสม่ําเสมอ เลือกใช
สื่อไดเหมาะสมและคานึงถึงความสามารถของผูรับสาร
บทที่ 2 ความสาคัญของการสื่อสาร
การสื่อสาร เป็นกระบวนการเกิดขึ้นเป็นปกติวิสัยของคนทุกคน และมีความเกี่ยวข้องไปถึงบุคคลอื่น ตลอดจนถึงสังคมที่
แต่ละคนเกี่ยวข้องอยู่ ไม่ว่าจะทาสิ่งใด ล้วนต้องอาศัยการสื่อสารเป็นเครื่องมือช่วยให้บรรลุจุดประสงค์ทั้งสิ้น จะเห็นได้จากการที่
คนพยายามคิดค้นและพัฒนาวิธีการสื่อสารมาตั้งแต่สมัยโบราณ ทั้งภาษาพูด ภาษาเขียน ตลอดจนเครื่องมือหรือเทคนิควิธีการ
ต่างๆ ล้วนเกิดจากความพยายามอย่างสูงของคน ต่อเนื่องมาหลายชั่วอายุ หากการสื่อสารไม่มีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งแล้ว
เครื่องมือและวิธีการสาหรับการสื่อสารต่างๆ เหล่านี้ก็คงไม่เกิดขึ้นและพัฒนามาให้เห็นดังเช่นในปัจจุบัน
ในสภาพสังคมที่คนจะต้องเกี่ยวข้องกันมากขึ้นเช่นปัจจุบัน การสื่อสารก็ยิ่งมีความสาคัญต่อบุคคลและสังคมมากขึ้น หากคนใน
สังคมขาดความรู้ความเข้าใจในการสื่อสาร ไม่สามารถถ่ายทอดความรู้ความคิด หรือทาให้เกิดความเข้าใจระหว่างกันได้ ย่อมจะทา
ให้เกิดปัญหาต่างๆ มากมาย ปัญหา ที่เกิดขึ้นกับบุคคลและสังคมทุกวันนี้ มีอยู่ไม่น้อยที่เป็นสาเหตุมาจากความล้มเหลวของการ
สื่อสาร ดังนั้นการสื่อสารจึงมีความสาคัญสาหรับบุคคลและสังคมหลายด้าน คือ
1. ด้านชีวิตประจาวัน ในชีวิตประจาวันหนึ่งๆ แต่ละคนจะต้องสื่อสารกับตัวเองและสื่อสารกับผู้อื่นตลอดเวลา นับตั้งแต่
เวลาตื่นนอนก็ต้องสื่อสารกับตัวเองและคนอื่นที่อยู่ใกล้ตัว การฟังวิทยุ อ่านหนังสือ ออกจากบ้านไปปฏิบัติภาระกิจประจาวัน ก็
ต้องพบปะบุคคลและเหตุการณ์ต่างๆ ล้วนแต่เป็นเรื่องที่ต้องทาการสื่อสารอยู่ตลอดเวลา ไม่ในฐานะผู้ส่งสารก็ในฐานะผู้รับสาร
หากคนเราขาดความรู้หรือทักษะการสื่อสาร ก็อาจทาให้การปฏิบัติภาระกิจประจาวันอาจบกพร่องได้
2. ด้านสังคม การรวมกลุ่มในสังคมทั้งในระดับครอบครัว ชุมชน จนถึงระดับประเทศ จะต้องมีการสื่อสารให้เกิดความ
เข้าใจร่วมกันในเรื่องต่างๆ มีกระบวนการทาให้คนยอมอยู่ในกฏเกณฑ์กติกาของสังคม มีการถ่ายทอดความรู้และทานุบารุง
ศิลปวัฒนธรรม
3. ด้านธุรกิจอุตสาหกรรม เกี่ยวกับการโฆษณาสินค้า การประชาสัมพันธ์ทั้งภายในและภายนอกองค์กร การบริหาร
ติดต่อประสานงาน การฝึกอบรมพนักงาน การใช้เครื่องมือเทคโนโลยีการสื่อสาร ฯลฯ กิจการด้านธุรกิจอุตสาหกรรมจะต้องมีการ
สื่อสารที่ดี จึงจะประสบผลสาเร็จได้
4. ด้านการเมืองการปกครอง กิจกรรมด้านการเมืองการปกครองจะต้องใช้การสื่อสารทุกขั้นตอน เช่น ก ารประชาสัม
พันธ์ผลงานของรัฐบาล การสร้างความเข้าใจกับประชาชนในเรื่องต่างๆ การบังคับบัญชาสั่งการ การให้บริการประชาชน การ
ชักชวนให้ปฏิบัติตามระเบียบกฏหมายซึ่งล้วนจะต้องใช้เทคนิควิธีการของการสื่อสารทั้งสิ้นด้านการเมืองระหว่างประเทศ ซึ่งต้องมี
การติดต่อสร้างความสัมพันธ์ในด้านต่างๆ เช่น การค้า การทหาร การทาสนธิสัญญา ฯลฯ การมีนักการฑูตประจาในประเทศต่างๆ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในเรื่องต่างๆ เหล่านี้ มีความจาเป็นต้องใช้การติดต่อสื่อสารระหว่างกันอยู่เสมอ หากผู้เกี่ยว ข้องมี
ความรู้และทักษะในการสื่อสารเพียงพอ ย่อมสามารถสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันได้
บทที่ 2
องค์ประกอบการสื่อสาร
สาระสาคัญ
ศึกษาเรียนรู้ เข้าใจถึงองค์ประกอบของการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
บอกองค์ประกอบการสื่อสารและการรับ - การส่งอย่างมีประสิทธิภาพ
ขอบข่ายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 องค์ประกอบการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
เรื่องที่ 2 การรับ – ส่งสารอย่างมีประสิทธิภาพ
เรื่องที่ 1 องค์ประกอบการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
องค์ประกอบของการสื่อสาร
การสื่อสารเป็นพฤติกรรมอย่างหนึ่งของมนุษย์ เช่นเดียวกับพฤติกรรมอย่างอื่น เช่น การกินอยู่หลับนอน
การทางาน การเล่นกีฬา และเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นเป็นประจาในชีวิตประจาวันของแต่ละบุคคล ซึ่งลักษณะ
การสื่อสารในชีวิตประจาวันของคนเรานั้น อาจเกิดขึ้นทั้งการสื่อสารระหว่างมนุษย์ด้วยกันเอง สื่อสารกับสัตว์อื่น
ตลอดถึงการสื่อสารกับเครื่องมือ โดยเฉพาะปัจจุบันได้มีการค้นพบ และนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานต่างๆ อย่าง
มาก จึงมีการสื่อสารรูปแบบใหม่เกิดขึ้น คือ การสื่อสารกับเครื่องมือ อย่างไรก็ตาม การสื่อสารระหว่างมนุษย์ด้วย
กันเอง ( Human Communication ) ถือว่าเป็นเรื่องสาคัญที่สุด และเป็นความหมายที่แท้จริงของการสื่อสาร ซึ่ง
การสื่อสารจะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลหนึ่ง ต้องการถ่ายทอดหรือส่งข่าวสารไปยังบุคคลอีกคนหนึ่ง ดังนั้นกระบวนการ
สื่อสารจึงมีองค์ประกอบ ดัง ต่อไปนี้
คือ ผู้ส่งสาร( Sender) สาร (Message) สื่อหรือช่องทาง ( Channel) และผู้รับสาร (Reciever)
นักวิชาการด้านการสื่อสารได้วิเคราะห์ กาหนดองค์ประกอบ และอธิบายความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ
ต่างๆ ในกระบวนการของการสื่อสารไว้ดังนี้ คือ
1. ผู้ส่งสาร ( Source ) หมายถึงแหล่งกาเนิดสาร อาจเป็นบุคคล องค์การ สถาบันหรือคณะบุคคลที่เป็นผู้
กาหนดสาระ ความรู้ ความคิด ที่จะส่งไปยังผู้รับสาร ดังนั้นการสื่อสารจะบรรลุจุดประสงค์หรือไม่ เพียงใด จึง
ขึ้นอยู่กับผู้ส่งสาร และสารที่ส่งเป็นสาคัญ
สาร (Message) หมายถึงเรื่องราว ความรู้ความคิดต่างๆ ที่ผู้ส่งประสงค์จะให้ไปถึงผู้รับ มีองค์ประกอบที่เป็น
ปัจจัยชี้ความสาเร็จของการสื่อสาร 3 ประการ คือ ( 1) เนื้อหาของสาร
(2) สัญลักษณ์หรือรหัสของสาร ( 3) การเลือกและจัดลาดับข่าวสาร
2. ตัวเข้ารหัสสาร ( Encoder) สารที่จะส่งไปยังผู้รับนั้น ปกติเป็นความรู้ความคิดที่ไม่อาจจะส่งออกไปได้
โดยตรง จาเป็นต้องทาให้สารนั้นอยู่ในลักษณะที่จะส่งได้ เช่น ทาให้เป็นคาพูด สัญญาณ ภาษาท่าทาง หรือรหัส
อื่นๆ การสื่อสารโดยทั่วไปผู้ส่งสาร เช่น เป็นคาพูด หรืออาจจะใช้เครื่องมือสื่อสารต่างๆ เป็นเครื่องช่วย เช่น โทร
เลข โทรศัพท์
3. ช่องทางการสื่อสาร ( Channel) ข่าวสารจากผู้ส่ง จะถูกถ่ายทอดโดยอาศัยสื่อ หรือตัวกลาง ( Media)
ซึ่งอาจเป็นสื่ออย่างง่าย เช่น การพบปะพูดคุยกันตัวต่อตัว การเขียน การแสดงกิริยาท่าทาง ไปจนถึงการใช้สื่อที่มี
ความซับซ้อนยิ่งขึ้น เช่น วิทยุ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ ภาพยนตร์ ฯลฯ
4. การแปลรหัสสาร ( Decoder) คือการแปลความหมายของรหัสสัญญาณที่ส่งมายังผู้รับ เพื่อให้เกิดความ
เข้าใจ หากผู้ส่งใช้รหัสสัญญาณที่ผู้รับสามารถแปลความหมายได้เองโดยตรง เช่น ใช้ภาษาที่ผู้รับเข้าใจ การสื่อสาร
ก็จะง่ายขึ้น แต่หากผู้ส่งใช้รหัสสัญญาณที่ผู้รับไม่อาจเข้าใจได้ เช่น ใช้ภาษาที่ผู้รับฟังไม่เข้าใจ การสื่อสารก็จะเพิ่ม
ความยุ่งยากซับซ้อนยิ่งขึ้น ซึ่งย่อมจะส่งผลต่อความสาเร็จของการสื่อสาร
5. ผู้รับ (Reciever) เป็นจุดหมายปลายทาง ( Destination) ของการสื่อสารซึ่งจะต้องมีการรับรู้ เข้าใจ
หรือแสดงพฤติกรรม ตามที่ผู้ส่งสารต้องการ หากไม่เป็นไปตามนั้น ก็ถือว่าการสื่อสารนั้นล้มเหลว ผู้รับสารจะต้อง
มีทักษะการสื่อสาร ( Communication Skill) ดีเช่นเดียวกับผู้ส่งสารจึงจะช่วยให้การสื่อสารบรรลุผลสมบูรณ์
6. ปฏิกิริยาของผู้รับสาร และการตอบสนอง ( Response and Feed back) เมื่อผู้รับได้รับสาร และแปล
ความหมายจนเป็นที่เข้าใจอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ผู้รับย่อมจะมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารอย่างใดอย่างหนึ่งด้วย
เช่นเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย คล้อยตามหรือต่อต้าน ซึ่งการตอบสนองของผู้รับอาจผิดไปจากผู้ส่งต้องการก็ได้ ปฏิกิริยา
ตอบสนองของผู้รับ หากได้มีการย้อนกลับ( Feed back) ไปยังผู้ส่งสารให้รับรู้ จะช่วยให้เกิดการปรับการสื่อสาร
ให้ได้ผลดียิ่งขึ้น กรณีเช่นนี้เรียกว่า การสื่อสารแบบสองทาง ( Two-way Communication)
การตอบสนองของผู้รับสารกลับไปยังผู้ส่งสาร ย่อมจะต้องเกิดกระบวนการสื่อสาร เริ่มต้นขึ้นอีกครั้งหนึ่ง โดยผู้รับ
จะทาหน้าที่เป็นผู้ส่งสาร และผู้ส่งสารในตอนแรกจะทาหน้าที่เป็นผู้รับสารแทน ซึ่งจะต้องอาศัยองค์ประกอบต่างๆ
ของการสื่อสารเช่นเดียวกับการสื่อสารในขั้นตอนแรก การสื่อสารแบบ 2 ทาง ผู้สื่อสารจะทาหน้าที่ เป็นทั้งผู้รับ
และผู้ส่งสารพร้อมๆ กัน
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จของการสื่อสาร
การสื่อสาร มีองค์ประกอบในด้านต่างๆ ดังกล่าวมาแล้ว องค์ประกอบแต่ละด้านล้วนเป็นปัจจัยที่จะส่งผล
ให้การสื่อสารประสบผลสาเร็จหรือล้มเหลวได้ทั้งสิ้น องค์ประกอบสาคัญที่ส่งผลอย่างสูงต่อความสาเร็จหรือความ
ล้มเหลวของการสื่อสาร ได้แก่ คุณสมบัติของผู้สื่อสาร การใช้สื่อและเทคนิควิธี ในการสื่อสาร
คุณสมบัติของผู้สื่อสาร
การสื่อสาร มีทั้งลักษณะทางเดียว และการสื่อสารแบบสองทาง ในกรณีที่เป็นการสื่อสารแบบทางเดียว
ผู้รับสารและผู้ส่งสารไม่พบกัน ขาดโอกาสตอบสนองและย้อนกลับ ทาให้การสื่อสารได้ผลน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การสื่อสารมวลชนต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ ซึ่งแม้ว่าจะมีการย้อนกลับ ( Feedback) บ้างก็เป็นเพียง
บางโอกาสเท่านั้น ผู้ส่งสารทาหน้าที่ส่งสารเพียงอย่างเดียว ผู้รับก็ทาหน้าที่รับเพียงอย่างเดียวเช่นกัน จึงมีโอกาส
เกิดความเข้าใจผิดหรือบิดเบือนข่าวสารได้ง่าย และนอกจากนี้การสื่อสารแบบมวลชน ยังมีอุปสรรคอีกอย่างหนึ่ง
คือ ความไม่แน่นอนของผู้รับหรือกลุ่มเปูาหมาย ดังนั้นในการสื่อสารแบบทางเดียว ฝุายผู้ส่งสารจะต้องมีความรู้
ความสามารถ มีทักษะในการสื่อสาร และมีความรับผิดชอบอย่างสูง ส่วนในฝุายรับเองก็จะต้องมีควาามรู้
ความสามารถ เพียงพอที่จะวิเคราะห์ และเชื่อถือข่าวสารต่างๆ อย่างมีเหตุผล ผู้รับข่าวสารที่มีความรู้ มัก
วิเคราะห์ และเชื่อถือความรู้ข่าวสารต่างๆ อย่างมีเหตุผล ส่วนผู้รับสารที่ขาดความรู้ มักวิเคราะห์ วิจารณ์ หรือ
ตัดสินใจเชื่อโดยอาศัยเพียง "สามัญสานึก" มากกว่าการใช้เหตุผล
การสื่อสารจะประสบผลที่ต้องการเพียงใดนั้น จึงขึ้นอยู่กับปัจจัยที่เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้สื่อสาร ที่สาคัญ 5
ประการ คือ
1. มีความรู้ความสามารถ หากผู้สื่อสารมีความรู้ความสามารถทั่วไปอยู่ในระดับสูง จะมีความเชื่อมั่นใน
ตนเอง รับรู้และเข้าใจสิ่งต่างๆ ได้รวดเร็ว แต่หากผู้สื่อสารมีความรู้ความสามารถต่า ความสามารถในการรับรู้และ
เข้าใจสิ่งต่างๆ ย่อมจะต่าไปด้วย หากผู้ส่งสารและผู้รับสารมีพื้นฐานความรู้แตกต่างกัน กรณีผู้ส่งสาร มีความรู้
ความสามารถสูงกว่าผู้รับสาร จะให้ผลสาเร็จของการสื่อสาร ดีกว่ากรณีผู้ส่งสารมีความรู้ความสามารถต่ากว่าผู้รับ
สาร
2. มีทักษะในการสื่อสาร คือมีความเชี่ยวชาญ สามารถในการพูด การเขียน การแสดง มีจิตวิทยาการจูงใจ
สูง ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะต้องอาศัยความรู้ความสามารถ และการฝึกฝนตนเองเป็นสาคัญ
3. มีเจตคติที่ดี ผู้สื่อสารที่มีเจตคติที่ดีต่อกัน จะช่วยให้เข้าใจซึ่งกันและกันได้ง่ายขึ้น รู้จักวิเคราะห์ความรู้
ความคิด ข่าวสารต่างๆ อย่างเป็นเป็นกลางและมีเหตุผล แต่หากหากผู้สื่อสารมีเจตคติที่ไม่ดีต่อกัน อาจมองกันใน
แง่ร้ายและบิดเบือนข่าวสาร
4. พื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรม เนื่องจากสังคม วัฒนธรรม รวมถึง เพศ และอายุ เป็นตัวกาหนดความ
เชื่อ ความรู้สึกนึกคิดของคนในสังคม ผู้ที่จะสื่อสารเข้าใจกันได้ดีที่สุดนั้น ได้แก่ผู้ที่มีพื้นฐานทางสังคมวัฒนธรรม
เหมือนกัน ทั้งผู้รับและผู้ส่ง ผู้สื่อสารที่มีความแตกต่างทางสังคมวัฒนธรรม อาจทาให้การสื่อสารล้มเหลว ทั้งนี้
เพราะ การพูดหรือการปฏิบัติอย่างหนึ่งในสังคมหนึ่ง อาจแปลความหมายแตกต่างไปจากอีกสังคมหนึ่ง
สื่อและเทคนิคการสื่อสาร
การสื่อสาร เป็นศาสตร์ที่ต้องอาศัยทั้งบุคคล วัสดุเครื่องมือ และเทคนิควิธีการในการสื่อสาร ดังนั้น
ความสาเร็จในการสื่อสารส่วนหนึ่งจึงขึ้นอยู่กับ การเลือก และการใช้สื่ออย่างเหมาะสม
สื่อ ( Media) โดยทั่วไปหมายถึงสิ่งที่นาหรือถ่ายทอดสาร จากผู้ส่งไปยังผู้รับ เช่น เสียงพูด กิริยาท่าทาง
สิ่งพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ฯลฯ ผู้รับจะรับสารได้โดยประสาทในการรู้สึก อันได้แก่ การเห็น การได้ยิน การสัมผัส การ
ได้กลิ่น การได้รับรู้รส สื่อ จึงเป็นองค์ประกอบสาคัญในการสื่อสาร สื่อแต่ละอย่างมีคุณสมบัติที่จะก่อให้เกิดการ
รับรู้ แตกต่างกัน เช่น สิ่งพิมพ์ ทาให้ได้รับสารโดยการเห็น วิทยุ ทาให้รับสารได้ด้วยการได้ยิน โทรทัศน์ ให้รับสาร
ได้ทั้งการเห็นและการได้ยิน ผู้ส่งสารจึงต้องพิจารณาเลือกว่าจะใช้สื่อประเภทใด จึงจะเหมาะสมและมี
ประสิทธิภาพสูงสุด แม้จะเป็นสื่อประเภทเดียวกัน ก็ยังอาจต้องพิจารณาในรายละเอียดลงไปอีก เช่น เมื่อเลือก
สื่อสารผ่านทางหนังสือพิมพ์ ก็ต้องพิจารณาว่าจะใช้หนังสือพิมพ์ฉบับใด หรือถ้าเป็นโทรทัศน์ จะใช้ช่องใด เป็นต้น
( ปรมะ สตะเวทิน 2526 : 60 )
สื่อ สาหรับการสื่อสารในปัจจุบัน มีมากมายหลายชนิด และมีการพัฒนารูปแบบอยู่เสมอ ผู้สื่อสารจาเป็นต้องมี
ความรู้และทักษะในการใช้เครื่องมือเหล่านั้นเป็นอย่างดี เช่น การใช้วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ เครื่อง
ฉาย เครื่องเสียง และนอกเหนือจากนี้จะต้องเข้าใจถึงข้อดี ข้อจากัดของเครื่องมือสื่อสารแต่ละอย่างด้วย
เทคนิควิธีในการสื่อสาร มีความสาคัญไม่น้อยกว่าการรู้จักใช้สื่อ ทั้งนี้เพราะการสื่อสารในสถานการณ์ที่
แตกต่างกัน ย่อมจะต้องอาศัยเทคนิควิธีการที่เหมาะสมแตกต่างกันไปด้วย ผู้สื่อสารต้องมีเทคนิควิธีในการสื่อสารที่
ดี รู้ว่าเมื่อใดควรใช้เทคนิควิธีการใด เมื่อใดควรใช้เครื่องมือช่วย เมื่อใดจะต้องทราบปฏิกิริยาตอบสนองจากผู้รับ
และจะทราบได้อย่างไร เป็นต้น ตัวอย่างของการใช้เทคนิควิธีในการสื่อสาร เช่น
- นาเสนอซ้าหลายๆ ครั้ง
- แบ่งเนื้อหาออกเป็นตอนสั้นๆ นาเสนอทีละน้อย
- กระตุ้นให้ผู้รับ ใช้ความคิด พิจารณาเหตุผล และหาข้อสรุปด้วยตนเอง
- กระตุ้นให้เกิดความสนใจ ก่อนที่จะนาเสนอเรื่องราวที่เป็นสาระสาคัญ
- แสดงเหตุผลหรือข้อเท็จจริงประกอบหลายๆ ด้าน แล้วจึงลงสรุป เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือ
- ให้ผู้รับมีส่วนร่วม หรือแสดงปฏิกิริยาตอบสนอง
ฯลฯ
ทฤษฎีและแบบจาลองการสื่อสาร
การสื่อสาร เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับ การคิด การรับรู้ การเรียนรู้ของบุคคล และมีความเกี่ยวข้อง
ไปถึงบุคคลอื่นและสังคมด้วย เป็นกระบวนการที่มีความซับซ้อนมีลักษณะเป็นนามธรรม ยากที่จะอธิบายให้ชัดเจน
ได้ว่า การสื่อสารมีสภาพที่แท้จริงเป็นอย่างไร หรือมีปรากฏการณ์อะไรบ้างที่เกิดขึ้นในกระบวนการสื่อสาร
นักวิชาการการสื่อสารได้พยายามศึกษา ตั้งสมมุติฐาน คิดค้นหาคาอธิบาย และสร้างแผนผังหรือแบบจาลองขึ้นมา
เพื่ออธิบายลักษณะหรือปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการสื่อสาร ซึ่งแบบจาลองหรือแผนผังเพื่ออธิบายการ
สื่อสารดังกล่าว ในปัจจุบันมีอยู่เป็นจานวนมาก สามารถนามาสรุปเป็นทฤษฏีการสื่อสารที่สาคัญได้หลายทฤษฏี ที่
สาคัญ คือ (ธนวดี บุญลือ 2539 : 474-529 )
1. ทฤษฎีพฤติกรรมการเข้ารหัสและถอดรหัส
ทฤษฎีนี้มีความเชื่อว่า สิ่งสาคัญในการสื่อสาร คือ กระบวนการสร้างรหัสและถอดรหัสของผู้สื่อสาร ทั้งผู้รับและผู้
ส่งสาร กิจกรรมที่สาคัญของการสื่อสารได้แก่ การแปลเนื้อหาข่าวสารให้เป็นรหัสสัญญาณ (Encoding) การแปล
รหัสสัญญาณกลับเป็นเนื้อหา ( Decoding) และการแปลความหมายของข่าวสาร ( Interpreting) สรุปสาระสาคัญ
ของทฤษฏี ดังนี้ คือ
1.1 การสื่อสาร เป็นปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ ที่เกิดขึ้นจากความต้องการตรวจสอบและควบคุม
สิ่งแวดล้อม
1.2 กระบวนการสื่อสาร ต้องมีการเข้ารหัส ถอดรหัส และแปลความหมายอยู่ตลอดเวลา
1.3 การรับรู้ ความรู้สึก ความสนใจ และการจาแนกประเภทข่าวสาร ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบเชิง
สรีร เช่น ระบบกล้ามเนื้อ เกี่ยวกับการฟัง การเขียน รวมถึงกระบวนการทางอารมณ์
1.4 เน้นการศึกษาถึงความสาพันธ์ระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร
1.5 ระบบสมอง การคิด เป็นปัจจัยสาคัญในการวิเคราะห์ตัดสินว่าสิ่งใดที่เกี่ยวข้องหรือไม่
เกี่ยวข้องกับตนเอง เป็นตัวกระตุ้นให้สนใจที่จะรับสาร
2. ทฤษฎีเชิงระบบพฤติกรรม
ให้ความสาคัญกับเรื่องของสื่อหรือช่องทางการสื่อสารสรุปสาระสาคัญได้ดังนี้คือ
2.1 มุ่งอธิบายเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้น ในการส่งข่าวสาร จากผู้ส่ง ผ่านสื่อหรือช่องทาง ไปยัง
ผู้รับ
2.2 เปรียบเทียบการสื่อสารของมนุษย์ได้กับการทางานของเครื่องจักร
2.3 การสื่อสารเป็นกระบวนการต่อเนื่อง หรืออาจเป็นวงกลมและเกิดสิ่งใหม่ๆ ขึ้นเสมอ
2.4 ความหมายหรือเจตนาการสื่อสาร ขึ้นอยู่กับปฏิกิริยาระหว่างผู้สื่อสารและสถานการณ์
แวดล้อม
3. ทฤษฎีเชิงปฏิสัมพันธ์
สรุปสาระสาคัญดังนี้ คือ
3.1 ให้ความสาคัญกับกระบวนการเชื่อมโยง ระหว่างผู้รับและผู้ส่งสาร ซึ่งปกติจะมีความสัมพันธ์
ด้วยอานาจภายนอกและมีปัจจัยเกี่ยวข้องหลายอย่าง
3.2 การสื่อสารจะขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายด้าน บุคคลิกภาพ ความน่าเชื่อของผู้ส่งข่าวสารเป็น
ตัวกาหนดปฏิกิริยาของผู้รับสาร
3.3 พฤติกรรมทั้งหลายของคนเป็นผลมาจากพฤติกรรมทางการสื่อสาร
3.4 พฤติกรรมต่างๆ ของคนมีอิทธิพลต่อกระบวนการเชื่อมโยงระหว่างผู้รับและผู้ส่งสาร
4. ทฤษฎีเชิงบริบททางสังคม
มีสาระสาคัญดังนี้ คือ
4.1 เน้นอธิบายเกี่ยวกับปัจจัยต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการสื่อสาร
4.2 การสื่อสารเกิดขึ้นภายใต้อิทธิพลของปัจจัยทางสังคม วัฒนธรรม
4.3 กลุ่มสังคม องค์กร มีอิทธิพลต่อความคิด ความเชื่อ การตัดสินใจ
4.4 สังคมเป็นตัวควบคลุมการไหลของกระแสข่าวสาร เมื่อสังคมมีการเปลี่ยนแปลงกระแส
ข่าวสารก็เปลี่ยนแปลงไปด้วย
ทฤษฎีการสื่อสารทั้ง 4 ทฤษฎีข้างตนเป็นเพียงการนาความคิดของนักวิชาการการสื่อสารมาจัดเป็นกลุ่ม
ความคิดตามความคิดที่เหมือนกันบางประการเท่านั้น ความจริงนักวิชาการแต่ละคน แม้ที่ถูกจัดในกลุ่มทฤษฏี
เดียวกันก็มีความแตกต่างกันอยู่มาก ซึ่งแนวความคิดของนักวิชาการสื่อสารต่างๆ สามารถอธิบายได้ด้วย
แบบจาลองการสื่อสารของนักวิชาการสื่อสารแต่ละคน
แบบจาลองเรื่องการสื่อสารของเบอร์โล ( Berlo)
เบอร์โล (Berlo. 1960 : 40-71) เป็นผู้คิดกระบวนของการสื่อสารไว้ในลักษณะรูป แบบจาลอง S M C R Model
อันประกอบด้วย
1. ผู้ส่ง (Source) ต้องเป็นผู้ที่มีทักษะความชานาญในการสื่อสาร โดยมีความสามารถใน "การเข้ารหัส"
(Encode) เนื้อหาข่าวสาร มีทัศนคติที่ดีต่อผู้รับเพื่อผลในการสื่อสาร มีความรู้อย่างดีเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารที่จะส่ง
และควรมีความสามารถในการปรับระดับของข้อมูลนั้นให้เหมาะสมและง่ายต่อระดับความรู้ของผู้รับ ตลอดจนมี
พื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับผู้รับด้วย
2. ข่าวสาร (Message) เกี่ยวข้องทางด้านเนื้อหา สัญลักษณ์ และวิธีการส่งข่าวสารนั้น
3. ช่องทางในการส่ง ( Channel) หมายถึง วิธีการที่จะส่งข่าวสารโดยการให้ผู้รับข่าวสารข้อมูลผ่าน
ประสาทสัมผัสทั้ง 5 หรือเพียงส่วนใดส่วนหนึ่ง เช่น การฟัง การดู การสัมผัส การลิ้มรส หรือการได้กลิ่น
4. ผู้รับ (Receiver) ต้องเป็นผู้มีทักษะความชานาญในการสื่อสาร โดยมีความสามารถใน "การถอดรหัส"
(Decode) สาร เป็นผู้มีทัศนคติ ระดับความรู้ และพื้นฐานทางสังคม วัฒนธรรม เช่นเดียวกันหรือคล้ายคลึงกันกับ
ผู้ส่ง จึงจะทาให้การสื่อสารนั้นได้ผล
แบบจาลองการสื่อสารของลาสเวลล์
เป็นแบบจาลองการสื่อสารที่อธิบายกระบวนการสื่อสารเชิงพฤติกรรม ( The Behavioral of Thought)
เป็นการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร เนื้อหาข่าวสาร ชนิดของสื่อที่ใช้และผลอันเกิดจากการ
กระทาการสื่อสาร ลาสเวลล์อธิบายกระบวนการสื่อสารโดยตั้งเป็นคาถามเกี่ยวกับผู้ส่งสาร ผู้รับสาร และผลของ
การสื่อสาร คือ ใคร พูดอะไร ผ่านช่องทางใด ถึงใคร ได้ผลอย่างไร อาจเขียนเป็นแผนภาพได้ ดังนี้ (กิดานันท์ มลิ
ทอง 2536 : 26 )
ใคร คือ ผู้ส่งสาร ซึ่งเป็นตัวกาหนดและควบคุมเนื้อหาข่าวสาร
พูดอะไร คือ สาร หรือเนื้อหาสาระของเรื่องที่ถูกสื่อสารออกไป
ด้วยทางใด คือ ตัวกลาง หรือสื่อที่ข่าวสารถูกส่งผ่านไปยังผู้รับ
กับใคร คือ ผู้รับสาร
ผลอะไร คือ สิ่งที่เกิดขึ้นอันเป็นผลมาจากการสื่อสาร
แนวคิดโดยสรุป ตามแบบจาลองของลาสเวลล์ คือ
1. อธิบายกระบวนการสื่อสารแบบง่ายๆ ซึ่งความจริงแล้วการสื่อสารของมนุษย์มีความสลับซับซ้อน
มากกว่านี้ และการสื่อสารจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยปัจจัยอื่นๆ เป็นตัวกาหนด หรือมีอิทธิพล อย่างอื่น ในการสื่อสาร
เช่น สภาวะแวดล้อมทางสังคม จุดมุ่งหมายในการสื่อสาร เป็นต้น
2. เน้นการสื่อสารแบบเห็นหน้ากัน ผู้สื่อสารปรากฏตัวขณะทาการสื่อสาร
3. เนื้อหาข่าวสารที่ส่งไปยังจุดหมายปลายทาง จะต้องมีจุดมุ่งหมาย เพราะคาดว่าจะต้องเกิดผลอย่างใด
อย่างหนึ่ง ความจริงแล้วไม่จาเป็นเสมอไปว่าการส่งสารจะต้องมีจุดมุ่งหมายอย่างแน่นอน หรือเฉพาะเจาะจง
4. ขาดปัจจัยสาคัญตัวหนึ่งคือ ปฏิกิริยาการปูอนกลับ
แบบจาลองการสื่อสารของชแรมม์
วิลเบอร์ ชแรมม์ ได้เสนอแบบจาลองการสื่อสารตามแนวความคิดของเขาไว้ 3 แบบ คือ
(ธนวดี บุญลือ 2529 : 507-508 )
แบบที่ 1 อธิบายการสื่อสารเป็นกระบวนการเส้นตรง ประกอบด้วย แหล่งข่าวสาร ( Source) เข้ารหัส (Edcoder)
สัญญาณ (Signal) ถอดรหัส (Decoder) และจุดหมายปลายทาง ( Destunation) ไม่ให้ความสาคัญกับการ
ตอบสนองและปฏิสัมพันธิ์ระหว่างผู้สื่อสาร
แบบที่ 2 อธิบายกระบวนการสื่อสารที่ผู้ส่งและผู้รับสารมีประสบการณ์บางอย่างร่วมกัน ทาการสื่อสารอยู่ภายใต้
ขอบเขตประสบการณ์ของแต่ละฝุาย ความสาเร็จของการสื่อสารจึงขึ้นอยู่กับประสบการณ์ร่วมของผู้สื่อสาร
แบบที่ 3 ในกระบวนการสื่อสาร จะมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สื่อสาร อันเกิดจากการที่ทั้งสองฝุายต้องทางาน
เหมือนกันในระหว่างที่ทาการสื่อสาร คือการเข้ารหัสสาร แปลความ และถอดรหัสให้เป็นสัญลักษณ์ ส่งไปยังผู้รับ
สาร ซึ่งเมื่อรับเนื้อหาข่าวสารไว้แล้ว ก่อนที่จะทาการส่งสารออกไป ก็ต้องนาสารที่จะส่งออกมาเข้ารหัส แปลความ
และถอดรหัส เช่นเดียวกัน เพื่อส่งกลับไปยังผู้รับ ซึ่งเป็นผู้ส่งในครั้งแรก ชแรมม์เรียกกระบวนการสื่อสารนี้ว่า เป็น
กระบวนการสื่อสารแบบวงกลม
รูปแบบการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Communication Patterns)
(จากที่คนเขียนได้เรียนมาในวิชาภาษาไทย วิชาสุขศึกษา วิชาคอมพิวเตอร์ และ วิชาโลกศึกษา ได้บอกไว้ว่า
องค์ประกอบของการสื่อสารมี ผู้ส่งสาร สื่อ(ในการส่ง) สาร(ที่จะส่ง) และผู้รับสารนะคะ)
"สื่อ" ในภาษาไทยกับคาในภาษาอังกฤษ พบว่ามีความหมายตรงกับคาว่า "media" (ในกรณีที่มีความหมายเป็น
เอกพจน์จะใช้คาว่า "medium")คาว่า "สื่อ" ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ ความหมายของ
คานี้ ไว้ดังนี้ "สื่อ (กริยา) หมายถึงติดต่อให้ถึงกัน เช่น สื่อความหมาย, ชักนาให้รู้จักกัน สื่อ (นาม) หมายถึง ผู้
หรือสิ่งที่ติดต่อให้ถึงกันหรือชักนาให้ รู้จักกัน เช่น เขาใช้จดหมายเป็นสื่อติดต่อกัน, เรียกผู้ที่ท าหน้าที่ชักนาให้ชาย
หญิงได้แต่งงานกันว่า พ่อสื่อ หรือ แม่สื่อ; (ศิลปะ) วัสดุต่างๆ ที่ นามาสร้างสรรค์งานศิลปกรรม ให้มีความหมาย
ตามแนวคิด ซึ่งศิลปินประสงค์แสดงออกเช่นนั้น เช่น สื่อผสม"การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพสูงโดยทั่วไปจะเกิดจาก
การสื่อสาร ต่อไปนี้
1. การสื่อสารโดยตรงแบบเผชิญหน้า
เป็นการสื่อสารที่ทั้งผู้ส่งสารและผู้รับสารต่างเผชิญหน้ากันในการสนทนา เช่น บริกรต้องเข้ามารับ order จากลูกค้า
แพทย์ ต้องเข้าตรวจรักษา สอบถามอาการกับคนไข้ เป็นต้น รูปแบบการสื่อสารที่สร้างความสนใจให้แก่ผู้รับสารอย่าง
ตรงไปตรงมา การสื่อสารด้วยวิ ธีนี้จึงเป็นรูปแบบที่ดีในการที่สามารถสื่อสารได้อย่างตรงไปตรงมาและมีข้อผิดพลาด
ทางการสื่อสารน้อยมาก
2. การสื่อสารสองทาง
การสื่อสารสองทางเป็นการสื่อสารที่มีการโต้ตอบกันไปมาของผู้ส่งสารและรับสารทั้งสองฝุาย การสื่อสารรูปแบบนี้จะไม่
สร้างความสั บสนแก่คู่สนทนา อีกทั้งก่อให้เกิดความน่าสนใจใครรู้ และเกิดสมาธิในการรับสารได่ง่าย
3. การสื่อสารโดยช่องทางและสื่อที่หลากหลาย
การสื่อสารโดยช่องทางและสื่อที่หลากหลายเป็นการเลือกใช้สื่อที่ปัจจุบันมีอยู่มากมายให้เกิดประโยชน์ในการสื่อสาร
โดยพิจารณาจากความเหมาะสมของเนื้อหา สภาพแวดล้อม ผู้รับและผู้ส่งสาร รวมไปถึงปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลต่อการรับ
และส่งสาร เพื่อให้การส่งสารรูปแบบที่เลือกมานั้นเป็นการสื่อสารที่ได้ผลและเสริมสร้างศักยภาพการเรียนรู้ของเด็กและ
เยาวชนได้มากที่สุด
4. ผู้รับสามารถรับสารได้ปริมาณมากพอ
ในแต่และบุคคลจะสามารถรับสารในแต่ละชนิดได้แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับความชอบ ความถนัด ภูมหลังและปัจจัยด้าน
อื่นๆ การเลือกใช้สารที่สามารถส่งถึงผู้รับได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือส่งสารได้ในปริมาณมากพอกับความต้องการของ
ผู้รับสารก็นับเป็นรูปแบบที่เหมาะสมของการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้เมื่อสารถูกส่งไปแล้วนั้นผู้รับซึ่งก็ คือเด็กและ
เยาวชนหากสามารถนามาใช้ในการดาเนินชีวิตหรือสามารถนาไปใช้พัฒนาศักยภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง การยิ่ง
แสดงให้เห็นถึงความสาเร็จของการสื่อสาร ไม่เพียงลดปัญหาด้านอาการขาดสมาธิ แต่ยังสามารถนาสารที่ได้รับไป
พัฒนาตนเองให้มีศักยภาพสูงยิ่งขึ้นได้อีกด้วย
5. ผู้รับมีความแม่นยาเที่ยงตรงสูง
ความแม่นยาเที่ยงตรงในการรับสารนั้นต้องอาศัยปัจจัยหลายประการในการรับข้อมูลข่าวสารอย่างเที่ยงตรง ทั้งประสบ
การการรับสาร ประสบการณ์ในข้อมูลข่าวสารที่ถูกส่งมา อีกทั้งการมีสติและสมาธิในการรับสื่อที่ส่งมาจะมีผลอย่างสูง
ต่อความแม่นยาเที่ยงตรงของข้อมูล
6. การหลีกเลี่ยงอุปสรรคในการสื่อสารดังกล่าวข้างต้น
การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพต้องหลีกเลี่ยงอุปสรรคในการสื่อสารที่กล่าวมาข้างต้นทั้งหมด
ทั้งนี้เพราะ อุปสรรคการสื่อสารที่เกิดขึ้นจะเป็นตัวสะท้อนให้เห็นว่าข้อมูลที่ถูกส่งมามีความถูกต้องหรือคลาดเคลื่อน
เพียงใด การเกิดอุปสรรคต่างๆ ข้างต้นก็นับเป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดอาการขาดสมาธิในเด็กและเยาวชนด้วยเช่นกัน หาก
สามารถลดอุปสรรคต่างๆ ไปได้การสื่อสารย่อมประสบความสาเร็จได้ในที่สุด
และขอต่อด้วยส่วนหนึ่งของบทความของคุณ เกรียงศักดิ์ นิรัติพัฒนะศัย เลยนะคะ
การสื่อสารคือทักษะสาคัญ ไม่ว่าตาแหน่งหรือระดับใด การสื่อสารที่ยอดเยี่ยมจะทาให้ประสบความสาเร็จในงานและใน
ชีวิตได้ การสื่อสารแบ่งย่อยเป็นการพูด การฟัง และการเขียน ที่สาคัญคือกระบวนการคิดของเรา ซึ่งเป็นเบื้องหลังคือ
มุมมองต่อโลก การประมวลความคิด และการถ่ายทอดความคิดออกมาเป็นสื่อ ไม่ว่าจะเป็นคาพูด อาการ หรือตัวอักษร
(ในที่นี้ขอยกตัวอย่าง วิธีการปฏิบัติตนที่ดีของผู้ส่งสารและผู้รับสารนะคะ)
การปฏิบัติตนที่ดีของผู้ส่งสาร (ผู้พูด)
1. ก่อนพูดออกไป คิดให้ชัดเจนที่สุดว่า เราต้องการให้เกิดภาพในใจของผู้ฟังอย่างไร เริ่มจากเปูาหมายหรือผลลัพธ์ก่อน
2. คานึงถึงกรอบทางความคิดของผู้ฟัง พื้นฐาน อายุ เพศ การศึกษา งาน และค่านิยม ปรับแต่งคาพูดให้สอดคล้องกับ
กรอบทางความคิดของเขา
3. ใช้ภาษากายเสริมคาพูด จะช่วยให้เขาเห็นภาพที่เราต้องการสื่อสารเพิ่มเติมจากเสียงที่เขาได้ยิน ซึ่งเขาต้องไป
ถอดรหัสเป็นภาพในใจของเขาอีกทอดหนึ่ง
4. อย่าตั้งสมมติฐานว่า ที่เราคิดจะเหมือนกับที่เขาคิด
5. พูดช้า ชัด ดัง และมีจังหวะจะโคนเหมาะกับผู้ฟัง
6. เว้นจังหวะเป็นระยะ อย่าพูดต่อเนื่อง และเต็มไปด้วยข้อมูล ให้เขาได้ย่อยความคิดบ้าง
การปฏิบัติตนที่ดีของผู้รับสาร (ผู้ฟัง)
1. อยู่กับปัจจุบัน อย่าอยู่กับอดีตหรืออนาคตมากไป ฟังด้วยความตั้งใจ
2. อย่าวางแผนจะพูดอะไรระหว่างฟัง
3. คิดตามผู้พูด
4. สังเกตอากัปกิริยา ภาษากายด้วย
5. ถามเมื่อไม่แน่ใจ อย่าด่วนสรุป
6. หยุดทุกอย่างเมื่อฟัง (มือถือ แบล็กเบอร์รี โน้ตบุ๊ก)
บทที่ 2 การรับ – ส่งอย่างมีประสิทธิภาพ
การรับสารและการส่งสารเพื่อกิจธุระ
การสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้การงานต่าง ๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของการดาเนินชีวิตดาเนินไปได้
ด้วยดี เช่น การทักทายปราศรัย การพูดในชีวิตประจาวัน
การรับสารและการส่งสารเกี่ยวกับกิจธุระให้ประสบผลสาเร็จ วิธีการปฏิบัติดังนี้
รู้ชัดเจนถ่องแท้งาน มีความรู้ ความเข้าใจ ข้อมูลของกิจธุระนั้น ๆ อย่างชัดเจน
ส่งสารตรงประเด็น พูด หรือเขียน ในสิ่งที่ต้องการสื่อความหมายให้ตรงประเด็น ไม่อ้อม
ค้อม
พูดเป็นขั้นตอนไม่วกวน ลาดับการพูดในเชิงกิจธุระนั้นให้มีขั้นตอนกระชับ และเข้าใจง่าย
ใช้ภาษาเหมาะแก่ผู้ฟัง ใช้ภาษาเหมาะสมกับเพศ วัย พื้นฐานความรู้ ประสบการณ์ และความ
พร้อมของผู้รับสาร
ตั้งใจรับสารให้ครบถ้วน มีความสนใจ ตั้งใจ และทาความเข้าใจสารที่ได้รับ
การส่งสารด้วยการพูด
การส่งสารด้วยการพูด
การพูดมีความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์มาก การประกอบกิจการใด การคบค้าสมาคมกับผู้อื่น ก็จะต้องสื่อสารด้วย
การพูดเสมอ ส่วนหนึ่งของการพูดเราสามารถฝึกสอนกันได้ อีกส่วนหนึ่งจะเป็นศิลปะเฉพาะตัวของผู้พูดแต่ละคน ซึ่ง
เลียนแบบกันได้ยาก การพูดที่มีประสิทธิภาพ จะเกิดจากการสังเกตวิธีการที่ดีและมีโอกาสฝึกฝน
ความหมายของการพูด
การพูดเป็นพฤติกรรมการสื่อสารที่ใช้กันแพร่หลายทั่วไป ผู้พูดสามารถใช้ทั้งวจนะภาษาและอวัจนะภาษาในการ
ส่งสารติดต่อไปยังผู้ฟังได้ ชัดเจนและรวดเร็ว
การพูด
หมายถึง การสื่อความหมายของมนุษย์โดยการใช้เสียง และกิริยาท่าทางเป็นเครื่องถ่ายทอดความรู้ความคิด และ
ความรู้สึกจากผู้พูดไปสู่ผู้ฟัง พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน ได้แยกความหมาย " การพูด " ออกเป็น ๒ คา คือ " การ "
หมายถึง กิจ, งาน, ธุระ, หน้าที่ ส่วนคาว่า " พูด " หมายถึง กล่าวรวมคาทั้งสองเข้าด้วยกันเป็น " การพูด " หมายถึง กิจ
พูดหรือกิจกล่าว, งานพูดหรืองานกล่าว, ธุระพูด หรือธุระกล่าว, หน้าที่พูดหรือหน้าที่กล่าว เป็นต้น
การพูดที่ดี คือ การใช้ถ้อยคา น้าเสียงรวมทั้งกิริยาอาการอย่างมีประสิทธิภาพ และถูกต้องตามจรรยามารยาท และ
ประเพณีนิยมของสังคม เพื่อถ่ายทอดความคิดความรู้ ความรู้สึกและความต้องการ ที่เป็นประโยชน์ ให้ผู้ฟังได้รับรู้และ
เกิดการตอบสนอง สัมฤทธิ์ผลตามจุดมุ่งหมายของผู้พูด
พูดให้สัมฤทธิ์ผล
ความหมายของการพูดให้สัมฤทธิ์ผล
การพูดให้สัมฤทธิ์ผล หมายถึง พูดให้สาเร็จตามจุดมุ่งหมายต่างๆ ความสัมฤทธิ์ผลในการ
พูดก็มีลักษณะเช่นเดียวกับการฟัง คือมีได้หลายระดับขั้น ไม่ว่าจะพูดด้วยจุดมุ่งหมายใด หากสามารถทาให้ผู้ฟังตั้งใจฟัง
ได้ก็สัมฤทธิ์ผลระดับขั้นหนึ่ง และถ้าทาให้ผู้ฟังทราบโดยแจ่มแจ้ง ก็ทาให้สาเร็จมากขึ้น
ข้อควรระลึกและควรปฏิบัติ
ผู้ที่ประสงค์จะพูดให้สัมฤทธิ์ผล จะต้องสามารถทาให้ผู้ฟังพร้อมที่จะตั้งใจฟัง รับรู้ เข้าใจในสิ่งที่พุด ยอมเปลี่ยนความคิด
และการกระทา มีข้อระลึกและควรปฏิบัติดังนี้
๑. ผู้ฟังที่อยู่ในวัยต่างกัน มีพื้นความรู้และประสบการณ์ต่างกัน ย่อมมีความสนใจและพร้อมที่จะฟังเรื่องราวต่างกัน
เช่น นักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ คงไม่สนใจและไม่พร้อมที่จะฟังเรื่องราวเกี่ยวกับการไปศึกษาต่อระดับปริญญา
สาขาเทคโนโลยีคุณภาพ เป็นต้น จึงจาเป็นต้องเลือกเรื่องราวให้เหมาะกับความสนใจและความพร้อมของผู้ฟัง โดย
คานึงถึงวัย พื้นความรู้ และประสบการณ์ของผู้ฟังหรือกลุ่มของผู้ฟังเป็นสาคัญ
๒. ผู้ฟังมักพอใจและพร้อมที่จะฟังผู้พูดที่ให้เกียรติตน ให้ความสาคัญแก่ตนและให้ความเป็นกันเอง สาหรับวิธีที่จะทาให้
ผู้ฟังเกิดความรู้สึกว่าผู้พูดให้ความสาคัญแก่ตน คือผู้พูดมีความกระตือรือร้น เต็มอกเต็มใจที่จะพูด ไม่แสดงความเหนื่อย
หน่าย หงุดหงิด สาหรับวิธีแสดงความเป็นกันเองของผู้พูดอยู่ที่คาพูดและกิริยาอาการที่ แสดงออก ในขณะทีพูดควรยิ้ม
แย้ม และไม่ใช้สรรพนามที่เป็นทางการในทุกครั้ง และควรมีอารมณ์ขันบ้าง
๓. ผู้ฟังจะรับรู้ความหมายได้สมบูรณ์ก็ต่อเมื่อผู้พูดใช้ภาษาที่แจ่มแจ้ง ชัดเจนและลาดับความให้เข้าใจง่าย ผู้พูด
จาเป็นต้องเลือกใช้คาที่ไม่ใช่ศัพท์แปลกหู เข้าใจยาก นอกจากนี้ต้องรู้จักใช้คาให้หลากหลายไม่ซ้าซาก และลาดับความ
จากเหตุไปผลให้เป็นขั้น ๆไปเพื่อให้เข้าใจง่ายที่สุด
๔. ผู้ฟังจะให้ความเชื่อถือและศรัทธาผู้พูดเมื่อเห็นว่าผู้พูดเป็นผู้รู้จริง ไว้ใจได้และมีเจตนาดี กล่าวคือ ผู้พูดต้องพูดด้วย
ความมั่นใจ อ้างอิงข้อมูลได้ถูกต้องแม่นยา อธิบายให้เห็นแจ่มแจ้ง
การพูดระหว่างบุคคล
การพูดระหว่างบุคคลเป็นการพูดที่ไม่เป็นทางการ ปกติทั้งผู้พูดและผู้ฟังมักไม่ได้เตรียมตัวล่วงหน้ามาก่อน ไม่
จากัดสถานที่และเวลา เนื้อหาไม่มีขอบเขตจากัดแน่นอน แต่เป็นการพูดที่เราต้องใช้มากที่สุด และควรศึกษาฝึกฝนให้ใช้
การได้คล่องแคล่ว การพูดระหว่างบุคคล มีดังนี้
การทักทายปราศรัย
การทักทายปราศรัย มักจะกล่าวคา " สวัสดี " เป็นการเริ่มต้น การใช้คาพูดต้องไม่ล่วงล้าก้าวก่ายเรื่องส่วนตัวของผู้อื่น
นอกจากนี้ การทักทายที่ทาให้ผู้อื่นไม่สบายใจ ก็ไม่ควรกระทา การทักทายปราศรัยควรปฏิบัติดังนี้
๑. ยิ้มแย้มแจ่มใสด้วยความรู้สึกยินดีที่ได้พบผู้ที่เราทักทาย
๒. กล่าวคาปฏิสันถาร หรือทักทายตามธรรมเนียมนิยมที่ยอมรับกันในสังคม เช่น "สวัสดีครับ…" "สวัสดีค่ะ…."
๓. แสดงกิริยาอาการประกอบคาปฏิสันถาร กิริยาอาการที่แสดงออกนั้นขึ้นอยู่กับฐานะบุคคลที่เราทักทาย ถ้าเป็น
บุคคลที่มีฐานะเสมอกัน ก็อาจเพียงเป็นการยิ้มและผงกศีรษะเล็กน้อยซึ่งเรามักทาโดยไม่รู้ตัว การจับมือกันแบบ
ตะวันตกหรือจับแขนหรือตบไหล่เบาๆ ก็เป็นสิ่งที่พอจะทาได้ ถ้ารู้จักกันดี ในการทักทายนั้น เราควรยืนให้ห่างคู่สนทนา
ในระยะที่เหมาะสม
๔. ข้อความที่ใช้ประกอบการทักทาย ควรเป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดความสบายใจด้วยกันทั้งสองฝุาย
การแนะนาตนเอง
การแนะนาตนเอง มีความสาคัญในการดาเนินชีวิตประจาวัน เพราะเราต้องมีการพบปะกับบุคคลอื่นอยู่เสมอ บุคคล
แนะนาตนเองได้ในหลายโอกาสด้วยกัน คือ
๑. การแนะนาตนเองในที่สาธารณะ ก่อนที่จะแนะนาตัว มักจะมีการสนทนาพื้นๆเริ่มก่อน ในวัฒนธรรมไทยไม่ค่อยจะ
แนะนาตนเองตรงๆ แต่จะเริ่มต้นด้วยสีหน้าท่าทางที่แสดงความเป็นมิตร ช่วยเหลือกันก่อนแล้วจึงแนะนาตนเอง สีหน้า
ท่าทางแสดงความยินดีที่ได้รู้จักคู่สนทนา
๒. การแนะนาตนเองในการทากิจธุระ ต้องนัดหมายล่วงหน้า ควรแต่งกายให้เรียบร้อย ไปให้ตรงตามนัด เมื่อพบบุคคล
ที่นัด ควรบอกชื่อ นามสกุลให้ชัดเจน สุภาพ เพื่อให้การสื่อสารเป็นไปอย่างราบรื่น หลังจากนั้นก็ควรบอกกิจธุระของตน
หรืออาจบอกกิจธุระก่อนก็ได้
๓. การแนะนาตนเองในกลุ่มย่อย ส่วนใหญ่จะไม่รู้จักกัน เมื่อเริ่มประชุมควรแนะนาตนเองก่อน เพื่อให้เกิดความเป็น
กันเอง จะได้แสดงความคิดเห็น มีส่วนร่วมประชุมได้อย่างสะดวกใจ การแนะนาตนเองก็เพียงบอกชื่อ นามสกุล สถาบัน
ที่ตนสังกัดให้ได้ยินทั่วกัน เมื่อแนะนาตนเองแล้ว คนอื่นก็จะแสดงกิริยาต้อนรับ
การสนทนา
การสนทนา เป็นกิจกรรมที่บุคคลสองคนขึ้นไป พูดคุยกันเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ความรู้สึก และประสบการณ์
ระหว่างกันอย่างไม่เป็นทางการ การสนทนามีกฎเกณฑ์ตายตัวที่จะต้องปฏิบัติตาม มนุษย์จึงควรที่จะปรับปรุง
พฤติกรรมการสนทนาให้เหมาะสมกับสมัยและสังคม
๑. การสนทนาระหว่างบุคคลที่รู้จักคุ้นเคย การสื่อสารชนิดนี้เป็นเรื่องที่สาคัญ การสนทนาที่
ดีจะนาความราบรื่น ความเจริญ และความสุขมาให้ ดังนั้นการสนทนาระหว่างบุคคลที่รู้จักคุ้นเคย ควรจะคานึงถึงเรื่อง
สนทนาและคุณสมบัติของผู้ร่วมสนทนา โดยใช้คาให้คุ้นเคยและสุภาพ เรียบง่าย เข้าใจง่าย และควรรู้ว่าอะไรควรพูด
อะไรไม่ควรพูด
๒.การสนทนากับบุคคลแรกรู้จัก หัวข้อเรื่องที่นามาสนทนาควรเป็นเรื่องทั่วๆไปเช่น เรื่องดินฟูาอากาศ และข่าวสาร
ต่างๆ ต้องสารวมถ้อยคา กริยา มารยาท และควรสังเกตว่า คู่สนทนาชอบพูดหรือชอบฟัง ถ้าสังเกตว่าชอบพูด เราก็
ควรเป็นฝุายฟัง และพูดให้น้อยลง ถ้าสังเกตว่าชอบฟัง ก็ควรหาเรื่องมาคุยด้วย วิธีการเช่นนี้จะช่วยทาให้การสนทนา
ดาเนินไปได้ด้วยดีและมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.

More Related Content

What's hot

ใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
ใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลายใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
ใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลายpongtum
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์Pimpimol Hueghok
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006Thidarat Termphon
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001Thidarat Termphon
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
ใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย
ใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลายใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย
ใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลายpongtum
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)ครูเฒ่าบุรีรัมย์ ย่าแก่
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001Thidarat Termphon
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายchontee55
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีเทวัญ ภูพานทอง
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ARM ARM
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 

What's hot (20)

ใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
ใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลายใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
ใบงานวิเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 
ใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย
ใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลายใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย
ใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 

Similar to Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.

วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซJirawat Fishingclub
 
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดบทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดetcenterrbru
 
วิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บวิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บJirawat Fishingclub
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรnakkee
 
หลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสารหลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสารMagicianslove Beer
 
ผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิชผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิชSaranpattara Jace
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพสรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพnunaka
 
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่วิจัยบทที่
วิจัยบทที่Natmol Thedsanabun
 
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์Benz Lovestory
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)Annop Phetchakhong
 

Similar to Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน. (20)

วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
 
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดบทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
 
วิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บวิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บ
 
เน อหา ว_จ_ย
เน  อหา ว_จ_ยเน  อหา ว_จ_ย
เน อหา ว_จ_ย
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
 
หลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสารหลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสาร
 
ผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิชผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิช
 
วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา ง 21101
วิชา  การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา  ง 21101วิชา  การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา  ง 21101
วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา ง 21101
 
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพสรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
 
Ois lc2 2
Ois lc2 2Ois lc2 2
Ois lc2 2
 
Communication skill
Communication skillCommunication skill
Communication skill
 
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
 
News
NewsNews
News
 
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
 
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)
 

More from peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

More from peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.

  • 1. หนังสือเรียนวิชา สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ รายวิชา พท.12001 จานวน 1 หน่วยกิต ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย บทที่ 1 หลักการและความสาคัญของการสื่อสาร
  • 2. สาระสาคัญ ศึกษาเรียนรู้ เข้าใจถึงหลักการและความสาคัญของการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อธิบายหลักการและความสาคัญของการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ขอบข่ายเนื้อหา เรื่องที่ 1 หลักการของการสื่อสาร เรื่องที่ 2 ความสาคัญของการสื่อสาร เรื่องที่ 1 หลักการของการสื่อสาร หลักกวาง ๆ ในการสื่อสารใหมีประสิทธิผลสูงสุด ไดแก ความถูกตองนาเชื่อถือ ความถูกตองนาเชื่อถือในที่นี้มีความหมายถึงความถูกตองนาเชื่อถือของสารและของบุคคลผูสงสารหรือแหลง สารดวย ความนาเชื่อถือของแหลงสารขึ้นกับลักษณะหลายประการ ไดแก
  • 3. 1) ความรู และประสบการณของผูสงหรือแหลงสารเกี่ยวกับเนื้อหาสาระที่สื่อสารกัน บุคลิกภาพของผูสงสาร การมี บุคลิกดี มีผลตอความเชื่อถือตอสารมาก เชน ผูที่ดูเปนผูใหญ มั่นคง จริงจัง เปนหลักฐาน ย อมนาเชื่อถือกวาผูที่ดูหลุกหลิก ไมจริงใจ หรือคนที่มีลักษณะ “กะลอน” 2) การมีคุณสมบัติที่สอดคลองสัมพันธกับเนื้อหาของสารมาก เชน คนที่จะเปนตัวแทนจาหนายเครื่องสาอาง ควรมีหน าตาผิวพรรณงดงาม ชางกอสรางหรือสถาปนิก วิศวกรเหมาะที่จะโฆษณาวัสดุกอสราง หรือแมบานเหมาะสาหรับ โฆษณาผงซักฟอก เปนตน 3) วิธีการสื่อสารก็มีผลต อความเชื่อถื อ แมผูสงสารจะมีฐานะตาแหนงสูง มีการศึกษาดีและเปนผูเชี่ยวชาญในเรื่องนั้น โดยตรง แตสื่อสารในสิ่งที่ขัดกับประสบการณตรงของผูรับก็ยอมไมอาจทาใหเชื่อถือได เชน ผูปวยปวดทองแพทยตรวจ แลวบอกวา “ไมเปนไร” ผูปวยก็ไมเชื่อเพราะอาการปวดทองยังคงอยูและบอกไดวา “เปนไร” การใชคาวาไมเปนไรจึง ควรเปลี่ยนเปน “ไมเปนอะไรมาก” “ไมมีอันตรายอะไร” หรือ “อาการเชนนี้อาจเกิดขึ้นได แลวจะหายไปเอง” ฯลฯ ความเหมาะสมของเนื้อหาสาระ ดังได กลาวแลววาสาระของสารมีสวนสาคัญตอผลการสื่อสารมาก ในที่นี้จึงขอสรุปเพียงสั้น ๆ วาสารที่สงควร จะมี 1) มีสาระที่มีคุณคาควรแกการสื่อสาร 2) สาระนั้นตรงกับความสนใจหรือประโยชนของผูที่เราจะสื่อสารดวย 3) สาระนั้นครบถวนครอบคลุมพอที่ จะบรรลุ ประโยชน ตามความมุงหมายของการสื่อสาร ความแจมแจง ความแจมแจ งของสารที่ สื่อสารกันเปนสวนสาคัญอี กประการหนึ่ง ความแจ มแจงนี้ตองมีอยูทั้งในเนื้อหา ของสารและในลักษณะทางกายภาพของสาร ความแจมแจงในเนื้อหาหมายความวาเนื้อหานั้นสามารถบอกไดชัดเจน ไมคลุมเครือไมออมคอม วกวน หรือกากวม ความเหมาะสมกับกาลเทศะ การสื่อสารที่ ดีตองกลมกลืนไปกั นไดกับวัฒนธรรมของสังคม เหมาะสมกับสิ่งแวดลอมบุคคล เวลา สถานที่ เช น ที่ใดควรคุยเรื่องใดหรือเวลาใดควรพูดเรื่องใด การใชถอยคาภาษา กิริยาทาทางตอบุคคลใดมีความเหมาะสมหรือไม ความตอเนื่องและสม่าเสมอ การสื่อสารที่ตอเนื่องสม่ําเสมอ คงเสนคงวา มีความสาคัญอยางยิ่ง การสื่อสารที่สม่ําเสมอชวยรักษาและ กระชับสัมพันธภาพระหวางบุคคล คาพังเพยไทยในเรื่องนี้เชน “ดักลอบตองหมั่นกู” เจาชูตองหมั่นเกี้ยว” การประชาสัมพันธสถาบันตาง ๆ ก็มีหลักอยูวาตองบอกกลาวเรื่องราวเผยแพรสูประชาชนให สม่ําเสมอ ในงานพยาบาลก็จาเปนตองมีความตอเนื่องในการสื่อสาร เชน การรายงานความเปลี่ยนแปลงของผูปวยทุก ระยะ เพื่อประโยชนในการดูแลรักษาหรือการชวยใหผูปวยหรือญาติปฏิบัติตนไดเหมาะสม ชวยใหหายปวยไดเร็วขึ้น ความคงเสนคงวา หรือความสอดคลองในการสื่อสาร จะชวยใหผูสื่อสาร มีความเขาใจที่ถูกตอง และมีความเปนเอก ภาพในการสื่อสาร ดังจะเห็นวาวิธีการเขียนอางอิงมีหลายแบบ หนังสือเลมหนึ่งควรใชวิธีเขียนแบบเดียวกันตลอดทั้งเล ม การจัดรายการวิทยุหรือรายการโทรทัศน แตละรายการก็จะมีความตอเนื่องและรักษารูปแบบของแตละรายการไวอย างสม่ําเสมอเชนกัน ความเหมาะสมในการใชสื่อ วิทยาการดานตาง ๆ พัฒนากาวหนาขึ้น มีผลใหเกิดการผลิตสื่อตาง ๆ ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นเรื่อย ๆ การวิจัย เกี่ยวกับประสิทธิผลของสื่อตาง ๆ ไดรับความสนใจมาก แตขอสรุปที่ไดมาไมใชสูตรสาเร็จที่ จะบอกวาสื่ อชนิดใดจะดี ที่สุด หลั กการสาคัญในการใช สื่อต องประกอบดวยการพิ จารณาสิ่งแวดลอมหลาย ๆ ดาน เชน ตองการสื่อสารกับ
  • 4. คนกลุมใด ดวยวัตถุประสงคอะไรในสิ่งแวดลอมอยางไร คาตอบเหลานี้มีผลตอสื่อที่จะเลือกใช ฉะนั้นจึงตองพิจารณาใน รายละเอียดเปนเรื่อง ๆ ไป ความสามารถของผูรับสาร การพิจารณาความสามารถของผูรับสารมีประเด็นที่ตองคานึงถึงหลายดานทางกายภาพ u3648 .ชนผูรับมี ประสาทสัมผัสรับรูไดครบถวน หรือมีความพิการทาใหเปดรับสารไมไดบางหรือไม ทางดานจิตใจ เชน อยูในอารมณ อยางไร โกรธ วิตกกังวล เศราโศก ฯลฯ ทางดานการเขาถึงสื่อ เชน มีสื่ออะไรสาหรับการรบสารบางและทางดานระดับ สติปญญา เชน ความรูความเขาใจที่จะรั บสารไดเพียงใด เปนตน สรุป การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดควรมีลักษณะ ดังนี้ ถูกตอง นาเชื่อถือเนื้อหาสาระเหมาะสม มีความแจมแจง เหมาะสมกับกาละเทศะ มีความตอเนื่องสม่ําเสมอ เลือกใช สื่อไดเหมาะสมและคานึงถึงความสามารถของผูรับสาร บทที่ 2 ความสาคัญของการสื่อสาร การสื่อสาร เป็นกระบวนการเกิดขึ้นเป็นปกติวิสัยของคนทุกคน และมีความเกี่ยวข้องไปถึงบุคคลอื่น ตลอดจนถึงสังคมที่ แต่ละคนเกี่ยวข้องอยู่ ไม่ว่าจะทาสิ่งใด ล้วนต้องอาศัยการสื่อสารเป็นเครื่องมือช่วยให้บรรลุจุดประสงค์ทั้งสิ้น จะเห็นได้จากการที่ คนพยายามคิดค้นและพัฒนาวิธีการสื่อสารมาตั้งแต่สมัยโบราณ ทั้งภาษาพูด ภาษาเขียน ตลอดจนเครื่องมือหรือเทคนิควิธีการ ต่างๆ ล้วนเกิดจากความพยายามอย่างสูงของคน ต่อเนื่องมาหลายชั่วอายุ หากการสื่อสารไม่มีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งแล้ว เครื่องมือและวิธีการสาหรับการสื่อสารต่างๆ เหล่านี้ก็คงไม่เกิดขึ้นและพัฒนามาให้เห็นดังเช่นในปัจจุบัน ในสภาพสังคมที่คนจะต้องเกี่ยวข้องกันมากขึ้นเช่นปัจจุบัน การสื่อสารก็ยิ่งมีความสาคัญต่อบุคคลและสังคมมากขึ้น หากคนใน สังคมขาดความรู้ความเข้าใจในการสื่อสาร ไม่สามารถถ่ายทอดความรู้ความคิด หรือทาให้เกิดความเข้าใจระหว่างกันได้ ย่อมจะทา ให้เกิดปัญหาต่างๆ มากมาย ปัญหา ที่เกิดขึ้นกับบุคคลและสังคมทุกวันนี้ มีอยู่ไม่น้อยที่เป็นสาเหตุมาจากความล้มเหลวของการ สื่อสาร ดังนั้นการสื่อสารจึงมีความสาคัญสาหรับบุคคลและสังคมหลายด้าน คือ 1. ด้านชีวิตประจาวัน ในชีวิตประจาวันหนึ่งๆ แต่ละคนจะต้องสื่อสารกับตัวเองและสื่อสารกับผู้อื่นตลอดเวลา นับตั้งแต่ เวลาตื่นนอนก็ต้องสื่อสารกับตัวเองและคนอื่นที่อยู่ใกล้ตัว การฟังวิทยุ อ่านหนังสือ ออกจากบ้านไปปฏิบัติภาระกิจประจาวัน ก็ ต้องพบปะบุคคลและเหตุการณ์ต่างๆ ล้วนแต่เป็นเรื่องที่ต้องทาการสื่อสารอยู่ตลอดเวลา ไม่ในฐานะผู้ส่งสารก็ในฐานะผู้รับสาร หากคนเราขาดความรู้หรือทักษะการสื่อสาร ก็อาจทาให้การปฏิบัติภาระกิจประจาวันอาจบกพร่องได้ 2. ด้านสังคม การรวมกลุ่มในสังคมทั้งในระดับครอบครัว ชุมชน จนถึงระดับประเทศ จะต้องมีการสื่อสารให้เกิดความ เข้าใจร่วมกันในเรื่องต่างๆ มีกระบวนการทาให้คนยอมอยู่ในกฏเกณฑ์กติกาของสังคม มีการถ่ายทอดความรู้และทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม
  • 5. 3. ด้านธุรกิจอุตสาหกรรม เกี่ยวกับการโฆษณาสินค้า การประชาสัมพันธ์ทั้งภายในและภายนอกองค์กร การบริหาร ติดต่อประสานงาน การฝึกอบรมพนักงาน การใช้เครื่องมือเทคโนโลยีการสื่อสาร ฯลฯ กิจการด้านธุรกิจอุตสาหกรรมจะต้องมีการ สื่อสารที่ดี จึงจะประสบผลสาเร็จได้ 4. ด้านการเมืองการปกครอง กิจกรรมด้านการเมืองการปกครองจะต้องใช้การสื่อสารทุกขั้นตอน เช่น ก ารประชาสัม พันธ์ผลงานของรัฐบาล การสร้างความเข้าใจกับประชาชนในเรื่องต่างๆ การบังคับบัญชาสั่งการ การให้บริการประชาชน การ ชักชวนให้ปฏิบัติตามระเบียบกฏหมายซึ่งล้วนจะต้องใช้เทคนิควิธีการของการสื่อสารทั้งสิ้นด้านการเมืองระหว่างประเทศ ซึ่งต้องมี การติดต่อสร้างความสัมพันธ์ในด้านต่างๆ เช่น การค้า การทหาร การทาสนธิสัญญา ฯลฯ การมีนักการฑูตประจาในประเทศต่างๆ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในเรื่องต่างๆ เหล่านี้ มีความจาเป็นต้องใช้การติดต่อสื่อสารระหว่างกันอยู่เสมอ หากผู้เกี่ยว ข้องมี ความรู้และทักษะในการสื่อสารเพียงพอ ย่อมสามารถสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันได้ บทที่ 2 องค์ประกอบการสื่อสาร สาระสาคัญ ศึกษาเรียนรู้ เข้าใจถึงองค์ประกอบของการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง บอกองค์ประกอบการสื่อสารและการรับ - การส่งอย่างมีประสิทธิภาพ ขอบข่ายเนื้อหา เรื่องที่ 1 องค์ประกอบการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ เรื่องที่ 2 การรับ – ส่งสารอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 6. เรื่องที่ 1 องค์ประกอบการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ องค์ประกอบของการสื่อสาร การสื่อสารเป็นพฤติกรรมอย่างหนึ่งของมนุษย์ เช่นเดียวกับพฤติกรรมอย่างอื่น เช่น การกินอยู่หลับนอน การทางาน การเล่นกีฬา และเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นเป็นประจาในชีวิตประจาวันของแต่ละบุคคล ซึ่งลักษณะ การสื่อสารในชีวิตประจาวันของคนเรานั้น อาจเกิดขึ้นทั้งการสื่อสารระหว่างมนุษย์ด้วยกันเอง สื่อสารกับสัตว์อื่น ตลอดถึงการสื่อสารกับเครื่องมือ โดยเฉพาะปัจจุบันได้มีการค้นพบ และนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานต่างๆ อย่าง มาก จึงมีการสื่อสารรูปแบบใหม่เกิดขึ้น คือ การสื่อสารกับเครื่องมือ อย่างไรก็ตาม การสื่อสารระหว่างมนุษย์ด้วย กันเอง ( Human Communication ) ถือว่าเป็นเรื่องสาคัญที่สุด และเป็นความหมายที่แท้จริงของการสื่อสาร ซึ่ง การสื่อสารจะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลหนึ่ง ต้องการถ่ายทอดหรือส่งข่าวสารไปยังบุคคลอีกคนหนึ่ง ดังนั้นกระบวนการ สื่อสารจึงมีองค์ประกอบ ดัง ต่อไปนี้ คือ ผู้ส่งสาร( Sender) สาร (Message) สื่อหรือช่องทาง ( Channel) และผู้รับสาร (Reciever) นักวิชาการด้านการสื่อสารได้วิเคราะห์ กาหนดองค์ประกอบ และอธิบายความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ ต่างๆ ในกระบวนการของการสื่อสารไว้ดังนี้ คือ 1. ผู้ส่งสาร ( Source ) หมายถึงแหล่งกาเนิดสาร อาจเป็นบุคคล องค์การ สถาบันหรือคณะบุคคลที่เป็นผู้ กาหนดสาระ ความรู้ ความคิด ที่จะส่งไปยังผู้รับสาร ดังนั้นการสื่อสารจะบรรลุจุดประสงค์หรือไม่ เพียงใด จึง ขึ้นอยู่กับผู้ส่งสาร และสารที่ส่งเป็นสาคัญ สาร (Message) หมายถึงเรื่องราว ความรู้ความคิดต่างๆ ที่ผู้ส่งประสงค์จะให้ไปถึงผู้รับ มีองค์ประกอบที่เป็น ปัจจัยชี้ความสาเร็จของการสื่อสาร 3 ประการ คือ ( 1) เนื้อหาของสาร (2) สัญลักษณ์หรือรหัสของสาร ( 3) การเลือกและจัดลาดับข่าวสาร
  • 7. 2. ตัวเข้ารหัสสาร ( Encoder) สารที่จะส่งไปยังผู้รับนั้น ปกติเป็นความรู้ความคิดที่ไม่อาจจะส่งออกไปได้ โดยตรง จาเป็นต้องทาให้สารนั้นอยู่ในลักษณะที่จะส่งได้ เช่น ทาให้เป็นคาพูด สัญญาณ ภาษาท่าทาง หรือรหัส อื่นๆ การสื่อสารโดยทั่วไปผู้ส่งสาร เช่น เป็นคาพูด หรืออาจจะใช้เครื่องมือสื่อสารต่างๆ เป็นเครื่องช่วย เช่น โทร เลข โทรศัพท์ 3. ช่องทางการสื่อสาร ( Channel) ข่าวสารจากผู้ส่ง จะถูกถ่ายทอดโดยอาศัยสื่อ หรือตัวกลาง ( Media) ซึ่งอาจเป็นสื่ออย่างง่าย เช่น การพบปะพูดคุยกันตัวต่อตัว การเขียน การแสดงกิริยาท่าทาง ไปจนถึงการใช้สื่อที่มี ความซับซ้อนยิ่งขึ้น เช่น วิทยุ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ ภาพยนตร์ ฯลฯ 4. การแปลรหัสสาร ( Decoder) คือการแปลความหมายของรหัสสัญญาณที่ส่งมายังผู้รับ เพื่อให้เกิดความ เข้าใจ หากผู้ส่งใช้รหัสสัญญาณที่ผู้รับสามารถแปลความหมายได้เองโดยตรง เช่น ใช้ภาษาที่ผู้รับเข้าใจ การสื่อสาร ก็จะง่ายขึ้น แต่หากผู้ส่งใช้รหัสสัญญาณที่ผู้รับไม่อาจเข้าใจได้ เช่น ใช้ภาษาที่ผู้รับฟังไม่เข้าใจ การสื่อสารก็จะเพิ่ม ความยุ่งยากซับซ้อนยิ่งขึ้น ซึ่งย่อมจะส่งผลต่อความสาเร็จของการสื่อสาร 5. ผู้รับ (Reciever) เป็นจุดหมายปลายทาง ( Destination) ของการสื่อสารซึ่งจะต้องมีการรับรู้ เข้าใจ หรือแสดงพฤติกรรม ตามที่ผู้ส่งสารต้องการ หากไม่เป็นไปตามนั้น ก็ถือว่าการสื่อสารนั้นล้มเหลว ผู้รับสารจะต้อง มีทักษะการสื่อสาร ( Communication Skill) ดีเช่นเดียวกับผู้ส่งสารจึงจะช่วยให้การสื่อสารบรรลุผลสมบูรณ์ 6. ปฏิกิริยาของผู้รับสาร และการตอบสนอง ( Response and Feed back) เมื่อผู้รับได้รับสาร และแปล ความหมายจนเป็นที่เข้าใจอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ผู้รับย่อมจะมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารอย่างใดอย่างหนึ่งด้วย เช่นเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย คล้อยตามหรือต่อต้าน ซึ่งการตอบสนองของผู้รับอาจผิดไปจากผู้ส่งต้องการก็ได้ ปฏิกิริยา ตอบสนองของผู้รับ หากได้มีการย้อนกลับ( Feed back) ไปยังผู้ส่งสารให้รับรู้ จะช่วยให้เกิดการปรับการสื่อสาร ให้ได้ผลดียิ่งขึ้น กรณีเช่นนี้เรียกว่า การสื่อสารแบบสองทาง ( Two-way Communication) การตอบสนองของผู้รับสารกลับไปยังผู้ส่งสาร ย่อมจะต้องเกิดกระบวนการสื่อสาร เริ่มต้นขึ้นอีกครั้งหนึ่ง โดยผู้รับ จะทาหน้าที่เป็นผู้ส่งสาร และผู้ส่งสารในตอนแรกจะทาหน้าที่เป็นผู้รับสารแทน ซึ่งจะต้องอาศัยองค์ประกอบต่างๆ ของการสื่อสารเช่นเดียวกับการสื่อสารในขั้นตอนแรก การสื่อสารแบบ 2 ทาง ผู้สื่อสารจะทาหน้าที่ เป็นทั้งผู้รับ และผู้ส่งสารพร้อมๆ กัน ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จของการสื่อสาร การสื่อสาร มีองค์ประกอบในด้านต่างๆ ดังกล่าวมาแล้ว องค์ประกอบแต่ละด้านล้วนเป็นปัจจัยที่จะส่งผล ให้การสื่อสารประสบผลสาเร็จหรือล้มเหลวได้ทั้งสิ้น องค์ประกอบสาคัญที่ส่งผลอย่างสูงต่อความสาเร็จหรือความ ล้มเหลวของการสื่อสาร ได้แก่ คุณสมบัติของผู้สื่อสาร การใช้สื่อและเทคนิควิธี ในการสื่อสาร คุณสมบัติของผู้สื่อสาร การสื่อสาร มีทั้งลักษณะทางเดียว และการสื่อสารแบบสองทาง ในกรณีที่เป็นการสื่อสารแบบทางเดียว ผู้รับสารและผู้ส่งสารไม่พบกัน ขาดโอกาสตอบสนองและย้อนกลับ ทาให้การสื่อสารได้ผลน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสื่อสารมวลชนต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ ซึ่งแม้ว่าจะมีการย้อนกลับ ( Feedback) บ้างก็เป็นเพียง บางโอกาสเท่านั้น ผู้ส่งสารทาหน้าที่ส่งสารเพียงอย่างเดียว ผู้รับก็ทาหน้าที่รับเพียงอย่างเดียวเช่นกัน จึงมีโอกาส เกิดความเข้าใจผิดหรือบิดเบือนข่าวสารได้ง่าย และนอกจากนี้การสื่อสารแบบมวลชน ยังมีอุปสรรคอีกอย่างหนึ่ง คือ ความไม่แน่นอนของผู้รับหรือกลุ่มเปูาหมาย ดังนั้นในการสื่อสารแบบทางเดียว ฝุายผู้ส่งสารจะต้องมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการสื่อสาร และมีความรับผิดชอบอย่างสูง ส่วนในฝุายรับเองก็จะต้องมีควาามรู้ ความสามารถ เพียงพอที่จะวิเคราะห์ และเชื่อถือข่าวสารต่างๆ อย่างมีเหตุผล ผู้รับข่าวสารที่มีความรู้ มัก วิเคราะห์ และเชื่อถือความรู้ข่าวสารต่างๆ อย่างมีเหตุผล ส่วนผู้รับสารที่ขาดความรู้ มักวิเคราะห์ วิจารณ์ หรือ ตัดสินใจเชื่อโดยอาศัยเพียง "สามัญสานึก" มากกว่าการใช้เหตุผล
  • 8. การสื่อสารจะประสบผลที่ต้องการเพียงใดนั้น จึงขึ้นอยู่กับปัจจัยที่เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้สื่อสาร ที่สาคัญ 5 ประการ คือ 1. มีความรู้ความสามารถ หากผู้สื่อสารมีความรู้ความสามารถทั่วไปอยู่ในระดับสูง จะมีความเชื่อมั่นใน ตนเอง รับรู้และเข้าใจสิ่งต่างๆ ได้รวดเร็ว แต่หากผู้สื่อสารมีความรู้ความสามารถต่า ความสามารถในการรับรู้และ เข้าใจสิ่งต่างๆ ย่อมจะต่าไปด้วย หากผู้ส่งสารและผู้รับสารมีพื้นฐานความรู้แตกต่างกัน กรณีผู้ส่งสาร มีความรู้ ความสามารถสูงกว่าผู้รับสาร จะให้ผลสาเร็จของการสื่อสาร ดีกว่ากรณีผู้ส่งสารมีความรู้ความสามารถต่ากว่าผู้รับ สาร 2. มีทักษะในการสื่อสาร คือมีความเชี่ยวชาญ สามารถในการพูด การเขียน การแสดง มีจิตวิทยาการจูงใจ สูง ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะต้องอาศัยความรู้ความสามารถ และการฝึกฝนตนเองเป็นสาคัญ 3. มีเจตคติที่ดี ผู้สื่อสารที่มีเจตคติที่ดีต่อกัน จะช่วยให้เข้าใจซึ่งกันและกันได้ง่ายขึ้น รู้จักวิเคราะห์ความรู้ ความคิด ข่าวสารต่างๆ อย่างเป็นเป็นกลางและมีเหตุผล แต่หากหากผู้สื่อสารมีเจตคติที่ไม่ดีต่อกัน อาจมองกันใน แง่ร้ายและบิดเบือนข่าวสาร 4. พื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรม เนื่องจากสังคม วัฒนธรรม รวมถึง เพศ และอายุ เป็นตัวกาหนดความ เชื่อ ความรู้สึกนึกคิดของคนในสังคม ผู้ที่จะสื่อสารเข้าใจกันได้ดีที่สุดนั้น ได้แก่ผู้ที่มีพื้นฐานทางสังคมวัฒนธรรม เหมือนกัน ทั้งผู้รับและผู้ส่ง ผู้สื่อสารที่มีความแตกต่างทางสังคมวัฒนธรรม อาจทาให้การสื่อสารล้มเหลว ทั้งนี้ เพราะ การพูดหรือการปฏิบัติอย่างหนึ่งในสังคมหนึ่ง อาจแปลความหมายแตกต่างไปจากอีกสังคมหนึ่ง สื่อและเทคนิคการสื่อสาร การสื่อสาร เป็นศาสตร์ที่ต้องอาศัยทั้งบุคคล วัสดุเครื่องมือ และเทคนิควิธีการในการสื่อสาร ดังนั้น ความสาเร็จในการสื่อสารส่วนหนึ่งจึงขึ้นอยู่กับ การเลือก และการใช้สื่ออย่างเหมาะสม สื่อ ( Media) โดยทั่วไปหมายถึงสิ่งที่นาหรือถ่ายทอดสาร จากผู้ส่งไปยังผู้รับ เช่น เสียงพูด กิริยาท่าทาง สิ่งพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ฯลฯ ผู้รับจะรับสารได้โดยประสาทในการรู้สึก อันได้แก่ การเห็น การได้ยิน การสัมผัส การ ได้กลิ่น การได้รับรู้รส สื่อ จึงเป็นองค์ประกอบสาคัญในการสื่อสาร สื่อแต่ละอย่างมีคุณสมบัติที่จะก่อให้เกิดการ รับรู้ แตกต่างกัน เช่น สิ่งพิมพ์ ทาให้ได้รับสารโดยการเห็น วิทยุ ทาให้รับสารได้ด้วยการได้ยิน โทรทัศน์ ให้รับสาร ได้ทั้งการเห็นและการได้ยิน ผู้ส่งสารจึงต้องพิจารณาเลือกว่าจะใช้สื่อประเภทใด จึงจะเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพสูงสุด แม้จะเป็นสื่อประเภทเดียวกัน ก็ยังอาจต้องพิจารณาในรายละเอียดลงไปอีก เช่น เมื่อเลือก สื่อสารผ่านทางหนังสือพิมพ์ ก็ต้องพิจารณาว่าจะใช้หนังสือพิมพ์ฉบับใด หรือถ้าเป็นโทรทัศน์ จะใช้ช่องใด เป็นต้น ( ปรมะ สตะเวทิน 2526 : 60 ) สื่อ สาหรับการสื่อสารในปัจจุบัน มีมากมายหลายชนิด และมีการพัฒนารูปแบบอยู่เสมอ ผู้สื่อสารจาเป็นต้องมี ความรู้และทักษะในการใช้เครื่องมือเหล่านั้นเป็นอย่างดี เช่น การใช้วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ เครื่อง ฉาย เครื่องเสียง และนอกเหนือจากนี้จะต้องเข้าใจถึงข้อดี ข้อจากัดของเครื่องมือสื่อสารแต่ละอย่างด้วย เทคนิควิธีในการสื่อสาร มีความสาคัญไม่น้อยกว่าการรู้จักใช้สื่อ ทั้งนี้เพราะการสื่อสารในสถานการณ์ที่ แตกต่างกัน ย่อมจะต้องอาศัยเทคนิควิธีการที่เหมาะสมแตกต่างกันไปด้วย ผู้สื่อสารต้องมีเทคนิควิธีในการสื่อสารที่ ดี รู้ว่าเมื่อใดควรใช้เทคนิควิธีการใด เมื่อใดควรใช้เครื่องมือช่วย เมื่อใดจะต้องทราบปฏิกิริยาตอบสนองจากผู้รับ และจะทราบได้อย่างไร เป็นต้น ตัวอย่างของการใช้เทคนิควิธีในการสื่อสาร เช่น - นาเสนอซ้าหลายๆ ครั้ง - แบ่งเนื้อหาออกเป็นตอนสั้นๆ นาเสนอทีละน้อย - กระตุ้นให้ผู้รับ ใช้ความคิด พิจารณาเหตุผล และหาข้อสรุปด้วยตนเอง - กระตุ้นให้เกิดความสนใจ ก่อนที่จะนาเสนอเรื่องราวที่เป็นสาระสาคัญ
  • 9. - แสดงเหตุผลหรือข้อเท็จจริงประกอบหลายๆ ด้าน แล้วจึงลงสรุป เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือ - ให้ผู้รับมีส่วนร่วม หรือแสดงปฏิกิริยาตอบสนอง ฯลฯ ทฤษฎีและแบบจาลองการสื่อสาร การสื่อสาร เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับ การคิด การรับรู้ การเรียนรู้ของบุคคล และมีความเกี่ยวข้อง ไปถึงบุคคลอื่นและสังคมด้วย เป็นกระบวนการที่มีความซับซ้อนมีลักษณะเป็นนามธรรม ยากที่จะอธิบายให้ชัดเจน ได้ว่า การสื่อสารมีสภาพที่แท้จริงเป็นอย่างไร หรือมีปรากฏการณ์อะไรบ้างที่เกิดขึ้นในกระบวนการสื่อสาร นักวิชาการการสื่อสารได้พยายามศึกษา ตั้งสมมุติฐาน คิดค้นหาคาอธิบาย และสร้างแผนผังหรือแบบจาลองขึ้นมา เพื่ออธิบายลักษณะหรือปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการสื่อสาร ซึ่งแบบจาลองหรือแผนผังเพื่ออธิบายการ สื่อสารดังกล่าว ในปัจจุบันมีอยู่เป็นจานวนมาก สามารถนามาสรุปเป็นทฤษฏีการสื่อสารที่สาคัญได้หลายทฤษฏี ที่ สาคัญ คือ (ธนวดี บุญลือ 2539 : 474-529 ) 1. ทฤษฎีพฤติกรรมการเข้ารหัสและถอดรหัส ทฤษฎีนี้มีความเชื่อว่า สิ่งสาคัญในการสื่อสาร คือ กระบวนการสร้างรหัสและถอดรหัสของผู้สื่อสาร ทั้งผู้รับและผู้ ส่งสาร กิจกรรมที่สาคัญของการสื่อสารได้แก่ การแปลเนื้อหาข่าวสารให้เป็นรหัสสัญญาณ (Encoding) การแปล รหัสสัญญาณกลับเป็นเนื้อหา ( Decoding) และการแปลความหมายของข่าวสาร ( Interpreting) สรุปสาระสาคัญ ของทฤษฏี ดังนี้ คือ 1.1 การสื่อสาร เป็นปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ ที่เกิดขึ้นจากความต้องการตรวจสอบและควบคุม สิ่งแวดล้อม 1.2 กระบวนการสื่อสาร ต้องมีการเข้ารหัส ถอดรหัส และแปลความหมายอยู่ตลอดเวลา 1.3 การรับรู้ ความรู้สึก ความสนใจ และการจาแนกประเภทข่าวสาร ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบเชิง สรีร เช่น ระบบกล้ามเนื้อ เกี่ยวกับการฟัง การเขียน รวมถึงกระบวนการทางอารมณ์ 1.4 เน้นการศึกษาถึงความสาพันธ์ระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร 1.5 ระบบสมอง การคิด เป็นปัจจัยสาคัญในการวิเคราะห์ตัดสินว่าสิ่งใดที่เกี่ยวข้องหรือไม่ เกี่ยวข้องกับตนเอง เป็นตัวกระตุ้นให้สนใจที่จะรับสาร 2. ทฤษฎีเชิงระบบพฤติกรรม ให้ความสาคัญกับเรื่องของสื่อหรือช่องทางการสื่อสารสรุปสาระสาคัญได้ดังนี้คือ 2.1 มุ่งอธิบายเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้น ในการส่งข่าวสาร จากผู้ส่ง ผ่านสื่อหรือช่องทาง ไปยัง ผู้รับ 2.2 เปรียบเทียบการสื่อสารของมนุษย์ได้กับการทางานของเครื่องจักร 2.3 การสื่อสารเป็นกระบวนการต่อเนื่อง หรืออาจเป็นวงกลมและเกิดสิ่งใหม่ๆ ขึ้นเสมอ 2.4 ความหมายหรือเจตนาการสื่อสาร ขึ้นอยู่กับปฏิกิริยาระหว่างผู้สื่อสารและสถานการณ์ แวดล้อม 3. ทฤษฎีเชิงปฏิสัมพันธ์ สรุปสาระสาคัญดังนี้ คือ 3.1 ให้ความสาคัญกับกระบวนการเชื่อมโยง ระหว่างผู้รับและผู้ส่งสาร ซึ่งปกติจะมีความสัมพันธ์ ด้วยอานาจภายนอกและมีปัจจัยเกี่ยวข้องหลายอย่าง 3.2 การสื่อสารจะขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายด้าน บุคคลิกภาพ ความน่าเชื่อของผู้ส่งข่าวสารเป็น ตัวกาหนดปฏิกิริยาของผู้รับสาร
  • 10. 3.3 พฤติกรรมทั้งหลายของคนเป็นผลมาจากพฤติกรรมทางการสื่อสาร 3.4 พฤติกรรมต่างๆ ของคนมีอิทธิพลต่อกระบวนการเชื่อมโยงระหว่างผู้รับและผู้ส่งสาร 4. ทฤษฎีเชิงบริบททางสังคม มีสาระสาคัญดังนี้ คือ 4.1 เน้นอธิบายเกี่ยวกับปัจจัยต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการสื่อสาร 4.2 การสื่อสารเกิดขึ้นภายใต้อิทธิพลของปัจจัยทางสังคม วัฒนธรรม 4.3 กลุ่มสังคม องค์กร มีอิทธิพลต่อความคิด ความเชื่อ การตัดสินใจ 4.4 สังคมเป็นตัวควบคลุมการไหลของกระแสข่าวสาร เมื่อสังคมมีการเปลี่ยนแปลงกระแส ข่าวสารก็เปลี่ยนแปลงไปด้วย ทฤษฎีการสื่อสารทั้ง 4 ทฤษฎีข้างตนเป็นเพียงการนาความคิดของนักวิชาการการสื่อสารมาจัดเป็นกลุ่ม ความคิดตามความคิดที่เหมือนกันบางประการเท่านั้น ความจริงนักวิชาการแต่ละคน แม้ที่ถูกจัดในกลุ่มทฤษฏี เดียวกันก็มีความแตกต่างกันอยู่มาก ซึ่งแนวความคิดของนักวิชาการสื่อสารต่างๆ สามารถอธิบายได้ด้วย แบบจาลองการสื่อสารของนักวิชาการสื่อสารแต่ละคน แบบจาลองเรื่องการสื่อสารของเบอร์โล ( Berlo) เบอร์โล (Berlo. 1960 : 40-71) เป็นผู้คิดกระบวนของการสื่อสารไว้ในลักษณะรูป แบบจาลอง S M C R Model อันประกอบด้วย 1. ผู้ส่ง (Source) ต้องเป็นผู้ที่มีทักษะความชานาญในการสื่อสาร โดยมีความสามารถใน "การเข้ารหัส" (Encode) เนื้อหาข่าวสาร มีทัศนคติที่ดีต่อผู้รับเพื่อผลในการสื่อสาร มีความรู้อย่างดีเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารที่จะส่ง และควรมีความสามารถในการปรับระดับของข้อมูลนั้นให้เหมาะสมและง่ายต่อระดับความรู้ของผู้รับ ตลอดจนมี พื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับผู้รับด้วย 2. ข่าวสาร (Message) เกี่ยวข้องทางด้านเนื้อหา สัญลักษณ์ และวิธีการส่งข่าวสารนั้น 3. ช่องทางในการส่ง ( Channel) หมายถึง วิธีการที่จะส่งข่าวสารโดยการให้ผู้รับข่าวสารข้อมูลผ่าน ประสาทสัมผัสทั้ง 5 หรือเพียงส่วนใดส่วนหนึ่ง เช่น การฟัง การดู การสัมผัส การลิ้มรส หรือการได้กลิ่น 4. ผู้รับ (Receiver) ต้องเป็นผู้มีทักษะความชานาญในการสื่อสาร โดยมีความสามารถใน "การถอดรหัส" (Decode) สาร เป็นผู้มีทัศนคติ ระดับความรู้ และพื้นฐานทางสังคม วัฒนธรรม เช่นเดียวกันหรือคล้ายคลึงกันกับ ผู้ส่ง จึงจะทาให้การสื่อสารนั้นได้ผล แบบจาลองการสื่อสารของลาสเวลล์ เป็นแบบจาลองการสื่อสารที่อธิบายกระบวนการสื่อสารเชิงพฤติกรรม ( The Behavioral of Thought) เป็นการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร เนื้อหาข่าวสาร ชนิดของสื่อที่ใช้และผลอันเกิดจากการ กระทาการสื่อสาร ลาสเวลล์อธิบายกระบวนการสื่อสารโดยตั้งเป็นคาถามเกี่ยวกับผู้ส่งสาร ผู้รับสาร และผลของ การสื่อสาร คือ ใคร พูดอะไร ผ่านช่องทางใด ถึงใคร ได้ผลอย่างไร อาจเขียนเป็นแผนภาพได้ ดังนี้ (กิดานันท์ มลิ ทอง 2536 : 26 ) ใคร คือ ผู้ส่งสาร ซึ่งเป็นตัวกาหนดและควบคุมเนื้อหาข่าวสาร พูดอะไร คือ สาร หรือเนื้อหาสาระของเรื่องที่ถูกสื่อสารออกไป ด้วยทางใด คือ ตัวกลาง หรือสื่อที่ข่าวสารถูกส่งผ่านไปยังผู้รับ กับใคร คือ ผู้รับสาร ผลอะไร คือ สิ่งที่เกิดขึ้นอันเป็นผลมาจากการสื่อสาร
  • 11. แนวคิดโดยสรุป ตามแบบจาลองของลาสเวลล์ คือ 1. อธิบายกระบวนการสื่อสารแบบง่ายๆ ซึ่งความจริงแล้วการสื่อสารของมนุษย์มีความสลับซับซ้อน มากกว่านี้ และการสื่อสารจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยปัจจัยอื่นๆ เป็นตัวกาหนด หรือมีอิทธิพล อย่างอื่น ในการสื่อสาร เช่น สภาวะแวดล้อมทางสังคม จุดมุ่งหมายในการสื่อสาร เป็นต้น 2. เน้นการสื่อสารแบบเห็นหน้ากัน ผู้สื่อสารปรากฏตัวขณะทาการสื่อสาร 3. เนื้อหาข่าวสารที่ส่งไปยังจุดหมายปลายทาง จะต้องมีจุดมุ่งหมาย เพราะคาดว่าจะต้องเกิดผลอย่างใด อย่างหนึ่ง ความจริงแล้วไม่จาเป็นเสมอไปว่าการส่งสารจะต้องมีจุดมุ่งหมายอย่างแน่นอน หรือเฉพาะเจาะจง 4. ขาดปัจจัยสาคัญตัวหนึ่งคือ ปฏิกิริยาการปูอนกลับ แบบจาลองการสื่อสารของชแรมม์ วิลเบอร์ ชแรมม์ ได้เสนอแบบจาลองการสื่อสารตามแนวความคิดของเขาไว้ 3 แบบ คือ (ธนวดี บุญลือ 2529 : 507-508 ) แบบที่ 1 อธิบายการสื่อสารเป็นกระบวนการเส้นตรง ประกอบด้วย แหล่งข่าวสาร ( Source) เข้ารหัส (Edcoder) สัญญาณ (Signal) ถอดรหัส (Decoder) และจุดหมายปลายทาง ( Destunation) ไม่ให้ความสาคัญกับการ ตอบสนองและปฏิสัมพันธิ์ระหว่างผู้สื่อสาร แบบที่ 2 อธิบายกระบวนการสื่อสารที่ผู้ส่งและผู้รับสารมีประสบการณ์บางอย่างร่วมกัน ทาการสื่อสารอยู่ภายใต้ ขอบเขตประสบการณ์ของแต่ละฝุาย ความสาเร็จของการสื่อสารจึงขึ้นอยู่กับประสบการณ์ร่วมของผู้สื่อสาร แบบที่ 3 ในกระบวนการสื่อสาร จะมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สื่อสาร อันเกิดจากการที่ทั้งสองฝุายต้องทางาน เหมือนกันในระหว่างที่ทาการสื่อสาร คือการเข้ารหัสสาร แปลความ และถอดรหัสให้เป็นสัญลักษณ์ ส่งไปยังผู้รับ สาร ซึ่งเมื่อรับเนื้อหาข่าวสารไว้แล้ว ก่อนที่จะทาการส่งสารออกไป ก็ต้องนาสารที่จะส่งออกมาเข้ารหัส แปลความ และถอดรหัส เช่นเดียวกัน เพื่อส่งกลับไปยังผู้รับ ซึ่งเป็นผู้ส่งในครั้งแรก ชแรมม์เรียกกระบวนการสื่อสารนี้ว่า เป็น กระบวนการสื่อสารแบบวงกลม รูปแบบการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Communication Patterns) (จากที่คนเขียนได้เรียนมาในวิชาภาษาไทย วิชาสุขศึกษา วิชาคอมพิวเตอร์ และ วิชาโลกศึกษา ได้บอกไว้ว่า องค์ประกอบของการสื่อสารมี ผู้ส่งสาร สื่อ(ในการส่ง) สาร(ที่จะส่ง) และผู้รับสารนะคะ) "สื่อ" ในภาษาไทยกับคาในภาษาอังกฤษ พบว่ามีความหมายตรงกับคาว่า "media" (ในกรณีที่มีความหมายเป็น เอกพจน์จะใช้คาว่า "medium")คาว่า "สื่อ" ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ ความหมายของ คานี้ ไว้ดังนี้ "สื่อ (กริยา) หมายถึงติดต่อให้ถึงกัน เช่น สื่อความหมาย, ชักนาให้รู้จักกัน สื่อ (นาม) หมายถึง ผู้ หรือสิ่งที่ติดต่อให้ถึงกันหรือชักนาให้ รู้จักกัน เช่น เขาใช้จดหมายเป็นสื่อติดต่อกัน, เรียกผู้ที่ท าหน้าที่ชักนาให้ชาย หญิงได้แต่งงานกันว่า พ่อสื่อ หรือ แม่สื่อ; (ศิลปะ) วัสดุต่างๆ ที่ นามาสร้างสรรค์งานศิลปกรรม ให้มีความหมาย ตามแนวคิด ซึ่งศิลปินประสงค์แสดงออกเช่นนั้น เช่น สื่อผสม"การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพสูงโดยทั่วไปจะเกิดจาก การสื่อสาร ต่อไปนี้ 1. การสื่อสารโดยตรงแบบเผชิญหน้า เป็นการสื่อสารที่ทั้งผู้ส่งสารและผู้รับสารต่างเผชิญหน้ากันในการสนทนา เช่น บริกรต้องเข้ามารับ order จากลูกค้า แพทย์ ต้องเข้าตรวจรักษา สอบถามอาการกับคนไข้ เป็นต้น รูปแบบการสื่อสารที่สร้างความสนใจให้แก่ผู้รับสารอย่าง ตรงไปตรงมา การสื่อสารด้วยวิ ธีนี้จึงเป็นรูปแบบที่ดีในการที่สามารถสื่อสารได้อย่างตรงไปตรงมาและมีข้อผิดพลาด ทางการสื่อสารน้อยมาก 2. การสื่อสารสองทาง การสื่อสารสองทางเป็นการสื่อสารที่มีการโต้ตอบกันไปมาของผู้ส่งสารและรับสารทั้งสองฝุาย การสื่อสารรูปแบบนี้จะไม่
  • 12. สร้างความสั บสนแก่คู่สนทนา อีกทั้งก่อให้เกิดความน่าสนใจใครรู้ และเกิดสมาธิในการรับสารได่ง่าย 3. การสื่อสารโดยช่องทางและสื่อที่หลากหลาย การสื่อสารโดยช่องทางและสื่อที่หลากหลายเป็นการเลือกใช้สื่อที่ปัจจุบันมีอยู่มากมายให้เกิดประโยชน์ในการสื่อสาร โดยพิจารณาจากความเหมาะสมของเนื้อหา สภาพแวดล้อม ผู้รับและผู้ส่งสาร รวมไปถึงปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลต่อการรับ และส่งสาร เพื่อให้การส่งสารรูปแบบที่เลือกมานั้นเป็นการสื่อสารที่ได้ผลและเสริมสร้างศักยภาพการเรียนรู้ของเด็กและ เยาวชนได้มากที่สุด 4. ผู้รับสามารถรับสารได้ปริมาณมากพอ ในแต่และบุคคลจะสามารถรับสารในแต่ละชนิดได้แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับความชอบ ความถนัด ภูมหลังและปัจจัยด้าน อื่นๆ การเลือกใช้สารที่สามารถส่งถึงผู้รับได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือส่งสารได้ในปริมาณมากพอกับความต้องการของ ผู้รับสารก็นับเป็นรูปแบบที่เหมาะสมของการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้เมื่อสารถูกส่งไปแล้วนั้นผู้รับซึ่งก็ คือเด็กและ เยาวชนหากสามารถนามาใช้ในการดาเนินชีวิตหรือสามารถนาไปใช้พัฒนาศักยภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง การยิ่ง แสดงให้เห็นถึงความสาเร็จของการสื่อสาร ไม่เพียงลดปัญหาด้านอาการขาดสมาธิ แต่ยังสามารถนาสารที่ได้รับไป พัฒนาตนเองให้มีศักยภาพสูงยิ่งขึ้นได้อีกด้วย 5. ผู้รับมีความแม่นยาเที่ยงตรงสูง ความแม่นยาเที่ยงตรงในการรับสารนั้นต้องอาศัยปัจจัยหลายประการในการรับข้อมูลข่าวสารอย่างเที่ยงตรง ทั้งประสบ การการรับสาร ประสบการณ์ในข้อมูลข่าวสารที่ถูกส่งมา อีกทั้งการมีสติและสมาธิในการรับสื่อที่ส่งมาจะมีผลอย่างสูง ต่อความแม่นยาเที่ยงตรงของข้อมูล 6. การหลีกเลี่ยงอุปสรรคในการสื่อสารดังกล่าวข้างต้น การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพต้องหลีกเลี่ยงอุปสรรคในการสื่อสารที่กล่าวมาข้างต้นทั้งหมด ทั้งนี้เพราะ อุปสรรคการสื่อสารที่เกิดขึ้นจะเป็นตัวสะท้อนให้เห็นว่าข้อมูลที่ถูกส่งมามีความถูกต้องหรือคลาดเคลื่อน เพียงใด การเกิดอุปสรรคต่างๆ ข้างต้นก็นับเป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดอาการขาดสมาธิในเด็กและเยาวชนด้วยเช่นกัน หาก สามารถลดอุปสรรคต่างๆ ไปได้การสื่อสารย่อมประสบความสาเร็จได้ในที่สุด และขอต่อด้วยส่วนหนึ่งของบทความของคุณ เกรียงศักดิ์ นิรัติพัฒนะศัย เลยนะคะ การสื่อสารคือทักษะสาคัญ ไม่ว่าตาแหน่งหรือระดับใด การสื่อสารที่ยอดเยี่ยมจะทาให้ประสบความสาเร็จในงานและใน ชีวิตได้ การสื่อสารแบ่งย่อยเป็นการพูด การฟัง และการเขียน ที่สาคัญคือกระบวนการคิดของเรา ซึ่งเป็นเบื้องหลังคือ มุมมองต่อโลก การประมวลความคิด และการถ่ายทอดความคิดออกมาเป็นสื่อ ไม่ว่าจะเป็นคาพูด อาการ หรือตัวอักษร (ในที่นี้ขอยกตัวอย่าง วิธีการปฏิบัติตนที่ดีของผู้ส่งสารและผู้รับสารนะคะ) การปฏิบัติตนที่ดีของผู้ส่งสาร (ผู้พูด) 1. ก่อนพูดออกไป คิดให้ชัดเจนที่สุดว่า เราต้องการให้เกิดภาพในใจของผู้ฟังอย่างไร เริ่มจากเปูาหมายหรือผลลัพธ์ก่อน 2. คานึงถึงกรอบทางความคิดของผู้ฟัง พื้นฐาน อายุ เพศ การศึกษา งาน และค่านิยม ปรับแต่งคาพูดให้สอดคล้องกับ กรอบทางความคิดของเขา 3. ใช้ภาษากายเสริมคาพูด จะช่วยให้เขาเห็นภาพที่เราต้องการสื่อสารเพิ่มเติมจากเสียงที่เขาได้ยิน ซึ่งเขาต้องไป ถอดรหัสเป็นภาพในใจของเขาอีกทอดหนึ่ง 4. อย่าตั้งสมมติฐานว่า ที่เราคิดจะเหมือนกับที่เขาคิด 5. พูดช้า ชัด ดัง และมีจังหวะจะโคนเหมาะกับผู้ฟัง 6. เว้นจังหวะเป็นระยะ อย่าพูดต่อเนื่อง และเต็มไปด้วยข้อมูล ให้เขาได้ย่อยความคิดบ้าง การปฏิบัติตนที่ดีของผู้รับสาร (ผู้ฟัง)
  • 13. 1. อยู่กับปัจจุบัน อย่าอยู่กับอดีตหรืออนาคตมากไป ฟังด้วยความตั้งใจ 2. อย่าวางแผนจะพูดอะไรระหว่างฟัง 3. คิดตามผู้พูด 4. สังเกตอากัปกิริยา ภาษากายด้วย 5. ถามเมื่อไม่แน่ใจ อย่าด่วนสรุป 6. หยุดทุกอย่างเมื่อฟัง (มือถือ แบล็กเบอร์รี โน้ตบุ๊ก) บทที่ 2 การรับ – ส่งอย่างมีประสิทธิภาพ การรับสารและการส่งสารเพื่อกิจธุระ การสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้การงานต่าง ๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของการดาเนินชีวิตดาเนินไปได้ ด้วยดี เช่น การทักทายปราศรัย การพูดในชีวิตประจาวัน การรับสารและการส่งสารเกี่ยวกับกิจธุระให้ประสบผลสาเร็จ วิธีการปฏิบัติดังนี้ รู้ชัดเจนถ่องแท้งาน มีความรู้ ความเข้าใจ ข้อมูลของกิจธุระนั้น ๆ อย่างชัดเจน ส่งสารตรงประเด็น พูด หรือเขียน ในสิ่งที่ต้องการสื่อความหมายให้ตรงประเด็น ไม่อ้อม ค้อม พูดเป็นขั้นตอนไม่วกวน ลาดับการพูดในเชิงกิจธุระนั้นให้มีขั้นตอนกระชับ และเข้าใจง่าย ใช้ภาษาเหมาะแก่ผู้ฟัง ใช้ภาษาเหมาะสมกับเพศ วัย พื้นฐานความรู้ ประสบการณ์ และความ พร้อมของผู้รับสาร ตั้งใจรับสารให้ครบถ้วน มีความสนใจ ตั้งใจ และทาความเข้าใจสารที่ได้รับ การส่งสารด้วยการพูด
  • 14. การส่งสารด้วยการพูด การพูดมีความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์มาก การประกอบกิจการใด การคบค้าสมาคมกับผู้อื่น ก็จะต้องสื่อสารด้วย การพูดเสมอ ส่วนหนึ่งของการพูดเราสามารถฝึกสอนกันได้ อีกส่วนหนึ่งจะเป็นศิลปะเฉพาะตัวของผู้พูดแต่ละคน ซึ่ง เลียนแบบกันได้ยาก การพูดที่มีประสิทธิภาพ จะเกิดจากการสังเกตวิธีการที่ดีและมีโอกาสฝึกฝน ความหมายของการพูด การพูดเป็นพฤติกรรมการสื่อสารที่ใช้กันแพร่หลายทั่วไป ผู้พูดสามารถใช้ทั้งวจนะภาษาและอวัจนะภาษาในการ ส่งสารติดต่อไปยังผู้ฟังได้ ชัดเจนและรวดเร็ว การพูด หมายถึง การสื่อความหมายของมนุษย์โดยการใช้เสียง และกิริยาท่าทางเป็นเครื่องถ่ายทอดความรู้ความคิด และ ความรู้สึกจากผู้พูดไปสู่ผู้ฟัง พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน ได้แยกความหมาย " การพูด " ออกเป็น ๒ คา คือ " การ " หมายถึง กิจ, งาน, ธุระ, หน้าที่ ส่วนคาว่า " พูด " หมายถึง กล่าวรวมคาทั้งสองเข้าด้วยกันเป็น " การพูด " หมายถึง กิจ พูดหรือกิจกล่าว, งานพูดหรืองานกล่าว, ธุระพูด หรือธุระกล่าว, หน้าที่พูดหรือหน้าที่กล่าว เป็นต้น การพูดที่ดี คือ การใช้ถ้อยคา น้าเสียงรวมทั้งกิริยาอาการอย่างมีประสิทธิภาพ และถูกต้องตามจรรยามารยาท และ ประเพณีนิยมของสังคม เพื่อถ่ายทอดความคิดความรู้ ความรู้สึกและความต้องการ ที่เป็นประโยชน์ ให้ผู้ฟังได้รับรู้และ เกิดการตอบสนอง สัมฤทธิ์ผลตามจุดมุ่งหมายของผู้พูด พูดให้สัมฤทธิ์ผล ความหมายของการพูดให้สัมฤทธิ์ผล การพูดให้สัมฤทธิ์ผล หมายถึง พูดให้สาเร็จตามจุดมุ่งหมายต่างๆ ความสัมฤทธิ์ผลในการ พูดก็มีลักษณะเช่นเดียวกับการฟัง คือมีได้หลายระดับขั้น ไม่ว่าจะพูดด้วยจุดมุ่งหมายใด หากสามารถทาให้ผู้ฟังตั้งใจฟัง ได้ก็สัมฤทธิ์ผลระดับขั้นหนึ่ง และถ้าทาให้ผู้ฟังทราบโดยแจ่มแจ้ง ก็ทาให้สาเร็จมากขึ้น ข้อควรระลึกและควรปฏิบัติ ผู้ที่ประสงค์จะพูดให้สัมฤทธิ์ผล จะต้องสามารถทาให้ผู้ฟังพร้อมที่จะตั้งใจฟัง รับรู้ เข้าใจในสิ่งที่พุด ยอมเปลี่ยนความคิด และการกระทา มีข้อระลึกและควรปฏิบัติดังนี้ ๑. ผู้ฟังที่อยู่ในวัยต่างกัน มีพื้นความรู้และประสบการณ์ต่างกัน ย่อมมีความสนใจและพร้อมที่จะฟังเรื่องราวต่างกัน เช่น นักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ คงไม่สนใจและไม่พร้อมที่จะฟังเรื่องราวเกี่ยวกับการไปศึกษาต่อระดับปริญญา สาขาเทคโนโลยีคุณภาพ เป็นต้น จึงจาเป็นต้องเลือกเรื่องราวให้เหมาะกับความสนใจและความพร้อมของผู้ฟัง โดย คานึงถึงวัย พื้นความรู้ และประสบการณ์ของผู้ฟังหรือกลุ่มของผู้ฟังเป็นสาคัญ ๒. ผู้ฟังมักพอใจและพร้อมที่จะฟังผู้พูดที่ให้เกียรติตน ให้ความสาคัญแก่ตนและให้ความเป็นกันเอง สาหรับวิธีที่จะทาให้ ผู้ฟังเกิดความรู้สึกว่าผู้พูดให้ความสาคัญแก่ตน คือผู้พูดมีความกระตือรือร้น เต็มอกเต็มใจที่จะพูด ไม่แสดงความเหนื่อย หน่าย หงุดหงิด สาหรับวิธีแสดงความเป็นกันเองของผู้พูดอยู่ที่คาพูดและกิริยาอาการที่ แสดงออก ในขณะทีพูดควรยิ้ม แย้ม และไม่ใช้สรรพนามที่เป็นทางการในทุกครั้ง และควรมีอารมณ์ขันบ้าง ๓. ผู้ฟังจะรับรู้ความหมายได้สมบูรณ์ก็ต่อเมื่อผู้พูดใช้ภาษาที่แจ่มแจ้ง ชัดเจนและลาดับความให้เข้าใจง่าย ผู้พูด จาเป็นต้องเลือกใช้คาที่ไม่ใช่ศัพท์แปลกหู เข้าใจยาก นอกจากนี้ต้องรู้จักใช้คาให้หลากหลายไม่ซ้าซาก และลาดับความ จากเหตุไปผลให้เป็นขั้น ๆไปเพื่อให้เข้าใจง่ายที่สุด ๔. ผู้ฟังจะให้ความเชื่อถือและศรัทธาผู้พูดเมื่อเห็นว่าผู้พูดเป็นผู้รู้จริง ไว้ใจได้และมีเจตนาดี กล่าวคือ ผู้พูดต้องพูดด้วย ความมั่นใจ อ้างอิงข้อมูลได้ถูกต้องแม่นยา อธิบายให้เห็นแจ่มแจ้ง การพูดระหว่างบุคคล การพูดระหว่างบุคคลเป็นการพูดที่ไม่เป็นทางการ ปกติทั้งผู้พูดและผู้ฟังมักไม่ได้เตรียมตัวล่วงหน้ามาก่อน ไม่
  • 15. จากัดสถานที่และเวลา เนื้อหาไม่มีขอบเขตจากัดแน่นอน แต่เป็นการพูดที่เราต้องใช้มากที่สุด และควรศึกษาฝึกฝนให้ใช้ การได้คล่องแคล่ว การพูดระหว่างบุคคล มีดังนี้ การทักทายปราศรัย การทักทายปราศรัย มักจะกล่าวคา " สวัสดี " เป็นการเริ่มต้น การใช้คาพูดต้องไม่ล่วงล้าก้าวก่ายเรื่องส่วนตัวของผู้อื่น นอกจากนี้ การทักทายที่ทาให้ผู้อื่นไม่สบายใจ ก็ไม่ควรกระทา การทักทายปราศรัยควรปฏิบัติดังนี้ ๑. ยิ้มแย้มแจ่มใสด้วยความรู้สึกยินดีที่ได้พบผู้ที่เราทักทาย ๒. กล่าวคาปฏิสันถาร หรือทักทายตามธรรมเนียมนิยมที่ยอมรับกันในสังคม เช่น "สวัสดีครับ…" "สวัสดีค่ะ…." ๓. แสดงกิริยาอาการประกอบคาปฏิสันถาร กิริยาอาการที่แสดงออกนั้นขึ้นอยู่กับฐานะบุคคลที่เราทักทาย ถ้าเป็น บุคคลที่มีฐานะเสมอกัน ก็อาจเพียงเป็นการยิ้มและผงกศีรษะเล็กน้อยซึ่งเรามักทาโดยไม่รู้ตัว การจับมือกันแบบ ตะวันตกหรือจับแขนหรือตบไหล่เบาๆ ก็เป็นสิ่งที่พอจะทาได้ ถ้ารู้จักกันดี ในการทักทายนั้น เราควรยืนให้ห่างคู่สนทนา ในระยะที่เหมาะสม ๔. ข้อความที่ใช้ประกอบการทักทาย ควรเป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดความสบายใจด้วยกันทั้งสองฝุาย การแนะนาตนเอง การแนะนาตนเอง มีความสาคัญในการดาเนินชีวิตประจาวัน เพราะเราต้องมีการพบปะกับบุคคลอื่นอยู่เสมอ บุคคล แนะนาตนเองได้ในหลายโอกาสด้วยกัน คือ ๑. การแนะนาตนเองในที่สาธารณะ ก่อนที่จะแนะนาตัว มักจะมีการสนทนาพื้นๆเริ่มก่อน ในวัฒนธรรมไทยไม่ค่อยจะ แนะนาตนเองตรงๆ แต่จะเริ่มต้นด้วยสีหน้าท่าทางที่แสดงความเป็นมิตร ช่วยเหลือกันก่อนแล้วจึงแนะนาตนเอง สีหน้า ท่าทางแสดงความยินดีที่ได้รู้จักคู่สนทนา ๒. การแนะนาตนเองในการทากิจธุระ ต้องนัดหมายล่วงหน้า ควรแต่งกายให้เรียบร้อย ไปให้ตรงตามนัด เมื่อพบบุคคล ที่นัด ควรบอกชื่อ นามสกุลให้ชัดเจน สุภาพ เพื่อให้การสื่อสารเป็นไปอย่างราบรื่น หลังจากนั้นก็ควรบอกกิจธุระของตน หรืออาจบอกกิจธุระก่อนก็ได้ ๓. การแนะนาตนเองในกลุ่มย่อย ส่วนใหญ่จะไม่รู้จักกัน เมื่อเริ่มประชุมควรแนะนาตนเองก่อน เพื่อให้เกิดความเป็น กันเอง จะได้แสดงความคิดเห็น มีส่วนร่วมประชุมได้อย่างสะดวกใจ การแนะนาตนเองก็เพียงบอกชื่อ นามสกุล สถาบัน ที่ตนสังกัดให้ได้ยินทั่วกัน เมื่อแนะนาตนเองแล้ว คนอื่นก็จะแสดงกิริยาต้อนรับ การสนทนา การสนทนา เป็นกิจกรรมที่บุคคลสองคนขึ้นไป พูดคุยกันเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ความรู้สึก และประสบการณ์ ระหว่างกันอย่างไม่เป็นทางการ การสนทนามีกฎเกณฑ์ตายตัวที่จะต้องปฏิบัติตาม มนุษย์จึงควรที่จะปรับปรุง พฤติกรรมการสนทนาให้เหมาะสมกับสมัยและสังคม ๑. การสนทนาระหว่างบุคคลที่รู้จักคุ้นเคย การสื่อสารชนิดนี้เป็นเรื่องที่สาคัญ การสนทนาที่ ดีจะนาความราบรื่น ความเจริญ และความสุขมาให้ ดังนั้นการสนทนาระหว่างบุคคลที่รู้จักคุ้นเคย ควรจะคานึงถึงเรื่อง สนทนาและคุณสมบัติของผู้ร่วมสนทนา โดยใช้คาให้คุ้นเคยและสุภาพ เรียบง่าย เข้าใจง่าย และควรรู้ว่าอะไรควรพูด อะไรไม่ควรพูด ๒.การสนทนากับบุคคลแรกรู้จัก หัวข้อเรื่องที่นามาสนทนาควรเป็นเรื่องทั่วๆไปเช่น เรื่องดินฟูาอากาศ และข่าวสาร ต่างๆ ต้องสารวมถ้อยคา กริยา มารยาท และควรสังเกตว่า คู่สนทนาชอบพูดหรือชอบฟัง ถ้าสังเกตว่าชอบพูด เราก็ ควรเป็นฝุายฟัง และพูดให้น้อยลง ถ้าสังเกตว่าชอบฟัง ก็ควรหาเรื่องมาคุยด้วย วิธีการเช่นนี้จะช่วยทาให้การสนทนา ดาเนินไปได้ด้วยดีและมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน