SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
1”
ตัวอย่างข้อสอบ สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่
1. (2562) วัตถุชิ้นหนึ่งเคลื่อนที่เป็นแนวตรงด้วยอัตราเร็ว ณ เวลาต่าง ๆ เป็นดังกราฟ
ในช่วงเวลา 0 วินาที ถึง 5 วินาที วัตถุเคลื่อนที่ด้วยระยะทางเท่าใด และช่วงเวลาใดที่ความเร่งมีทิศทาง
ตรงกันข้ามกับทิศทางการเคลื่อนที่
ระยะทาง (m) ช่วงเวลาที่ความเร่งมีทิศทางตรงข้ามกับการเคลื่อนที่
1. 0.4 0 วินาที ถึง 5 วินาที
2. 0.4 5 วินาที ถึง 10 วินาที
3. 0.4 10 วินาที ถึง 15 วินาที
4. 10 5 วินาที ถึง 10 วินาที
5. 10 10 วินาที ถึง 15 วินาที
2. (2560) พิจารณารถ A และรถ B กาลังเคลื่อนที่เข้าสู่สี่แยก C ด้วยความเร็วคงที่ตลอดข้อใดถูกต้อง
1. รถ B ถึง C ก่อนรถ A
2. รถ A และ B ถึง C พร้อมกัน
3. รถทั้งสองไม่ชนกันที่สี่แยก C
4. รถ A ถึง C ในเวลา 10 วินาที
5. รถ B ถึง C ในเวลา 7.5 วินาที
3. (2553) วัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง โดยมีตำแหน่งที่เวลำต่ำงๆ ดังกรำฟ ข้อใดคือกำรกระจัดของวัตถุ
ในช่วงเวลำ t = 0 วินำที จนถึง t = 8 วินำที
1) – 8 เมตร 2) - 4 เมตร
3) 0 เมตร 4) + 8 เมตร
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
2”
4. (2561) วัตถุหนึ่งกาลังเคลื่อนที่เป็นแนวตรงบนพื้นราบ ที่เวลา t = 10 วินาที และ t = 30 วินาที วัตถุมีความเร็ว
เท่ากับ 10 เมตรต่อวินาที และ 24 เมตรต่อวินาที ตามลาดับ ดังภาพ
วัตถุ วัตถุ
t = 10 s t = 30 s
v = 10 m/s t = 30 m/s
ขนาดของความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา t = 10 วินาที และ t = 30 วินาที มีค่าเท่าใด
1. 0.70 เมตรต่อวินำที2 2. 0.80 เมตรต่อวินำที2
3. 0.85 เมตรต่อวินำที2 4. 0.90 เมตรต่อวินำที2
5. 1.70 เมตรต่อวินำที2
5. (2563) พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้เพื่อใช้ในการตอบคาถามข้อ 5 - 6
โยนลูกบอลขึ้นในแนวดิ่งบนพื้นผิวโลก ลูกบอลเริ่มเคลื่อนที่จากจุด A ขึ้นไปถึงจุด B ซึ่งอยู่สูงจากจุด A
1.225 เมตร โดยใช้เวลา 0.5 วินาที แล้วเคลื่อนที่ลงถึงจุด A อีกครั้ง
การเคลื่อนที่ของลูกบอลจากจุด A ไปจุด B แล้วกลับมายังจุด A อีกครั้ง มีขนาดการกระจัดเท่าใดและมีขนาด
ของความเร็วเฉลี่ยเท่าใด
ขนาดการกระจัด (m) ขนาดความเร็วเฉลี่ย (m/s)
1. 0 0
2. 0 1.225
3. 0 2.450
4. 2.450 0
5. 2.450 2.450
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
3”
6. (2563) พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้เพื่อใช้ในการตอบคาถามข้อ
โยนลูกบอลขึ้นในแนวดิ่งบนพื้นผิวโลก ลูกบอลเริ่มเคลื่อนที่จากจุด A ขึ้นไปถึงจุด B ซึ่งอยู่สูงจากจุด A
1.225 เมตร โดยใช้เวลา 0.5 วินาที แล้วเคลื่อนที่ลงถึงจุด A อีกครั้ง
ข้อความใดกล่าวถึงกาเคลื่อนที่ของลูกบอลได้ถูกต้อง
1. ขณะขึ้นจากจุด A ไปจุด B ความเร่งมีทิศทางขึ้น
2. ขณะขึ้นจากจุด A ไปจุด B ความเร็วมีขนาดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
3. ขณะอยู่ที่จุด B ความเร่งเป็นศูนย์
4. ขณะลงจากจุด B ไปจุด A ความเร่งมีขนาดลดลงอย่างต่อเนื่อง
5. ขณะลงจากจุด B ไปจุด A ความเร็วมีทิศทางลง
7. (2561) ปล่อยลูกกลมยางจากหยุดนิ่งให้ตกในแนวดิ่ง ลูกกลมใช้เวลาเคลื่อนที่ 0.5 วินาที จึงกระทบพื้นจากนั้นลูกกลม
กระดอนจากพื้นกลับขึ้นไปตามแนวดิ่งอีกครั้ง โดยใช้เวลาอีก 0.4 วินาที จึงถึงจุดสูงสุด ซึ่งอยู่ต่ากว่าจุดปล่อย ดังภาพ
อัตราเร็วขณะกระดอนขึ้นจากพื้น (v2) เป็นกี่เท่าของอัตราเร็วขณะกระทบพื้น (v1)
1. 0.4 เท่ำ 2. 0.5 เท่ำ 3. 0.8 เท่ำ 4. 0.9 เท่ำ 5. 1.3 เท่ำ
8. (2557) ถ้าปล่อยให้วัตถุตกอย่างเสรีโดยไม่คิดแรงต้านอากาศ ข้อใดถูกต้อง
1) ความเร่งของวัตถุจะเพิ่มขึ้นด้วยอัตราคงตัว 2) หลังจากปล่อยวัตถุแล้ว แรงที่กระทาต่อวัตถุมีค่าเป็นศูนย์
3) ความเร็วของวัตถุเพิ่มขึ้นแต่ไปคงตัวที่ค่าๆ หนึ่ง 4) วัตถุมีความเร่งเป็นศูนย์
5) ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในแต่ละช่วงวินาที เพิ่มขึ้นตามเวลาที่ผ่านไป
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
4”
9. (En 44/2) โยนวัตถุก้อนหนึ่งขึ้นไปในแนวดิ่งโดยวัตถุขึ้นถึงจุดสูงสุดที่ B ถ้า A และ C เป็นจุดที่อยู่ในระดับ
เดียวกันดังรูป เมื่อไม่คิดผลของแรงต้านอากาศข้อต่อไปนี้ข้อใดถูก
1. ที่จุด B วัตถุมีความเร็วและความเร่งเป็นศูนย์
2. ที่จุด A และ C วัตถุมีความเร็วเท่ากัน
3. ที่จุด A และ C วัตถุมีความเร่งขนาดเท่ากัน แต่ทิศทางตรงกันข้าม
4. ที่จุด A , B และ C วัตถุมีความเร่งเท่ากันทั้งขนาดและทิศทาง
10. (2551) กราฟของความเร็ว v กับเวลา t ข้อใดสอดคล้องกับการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ถูกโยนขึ้นไปในแนวดิ่ง
11. (2560) นักเรียนคนหนึ่งเตะลูกบอลจากยอดตึกสูง 60 เมตร หลังจากนั้น 6 วินาที ลูกบอลตกลงมายังสนาม
ระดับเบื้องล่าง ห่างจากตึก 80 เมตร ดังรูป ถ้าความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก (g) เท่ากับ 9.8 เมตรต่อ
(วินาที)2
อัตราเร็วต่าสุดของลูกบอลในหน่วยเมตรต่อวินาทีขณะลอยอยู่ในอากาศเป็นดังข้อใด ถ้าแรงต้านทานของ
อากาศน้อยมากจนไม่ต้องพิจารณา
1. 9.8
2. 10.0
3. 13.3
4. 16.6
5. 32.7
12. (2554) ข้อใดใกล้เคียงกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์มากที่สุด
1) เครื่องบินขณะขึ้นบินจากสนามบิน 2) เด็กเล่นไม้ลื่น
3) ลูกเทนนิสถูกตีออกไปข้างหน้า 4) เครื่องร่อนขณะร่อนลง
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
5”
13. (2563) ยิงวัตถุ A, B และ C ขึ้นจากพื้นที่ตาแหน่งเดียวกัน ทามุมกับพื้น 20 องศา 45 องศา และ 70 องศา
ตามลาดับ พบว่า วัตถุทั้งสามชิ้นมีเส้นทางการเคลื่อนที่เป็นดังภาพและตกถึงพื้นที่ตาแหน่งเดียวกันกาหนดให้ไม่ต้อง
พิจารณาแรงต้านของอากาศ
ข้อความใดกล่าวถูกต้อง
1. วัตถุ C เคลื่อนที่ด้วยความเร่งมากที่สุด
2. วัตถุ A และ C มีขนาดของความเร็วต้นเท่ากัน
3. วัตถุ A มีขนาดของความเร็วต้นน้อยกว่าวัตถุ B
4. วัตถุทั้งสามชิ้นมีความเร็วในแนวระดับไม่คงตัวตลอดการเคลื่อนที่
5. ที่จุดสูงสุดของวัตถุแต่ละชิ้น วัตถุ C มีความเร็วในแนวดิ่งมากที่สุด
14. (2560) ชายคนหนึ่งอยู่ในห้องปิดบนเรือซึ่งกาลังเคลื่อนด้วยความเร็วคงที่ 𝑣
⃑ เทียบกับพื้นดิน เขาปล่อยก้อนหิน
ก้อนหนึ่งให้ตกลงสู่พื้นเรือ (ภาพที่ 1) ชายบนเรือจะเห็นก้อนหินตกลงสู่พื้นในแนวใด (ภาพที่ 2)
1. A
2. B
3. C
4. D
5. E
15. (2558) ดีดก้อนยำงลบออกไปในแนวระนำบจำกพื้นโต๊ะ ก้อนยำงลบเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ และไปตกไกล จำกขำโต๊ะ 2
เมตร ถ้ำต้องกำรให้ไปตกไกลจำกขำโต๊ะ 4 เมตร จะต้องดีดให้อัตรำเร็วในแนวรำบเป็นกี่เท่ำของของเดิม
1) 0.5 เท่ำ 2) 1 เท่ำ 3) √2 เท่ำ 4) 2 เท่ำ 5) 4 เท่ำ
16. (2550) ยิงวัตถุจากหน้าผาออกไปในแนวระดับ ปริมาณใดของวัตถุมีค่าคงตัว
1. อัตราเร็ว 2. ความเร็ว
3. ความเร็วในแนวดิ่ง 4. ความเร็วในแนวระดับ
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
6”
17. (2562) ทดสอบการเคลื่อนที่ของลูกบอลลูกหนึ่งจากความสูงเริ่มต้นเท่ากัน โดยครั้งที่ 1 ปล่อยให้ลูกบอลตกสู่พื้น
แบบเสรี ส่วนครั้งที่ 2 ขว้างลูกบอลในแนวระดับ ดังภาพ กาหนดให้ขนาดของความเร็วในแนวดิ่งของลูก
บอลขณะกระทบพื้น และเวลาที่ลูกบอลใช้ในการเคลื่อนที่จนกระทั่งตกถึงพื้น เป็นดังตาราง
จากข้อมูล เปรียบเทียบขนาดของความเร็ว v1 กับ v2 และเวลา t1 กับ t2 ได้เป็นอย่างไร
18. (2559) ทิศของแรงที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่แบบวงกลมด้วยอัตราเร็วคงตัวและทิศของความเร็วขณะหนึ่งของวัตถุ
ที่ กาลังเคลื่อนที่ในลักษณะดังกล่าวสัมพันธ์กันอย่างไร
1. แรงมีทิศสู่ศูนย์กลาง ความเร็วมีทิศตั้งฉากกับแรง
2. แรงมีทิศสู่ศูนย์กลาง ความเร็วมีทิศขนานกับรัศมีวงกลม
3. แรงมีทิศหนีศูนย์กลาง ความเร็วมีทิศตั้งฉากกับแรง
4. แรงมีทิศหนีศูนย์กลาง ความเร็วมีทิศเดียวกับแรง
5. แรงมีทิศหนีศูนย์กลาง ความเร็วมีทิศตรงข้ามกับแรง
19. (2559) ในขณะที่แผ่นซีดีกาลังหมุน ตาแหน่งที่รัศมี 2.0 cm จะมีอัตราเร็วเป็นกี่เท่าของตาแหน่งที่รัศมี 4.0 cm
1. 0.25 เท่า 2. 0.50 เท่า 3. 1 เท่า
4. 2 เท่า 5. 4 เท่า
20. (2557) คาบการเคลื่อนที่ของโลกรอบดวงอาทิตย์มีค่าประมาณเท่าใด
1) 24 ชั่วโมง 2) 365 วัน 3) 24 เฮิรตซ์
4) 365 เฮิรตซ์ 5) 1/365 เฮิรตซ์
เปรียบเทียบ v1 กับ v2 เปรียบเทียบ t1 กับ t2
1. v1 < v2 t1 < t2
2. v1 < v2 t1 = t2
3. v1 = v2 t1 = t2
4. v1 > v2 t1 = t2
5. v1 > v2 t1 = t2
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
7”
21. (2562) นุกจับเชือกแล้วเหวี่ยงจุกยางให้เคลื่อนที่เป็นวงกลมในระนาบระดับด้วยอัตราเร็ว v1 ดังภาพที่
เป็นมุมมองด้านบน หลังจากนั้น เมื่อเหวี่ยงด้วยอัตราเร็ว v2 แล้วพบว่า เชือกขาด จุกยางลอยไป
กระทบหัวคิตตี้ที่อยู่ใกล้ ๆ
จากสถานการณ์ เปรียบเทียบอัตราเร็ว v1 กับ v2 ได้ว่าอย่างไร และขณะที่เชือกขาดจุกยางอยู่ที่ตาแหน่งใด
เปรียบเทียบ v1 กับ v2 ตาแหน่งของจุกยางขณะที่เชือกขาด
1. v1 < v2 A
2. v1 < v2 B
3. v1 < v2 C
4. v1 > v2 A
5. v1 > v2 B
22. (2561) การเลี้ยวโค้งบนถนนราบอย่างปลอดภัยควรขับรถด้วยอัตราเร็วต่า เพื่อให้แรงสู่ศูนย์กลางมีขนาดน้อย
กว่าแรงเสียดทานสูงสุดระหว่างล้อกับพื้นถนน ซึ่งขนาดของแรงสู่ศูนย์กลาง (FC) แปรผันตรงกับอัตราเร็วยกกาลังสอง
(v2
) และแปรผกผันกับรัศมีของวงกลม (r) หรือเขียนได้ว่า
FC ∝
𝒗𝟐
𝒓
พิจารณาการเลี้ยวโค้งบนถนนราบโค้งที่มีลักษณะเป็นส่วนของวงกลมรัศมีเท่ากับ r1 และ r2 ดังภาพ
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
8”
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ความเร็วของรถ มีทิศทางตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่
ข. แรงเสียดทานระหว่างล้อกับถนน มีทิศทางตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่
ค. หากเลี้ยวโค้งด้วยอัตราเร็วเท่ากัน โค้งรัศมี r1 มีโอกาสเกิดการหลุดโค้งมากกว่าโค้งรัศมี r2
ข้อความใดกล่าวถูกต้อง
1. ก เท่ำนั้น 2. ข เท่ำนั้น 3. ค เท่ำนั้น
4. ก และ ข 5. ข และ ค
23. (2563) นาฬิกาลูกตุ้มเรือนหนึ่งมีลูกตุ้มแกว่งกลับไป-กลับมาผ่านตาแหน่ง A B และ C ดังภาพ
โดยเมื่อลูกตุ้มนาฬิกาแกว่งกลับไป-กลับมาครบ 60 รอบ เข็มยาวจะขยับไป 1 ช่อง หรือ
บอกเวลา 1 นาที เนื่องจากนาฬิกาเรือนนี้ถูกใช้งานมาเป็นเวลานานแล้ว จึงมีความเสียดทาน
ที่ทาให้ลูกตุ้มแกว่งช้ากว่าปกติ ส่งผลให้เมื่อเวลามาตรฐานผ่านไป 1 ชั่วโมง นาฬิกาเรือนนี้
บอกเวลาช้ากว่าเวลามาตรฐานอยู่ 5 นาที
จากข้อมูลของนาฬิกาเรือนนี้ การขยับของเข็มยาวไป 1 ช่อง ลูกตุ้มจะแกว่งผ่านตาแหน่ง
B กี่ครั้ง และลูกตุ้มมีคาบการแกว่างประมาณกี่วินาที
24. (2560) พิจารณารูป (ก) ถ้าต้องการให้ลูกตุ้มมีคาบของการแกว่งยาวขึ้น จะต้องทาอย่างไร
1. ลดมวล 𝑚
2. ลดความยาว l
3. เพิ่มความยาว l
4. เพิ่มมวล 𝑚 ลดความยาว l
5. ลดแอมพลิจูดของการแกว่ง
25. (2551) ข้อความใดถูกต้องเกี่ยวกับคาบของลูกตุ้มอย่างง่าย
1) ไม่ขึ้นกับความยาวเชือก 2) ไม่ขึ้นกับมวลของลูกตุ้ม
3) ไม่ขึ้นกับแรงโน้มถ่วงของโลก 4) มีคาบเท่าเดิมถ้าไปแกว่งบนดวงจันทร์
จานวนครั้งที่ผ่านตาแหน่ง B คาบการแกว่ง (S)
1. 120 1.09
2. 120 0.92
3. 60 1.09
4. 60 1.00
5. 60 0.92
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
9”
26. (2562) ปล่อยวัตถุจากตาแหน่ง A ให้เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ดังภาพ เมื่อสังเกตการเคลื่อนที่ของวัตถุ
จากแนวสมดุล (ตาแหน่ง B) ไปตาแหน่งสูงสุด (ตาแหน่ง C) แล้วกลับมาที่แนวสมดุล (ตาแหน่ง B) อีกครั้ง พบว่าใช้
เวลา 0.4 วินาที
การแกว่งนี้มีความถี่เท่าใด และถ้าเพิ่มมวลของวัตถุ ความถี่จะเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร
ความถี่ (s-1
) ความถี่หลังจากเพิ่มมวล
1. 0.4 ไม่เปลี่ยนแปลง
2. 1.25 ลดลง
3. 1.25 ไม่เปลี่ยนแปลง
4. 2.50 ลดลง
5. 2.50 ไม่เปลี่ยนแปลง
27. (2561) ศึกษาการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย โดยปล่อยลูกตุ้มจากจุด A พบว่า ลูกตุ้มแกว่งจากจุด A
ผ่านจุด B ไปถึงจุด C แล้วจึงแกว่งกลับมาถึงจุด B อีกครั้ง ใช้เวลารวมทั้งสิ้น 3.0 วินาทีความถี่ของการแกว่งเป็น
เท่าใด
1. 4.0 เฮิรตซ์
2. 1.0 เฮิรตซ์
3. 0.50 เฮิรตซ์
4. 0.33 เฮิรตซ์
5. 0.25 เฮิรตซ์
28. (2549) นอตขนำดเล็กผูกด้วยสำยเอ็นแขวนไว้ให้สำยยำว L ซึ่งสำมำรถเปลี่ยนให้มีค่ำต่ำงๆ ได้คำบ
กำรแกว่ง T ของนอตจะขึ้นกับควำมยำว L อย่ำงไร
1. 2
T เป็นปฏิภำคโดยตรงกับ L 2. T เป็นปฏิภำคโดยตรงกับ L
3. 2
T เป็นปฏิภำคโดยตรงกับ 2
L 4. T เป็นปฏิภำคโดยตรงกับ L
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
10”
29. (2560) พิจารณารูป (ข) สายลูกตุ้มแกว่งไปได้ครึ่งทางก็ชนหมุดแล้วแกว่งต่อ เวลาที่ใช้แกว่งจากตาแหน่ง A ไป
B เป็นกี่เท่าของเวลา B ไป C
1. 1
2
2. 1
√2
3. 1
4. √2
5. 2
ตัวอย่างข้อสอบ สาระที่ 5 พลังงาน
30. (2562) ทดสอบวัตถุชิ้นหนึ่งบนพื้นผิวโลกและดาวเคราะห์ A ซึ่งมีขนาดของสนามโน้มถ่วงมากเป็น 6 เท่าของโลก
ดังนี้
1) ชั่งน้าหนักของวัตถุบนพื้นผิวดาวเคราะห์ทั้งสองดวง
2) ปล่อยวัตถุให้ตกแบบเสรีเหนือพื้นผิวดาวเคราะห์ทั้งสองดวงจากระดับความสูงเท่ากัน
ผลการทดสอบเป็นดังตาราง
ดาวเคราะห์ น้าหนักของวัตถุ (N) เวลาที่วัตถุใช้ในการตกถึงพื้น (s)
โลก 60 T1
A X T2
จากข้อมูล X มีค่าเท่าใด และเปรียบเทียบเวลา T1 กับ T2 ได้เป็นอย่างไร
X (N) เปรียบเทียบเวลา T1 กับ T2
1. 10 T1<T2
2. 10 T1>T2
3. 60 T1=T2
4. 360 T1<T2
5. 360 T1>T2
31. (2552) วัตถุอันหนึ่งเมื่ออยู่บนโลกที่มีสนามโน้มถ่วงg พบว่ามีน้าหนักเท่ากับ 1
W ถ้านาวัตถุนี้ไปไว้บนดาวเคราะห์
อีกดวงพบว่ามีน้าหนัก 2
W จงหามวลของวัตถุนี้
1. 1
W
g
2. 2
W
g
3.

1 2
W W
g
4.

2 1
2
W W
g
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
11”
32. (2561) กาหนดให้ ความเร่งโน้มถ่วงที่พื้นผิวดาวเคราะห์ A เท่ากับ 3 เมตรต่อวินาที2
ความเร่งโน้มถ่วงที่พื้นผิวดาวเคราะห์ B เท่ากับ 1 เมตรต่อวินาที2
ถ้าชั่งน้าหนักของวัตถุมวล 2 กิโลกรัม บนพื้นผิวดาวเคราะห์ทั้งสอง น้าหนักของวัตถุ ณ ดาวดวงใด
มีค่ามากกว่ากัน และมากกว่ากันเท่าใด
1. น้าหนักของวัตถุบนดาวเคราะห์ A มากกว่า และมากกว่า 2 นิวตัน
2. น้าหนักของวัตถุบนดาวเคราะห์ A มากกว่า และมากกว่า 4 นิวตัน
3. น้าหนักของวัตถุบนดาวเคราะห์ B มากกว่า และมากกว่า 2 นิวตัน
4. น้าหนักของวัตถุบนดาวเคราะห์ B มากกว่า และมากกว่า 4 นิวตัน
5. นาหนักของวัตถุบนดาวเคราะห์ A และ B เท่ากัน
33. (2558) เหตุใดค่ำควำมเร่งโน้มถ่วง (g) ที่ตำแหน่งวงโคจรของดำวเทียมจึงมีค่ำน้อยกว่ำค่ำควำมโน้ม
ถ่วงที่ผิวโลก
1) อำกำศที่ตำแหน่งวงโคจรเบำบำงมำก
2) แรงดึงดูดระหว่ำงโลกกับดำวเทียมที่ตำแหน่งวงโคจรมีค่ำน้อยกว่ำที่ตำแหน่งบนผิวโลก
3) ดำวเทียมมีกำรโคจรเป็นวงกลมรอบโลก
4) มีแรงดึงดูดจำกดำวฤกษ์ดวงอื่นมำกระทำต่อดำวเทียม
5) ดำวเทียมเคลื่อนที่ด้วยอัตรำเร็วสูง ขนำนไปกับผิวโลก
34. (2562) ต่อแผ่นโลหะขนานเข้ากับเครื่องจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง โดยให้แผ่นโลหะแต่ละแผ่น ต่อเข้ากับขั้วไฟฟ้าบวก
หรือลบจากนั้นวางอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าบวกระหว่างแผ่นโลหะขนาน ดังภาพผลคือ อนุภาคที่เคลื่อนที่เข้าหาแผ่นโลหะ A
แผ่นโลหะใดต่อกับขั้วไฟฟ้าบวก ทิศของสนามไฟฟ้าและทิศของแรงไฟฟ้าที่กระทาต่ออนุภาคเป็นอย่างไร
แผ่นโลหะที่ต่อกับขั้วไฟฟ้าบวก ทิศของแรงไฟฟ้า ทิศของแรงไฟฟ้า
1. A ชี้จากแผ่น A ไปหาแผ่น B ชี้เข้าหาแผ่น A
2. A ชี้จากแผ่น A ไปหาแผ่น B ชี้เข้าหาแผ่น B
3. A ชี้จากแผ่น Bไปหาแผ่น A ชี้เข้าหาแผ่น B
4. B ชี้จากแผ่น Bไปหาแผ่น A ชี้เข้าหาแผ่น A
5. B ชี้จากแผ่น A ไปหาแผ่น B ชี้เข้าหาแผ่น A
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
12”
35. (2563) โดยปกติแล้ว พื้นผิวโลกมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า เนื่องจากประจุไฟฟ้าบวกและลบมีจานวนเท่าๆ กัน
แต่ในช่วงที่เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง บริเวณฐานเมฆจะมีประจุไฟฟ้าลบอยู่เป็นจานวนมากดังภาพ แรงไฟฟ้า
และสนามไฟฟ้าจากฐานเมฆจะทาให้พื้นผิวโลกที่อยู่ใต้ฐานเมฆไม่เป็นกลางทางไฟฟ้า
จากภาพ ทิศทางของสนามไฟฟ้าระหว่างฐานเมฆกับพื้นผิวโลกใต้เมฆเป็นอย่างไร และถ้านาอนุภาคที่มี
ประจุไฟฟ้าลบตัวหนึ่งไปไว้ที่จุด X จะมีแรงไฟฟ้าจากฐานเมฆกระทาต่ออนุภาคดังกล่าวหรือไม่ อย่างไร
ทิศทางของสนามไฟฟ้า แรงไฟฟ้า
1. เข้าหาเมฆ ไม่มี เพราะมีประจุไฟฟ้าลบเหมือนกัน
2. เข้าหาเมฆ มี โดยมีทิศทางออกจากเมฆ
3. ออกจากเมฆ ไม่มี เพราะมีประจุไฟฟ้าลบเหมือนกัน
4. ออกจากเมฆ มี โดยมีทิศทางเข้าหาจากเมฆ
5. ออกจากเมฆ มี โดยมีทิศทางออกจากเมฆ
36. (2563) วางแท่งแม่เหล็ก 2 แท่งในตาแหน่งดังที่กาหนดในภาพ จากนั้น ยิงอิเล็กตรอนเข้าไปที่ตรงกลางระหว่าง
แท่งแม่เหล็กทั้งสอง ในทิศพุ่งเข้าและตั้งฉากกับระนาบของกระดาษ พบว่า อิเล็กตรอนเบนไปทางด้านบน
กาหนดให้ แทน อิเล็กตรอนที่กาลังเคลื่อนที่พุ่งเข้าและตั้งฉากกับระนาบของกระดาษ
แทน ตาแหน่งที่สามารถวางแท่งแม่เหล็กได้
จากข้อมูลสนามแม่เหล็กมีทิศทางใด ขั้วเหนือและขั้วใต้ของแท่งแม่เหล็กคือ
ตาแหน่งใด
ทิศทางของ
สนามไฟฟ้า
ตาแหน่งขั้วแม่เหล็ก
ขั้วเหนือ ขั้วใต้
1. จาก A ไปหา C C A
2. จาก A ไปหา C A C
3. จาก B ไปหา D B D
4. จาก B ไปหา D D B
5. จาก C ไปหา A A C
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
13”
37. (2562) ยิงโปรตอนเข้าไปในบริเวณที่สนามแม่เหล็กสม่าเสมอ ผลคือโปรตอนเคลื่อนที่เบนออกจากแนวเดิมโดยมี
เส้นทางการเคลื่อนเป็นส่วนโค้งของวงกลม โดยความเร็วมีขนาดคงตัว ทิศทางขนานกับระนาบกระดาษ
ตลอดเวลาภาพใดแสดงทิศทางของสนามแม่เหล็กในกรณีนี้ได้ถูกต้อง
กาหนดทิศทางของสนามแม่เหล็กดังนี้
แทน ทิศทางขนานกับระนาบกระดาษ
× แทน ทิศทางพุ่งเข้าและตั้งฉากกับระนาบกระดาษ
แทน ทิศทางพุ่งออกและตั้งฉากกับระนาบกระดาษ
38. (2550) บริเวณพื้นที่สี่เหลี่ยม ABCD เป็นบริเวณที่มีสนำมแม่เหล็กสม่ำเสมอซึ่งมีทิศพุ่งออกตั้งฉำกกับ
กระดำษดังรูป ข้อใดต่อไปนี้ที่ทำให้อนุภำคโปรตอนเคลื่อนที่เบนเข้ำหำด้ำน AB ได้
1) ยิงอนุภำคโปรตอนเข้ำไปในบริเวณ จำกทำงด้ำน AD ในทิศตั้งฉำกกับเส้น AD
2) ยิงอนุภำคโปรตอนเข้ำไปในบริเวณ จำกทำงด้ำน BC ในทิศตั้งฉำกกับเส้น BC
3) ยิงอนุภำคโปรตอนเข้ำไปในบริเวณ จำกทำงด้ำน AD ในทิศตั้งฉำกกับเส้น AC
4) ยิงอนุภำคโปรตอนเข้ำไปในบริเวณ จำกทำงด้ำน DC ในทิศตั้งฉำกกับเส้น DB
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
14”
39. (2563) นพและนิดจับขดลวดสปริงคนละข้างและวางบนพื้นลื่น นพขยับปลายของขดลวดสปริงเข้าและออกจาก
ตัวเองอย่างต่อเนื่อง พบว่า เกิดคลื่นบนขดลวดสปริงเคลื่อนที่เข้าหานิดโดยมีอัตราเร็วคลื่น 1.2 เมตรต่อวินาทีและ
ส่วนของสปริงที่ถูกอัดอยู่ห่างกัน 1.5 เมตร ดังภาพที่เป็นมุมมองจากด้านบน
คลื่นดังกล่าวเป็นคลื่นชนิดใด และอนุภาคของขดลวดสปริง ณ ตาแหน่งหนึ่งๆ จะเคลื่อนที่กลับไปกลับมา
ด้วยความถี่เท่าใด
ชนิดของคลื่น ความถี่ (1/S)
1. คลื่นตามขวาง 0.8
2. คลื่นตามขวาง 1.25
3. คลื่นตามยาว 0.8
4. คลื่นตามยาว 1.25
5. คลื่นตามยาว 1.8
40. (2563) ตรึงเชือกยาวเส้นหนึ่งเข้ากับเสาให้แน่น จับปลายเชือกสะบัดในทิศทางขึ้นหนึ่งครั้ง เว้นช่วงเวลาเล็กน้อย
แล้วสะบัดขึ้นอีกครั้ง พบว่า เกิดสันคลื่นของคลื่นดล 2 ขบวน ที่เหมือนกันทุกประการเคลื่อนที่เข้าหาเสา ดังภาพ
ในการพบกันของคลื่นขบวนแรกที่สะท้อนจากเสา กับ คลื่นขบวนหลังที่กาลังเข้าหาเสา ถ้ากล่าวว่า “คลื่นรวม
จะมีแอมพลิจูดเป็นศูนย์ ทาให้ไม่เหลือคลื่นเคลื่อนที่บนเส้นเชือกอีก”
คากล่าวดังกล่าว ถูกต้องตามหลักการของคลื่นหรือไม่ อย่างไร
1. ถูกต้อง เพราะคลื่นทั้งสองขบวนจะเกิดการแทรกสอดหักล้าง ทาให้ไม่เหลือคลื่นบนเส้นเชือกอีก
2. ไม่ถูกต้อง เพราะคลื่นทั้งสองขบวนจะเกิดการแทรกสอดเสริม ซึ่งแอมพลิจูดจะไม่เป็นศูนย์
3. ไม่ถูกต้อง เพราะคลื่นทั้งสองขบวนจะเกิดการแทรกสอดหักล้าง แล้วคลื่นจะเคลื่อนที่ผ่านกันไป
4. สรุปไม่ได้ เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าคลื่นทั้งสองขบวนจะเกิดการแทรกสอดเสริมหรือหักล้าง
5. สรุปไม่ได้ เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าคลื่นขบวนแรกที่สะท้อนจากเสาจะมีลักษณะเป็นสันคลื่นหรือท้อง
คลื่น
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
15”
41. (2563) ศึกษาเสียงที่เกิดจากแหล่งกาเนิดเสียงที่เป็นจุด มีกาลังเสียงคงตัว และสามารถปรับค่าความถี่ของเสียงได้
ทดลองวัดความดันอากาศที่เวลาต่าง ๆ โดยจัดชุดการทดลองต่างกัน ได้ผลการวัดความดันอากาศ ดังกราฟ
ผลการวัดความดันอากาศครั้งที่ 2 เกิดจากการจัดชุดการทดลองอย่างไรเมื่อเปรียบเทียบกับครั้งที่ 1
ความถี่ของเสียง ระยะห่างระหว่างเครื่องวัดกับแหล่งกาเนิดเสียง
1. น้อยลง เท่าเดิม
2. น้อยลง มากขึ้น
3. เท่าเดิม น้อยลง
4. เท่าเดิม มากขึ้น
5. มากขึ้น น้อยลง
42. (2562) สะบัดปลายเชือกเส้นหนึ่งขึ้นอย่างและลงอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดคลื่นบนเส้นเชือกในขณะที่สะบัดอยู่นั้น
เมื่อพิจารณาการเคลื่อนที่ของอนุภาคของเชือก ณ ตาแหน่งหนึ่งซึ่งเคลื่อนที่ขึ้นและลงอย่างต่อเนื่อง พบว่า อนุภาค
ดังกล่าวมีการกระจัดตามแนวดิ่งเปลี่ยนแปลงตามเวลา ดังกราฟ
ถ้าคลื่นบนเส้นเชือกนี้มีความยาวคลื่น 2.4 เมตร อัตราเร็วของคลื่นมีค่าเท่าใด
1. 0.2 เมตรต่อวินาที 2. 0.5 เมตรต่อวินาที 3. 0.6 เมตรต่อวินาที
4. 1.2 เมตรต่อวินาที 5. 4.8 เมตรต่อวินาที
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
16”
43. (2563) ศึกษาเสียงที่เกิดจากแหล่งกาเนิดเสียงที่เป็นจุด มีกาลังเสียงคงตัวและสามารถปรับค่าความถี่ของเสียง
ได้ วางแหล่งกาเนิดเสียง 2 แหล่ง ที่มีกาลังเสียงเท่ากันไว้ใกล้ๆ กัน
แหล่งกาเนิดเสียง X ให้เสียงที่มีความถี่เท่ากับผลของการวัดความดันอากาศดังกราฟ
แหล่งกาเนิดเสียง Y ให้เสียงที่มีความถี่เท่ากับ 200 เฮิรตซ์
แหล่งกาเนิดเสียง X ให้เสียงความถี่เท่าใดและถ้าเปิดแหล่งกาเนิดเสียง X และ Y พร้อมกัน คนหูปกติจะได้
ยินเสียงเป็นอย่างไร ถ้ากาหนดให้คนหูปกติสามารถได้ยินการเกิดบีต เมื่อความถี่บีตไม่เกิน 7 ครั้งต่อวินาที
44. (2554) คลื่นกลตามยาวและคลื่นกลตามขวางถูกนิยามขึ้นโดยดูจากปัจจัยใดเป็นหลัก
1) ทิศการเคลื่อนที่ของเคลื่อน 2) ทิศการสั่นของอนุภาคตัวกลาง
3) ประเภทของแหล่งกาเนิด 4) ความยาวคลื่น
45. (2557) ข้อใดเกี่ยวข้องกับการหักเหของคลื่น
1) ค้างคาวสามารถบินหลบสิ่งกีดขวางได้ในที่มืด 2) การไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง แต่เห็นฟ้าแลบ
3) การบุผนังห้องประชุมด้วยวัสดุดูดซับเสียง 4) การตรวจจับเครื่องบินด้วยเรดาร์
5) การได้ยินเสียงเพลงแม้หันลาโพงไปทางอื่น
46. (2557) ของเล่นโทรศัพท์อย่างง่ายทาจากถ้วยกระดาษสองใบ เจาะรูที่ก้นและร้อยเชือกผูกปมเด็กสองคนถือถ้วย
กระดาษให้เชือกตึง เมื่อคนหนึ่งพูดอีกคนจะได้ยินเสียงพูดซึ่งส่งมาตามเส้นเชือก ถ้าดึงเชือกให้ตึงขึ้นอัตราเร็วเสียงใน
เส้นเชือกจะเพิ่มขึ้น หากคนพูดพูดเหมือนเดิม เสียงที่เด็กอีกคนได้ยินจะเป็นอย่างไร
1) เหมือนเดิม 2) เสียงแหลมขึ้น 3) เสียงทุ้มขึ้น
4) เสียงดังค่อยสลับกัน 5) เสียงจะก้องจนฟังไม่รู้เรื่อง
ความถี่ (Hz) ลักษณะของเสียง
1. 0.003 เสียงดังอย่างต่อเนื่อง
2. 0.003 เสียงดังสลับค่อย
3. 207 เสียงดังอย่างต่อเนื่อง
4. 250 เสียงดังสลับค่อย
5. 250 เสียงดังอย่างต่อเนื่อง
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
17”
. 47. (2562) ผู้กองอ้วนแต่งกายนอกเครื่องแบบ แอบฟังการสนทนาของผู้ต้องสงสัย X และ Y ในห้องโถง
ของโรงแรมแห่งหนึ่ง กาหนดดังนี้
 ขีดเริ่มของการได้ยินของผู้กองอ้วนเป็นดังภาพ
 เสียงการสนทนาที่ผู้กองอ้วนได้รับมีระดับความเข้มแข็งเสียงอยู่ในช่วง 10 - 20 เดซิเบล
โดย ผู้ต้องสงสัย X ใช้เสียงที่มีความถี่ในช่วง 400 – 1,000 เฮิรตซ์
ผู้ต้องสงสัย Y ใช้เสียงที่มีความถี่ในช่วง 2,000 - 4,000 เฮิรตซ์
จากกราฟ ผู้กองอ้วนจะเริ่มได้ยินเสียงใด ๆ ที่มีความถี่ 100 เฮิรตซ์ เมื่อเสียงนั้นมีระดับ
ความเข้มเสียงเท่าใด และจากข้อมูลเสียงของผู้ต้องสงสัย ผู้กองอ้วนมีโอกาสที่จะไม่ได้ยินเสียงของผู้ต้องสงสัยคนใด
48. (2558) เสียงบีตส์เกิดจากการผสมกันของคลื่นเสียงสองขบวนที่มีสมบัติใดต่างกันเล็กน้อย
1) อัตราเร็วคลื่น 2) แอมพลิจูด 3) ความดัง
4) ความถี่ 5) ระดับความเข้มเสียง
49. (2552) ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นตามยาว
1) เป็นคลื่นที่เคลื่อนที่ไปตามแนวยาวของตัวกลาง 2) เป็นคลื่นที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่
3) เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางมีการสั่นได้หลายแนว
4) เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางมีการสั่นในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น
ระดับความเข้มเสียง(dB) ผู้ต้องสงสัยที่ผู้กองอ้วนอาจไม่ได้ยินเสียง
1. -5 Y
2. 0 X
3. 0 Y
4. 40 X
5. 40 Y
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
18”
50. (2562) เอื้อยนั่งริมสระน้าและใช้เท้าตีผิวน้าอย่างสม่าเสมอ ทาให้เกิดคลื่นน้าเคลื่อนที่ออกจากจุดกาเนิดไปสู่
บริเวณอื่น ๆ เอื้อยสังเกตได้ว่า เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากบริเวณน้าลึกเข้าสู่บริเวณน้าตื้นผิวน้ามีลักษณะเป็น ดังภาพ
จากผลการสังเกต ถ้าเอื้อยคิดว่า “คลื่นมีความยาวคลื่นลดลงเช่นนี้ เพราะคลื่นมีความถี่สูงขึ้น”
ความคิดนี้ถูกต้องหรือไม่ เพราะเหตุใด
1. ถูกต้อง เพราะเมื่ออัตราเร็วคงตัว ถ้าความยาวคลื่นลดลง ความถี่จะสูงขึ้น
2. ถูกต้อง เพราะในช่วงระยะทางเท่านั้น บริเวณน้าตื้นมีจานวนลูกคลื่นมากกว่าความถี่จึงสูงขึ้น
3. ไม่ถูกต้อง เพราะระยะห่างระหว่างสันคลื่นที่อยู่ติดกันแสดงถึงความถี่ของคลื่นความถี่จึงต่าลง
4. ไม่ถูกต้อง เพราะเมื่อคลื่นเดินทางจากบริเวณน้าลึกเข้าสู่บริเวณน้าตื้น ความถี่จะไม่เปลี่ยนแปลง
5. ยังสรุปไม่ได้ เพราะไม่ทราบการเปลี่ยนแปลงอัตราเร็วของคลื่นระหว่างสองบริเวณ
51. (2562) ครูให้มายด์ยืนฟังเสียงที่แผ่ออกจากแหล่งกาเนิดเสียงหนึ่ง ซึ่งเป็นจุด มีกาลังเสียงคงตัวและให้เสียง
ความถี่ลงตัว จากนั้นครูให้มายด์เดินเข้าใกล้แหล่งกาเนิดเสียงอีกเล็กน้อยแล้วยืนฟังอีกครั้งครูถามว่า เสียงที่ได้ยินทั้ง
สองครั้งแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร มายด์จึงตอบครูดังนี้
“เสียงที่ได้ยินทั้งสองครั้งแตกต่างกันค่ะ เพราะเมื่อหนูอยู่ใกล้แหล่งกาเนิดมากขึ้นเสียงมีความถี่สูงขึ้น
และเนื่องจากหนูยืนฟังจาก 2 ตาแหน่งที่มีความถี่ต่างกันเล็กน้อย หนูคิดว่าเสียงนี้ก็เกิดบีตด้วยค่ะ”
คาตอบของมายด์ไม่ถูกต้องตามหลักการของเสียงอย่างไร
1. เมื่ออยู่ใกล้แหล่งกาเนิดเสียงมากขึ้น ความถี่จะต้องต่าลง และเสียงนี้เกิดบีต
2. เมื่ออยู่ใกล้ตาแหน่งเกิดเสียงมากขึ้น ความถี่จะเท่าเดิม แต่ความดังจะเพิ่มขึ้น และเสียงนี้
ไม่เกิดบีต
3. เมื่ออยู่ใกล้ตาแหน่งเสียงมากขึ้น ความถี่จะเท่าเดิม แต่ความเข้มเสียงจะลดลง และเสียงนี้
ไม่เกิดบีต
4. บีตจะต้องเกิดจากเสียงที่มีความดังต่างกันเล็กน้อย แต่เสียงนี้มีความถี่ต่างกันเล็กน้อย
จึงไม่เกิดบีต
5. บีตจะต้องเกิดจากเสียงที่มีความเข้มเสียงต่างกันเล็กน้อย แต่เสียงนี้มีความถี่ต่างกันเล็กน้อย
จึงไม่เกิดบีต
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
19”
52. (2562) อุปกรณ์ชนิดหนึ่งปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งเคลื่อนที่จากซ้ายไปขวาของระนาบกระดาษโดยสนามไฟฟ้า
มีทิศทางตามแนวบน – ล่าง ดังภาพ
จากภาพ สนามแม่เหล็กมีทิศทางเป็นอย่างไร และถ้าปรับอุปกรณ์นี้ให้ปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ความถี่ต่าลงแล้ว ความยาวคลื่นจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร
53. (2563) ยิงรังสีของแสงให้เคลื่อนที่จากแก้วไปยังสุญญากาศ พบว่า ความยาวคลื่น ( ) และอัตราเร็ว (v ) มี
การเปลี่ยนแปลง ถ้าคลื่นเคลื่อนที่จากซ้ายไปขวา โดยมีสนามแม่เหล็กทิศทางตามแนวบน-ล่าง ของระนาบกระดาษ ดังภาพ
ทิศทางของสนามแม่เหล็ก การเปลี่ยนแปลงของความยาวคลื่น
1. แนวบน – ล่าง เพิ่มขึ้น
2. แนวบน – ล่าง ลดลง
3. แนวซ้าย – ขวา ลดลง
4. แนวพุ่งเข้า – พุ่งออก
ตั้งฉากกับระนาบกระดาษ
เพิ่มขึ้น
5. แนวพุ่งเข้า – พุ่งออก
ตั้งฉากกับระนาบกระดาษ ลดลง
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
20”
ความยาวคลื่นในสุญญากาศ 2 มีค่าเป็นเท่าใด และทิศทางของสนามไฟฟ้าเป็นอย่างไร
2 (nm) ทิศทางของสนามไฟฟ้า
1. 651 แนวพุ่งเข้า-พุ่งออก ตั้งฉากกับระนาบกระดาษ
2. 651 แนวบน-ล่าง
3. 651 แนวซ้าย-ขวา
4. 868 แนวพุ่งเข้า-พุ่งออก ตั้งฉากกับระนาบกระดาษ
5. 868 แนวบน-ล่าง
54. (2562) ระบบการขนส่งมวลชนในประเทศหนึ่ง เกิดปัญหาขัดข้องเนื่องจากสัญญาณที่ใช้ในการสื่อสารถูกรบกวน
อย่างหนักกาหนดข้อมูลดังต่อไปนี้
 ถ้าพิจารณาเฉพาะความถี่ของคลื่น ปัญหาคลื่นรบกวนมักเกิดขึ้นเมื่อคลื่นอยู่ในช่วงความถี่
เดียวกัน
 ระบบการขนส่งมวลชนดังกล่าวใช้สัญญาณสื่อสารที่มีความยาวคลื่น
1
810
x 102 เมตร
 ระบบโทรคมนาคมอื่น ๆ ที่อาจทาให้เกิดปัญหาคลื่นรบกวนได้แก่
ระบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ใช้ช่วงความถี่ 2,310 – 2,370 เมกะเฮิรตซ์
ระบบเครือข่ายไร้สายสาธารณะ ใช้ช่วงความถี่ 2,401 – 2,495 เมกะเฮิรตซ์
 อัตราเร็วของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าอากาศ เท่ากับ 3 X 108 เมตรต่อวินาที
จากข้อมูล สัญญาณของระบบการขนส่งมวลชนมีโอกาสถูกรบกวนจากคลื่นในระบบใดมากที่สุดและถ้าระบบ
การขนส่งมวลชนปรับไปใช้คลื่นสัญญาณที่มีความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ์ ความยาวคลื่นจะเปลี่ยนแปลงหรือไม่
อย่างไร
ระบบที่มีโอกาสส่งสัญญาณรบกวนมากที่สุด ความยาวคลื่นเมื่อปรับความถี่
1. เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ลดลง
2. เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ เพิ่มขึ้น
3. เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ เท่าเดิม
4. เครือข่ายไร้สายสาธารณะ เท่าเดิม
5. เครือข่ายไร้สายสาธารณะ เพิ่มขึ้น
55. (2559) ถ้าในธรรมชาติไม่มีแรงนิวเคลียร์ เหตุการณ์ใดต่อไปนี้น่าจะเป็นไปได้มากที่สุด
1. เกิดเฉพาะธาตุไฮโดรเจน ( H
1
1 ) 2. เกิดเฉพาะธาตุไฮโดรเจน ( H
1
1 ) และฮีเลียม ( H
4
2 )
3. ธาตุสูญเสียอิเล็กตรอนวงนอกสุด 4. ธาตุทุกตัวจะปล่อยกัมมันตรังสี
5. นิวเคลียสจะมีเฉพาะโปรตอน ไม่มีนิวตรอน
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
21”
56. (2562) พิจารณาข้อความเกี่ยวกับแรงภายในอะตอมต่อไปนี้
ก. โปรตอนและนิวตรอนต่างประกอบขึ้นจากอนุภาคมูลฐานที่เรียกว่า ควาร์ก ซึ่งควาร์กแต่ละ
อนุภาคจะมีแรงนิวเคลียร์แบบเข้มกระทาต่อกันเพื่อยึดเหนี่ยวกัน
ข. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างควาร์กทาให้นิวคลีออนรวมกันอยู่ภายในนิวเคลียส และดึงดูดอิเล็กตรอน
ให้เคลื่อนที่รอบ ๆ นิวเคลียส
ค. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างควาร์กมีค่าสูงมาก แต่มีระยะการส่งแรงสั้นมาก ซึ่งอยู่ที่ประมาณระยะห่าง
ระหว่างอะตอมที่อยู่ติดกัน
ข้อความใดกล่าวถูกต้อง
1. ก เท่านั้น 2. ค เท่านั้น 3. ก และ ข
4. ก และ ค 5. ข และ ค
57. (2563) ถ้าสมมติในอนาคตแรงนิวเคลียร์หายไปจากธรรมชาติ “ทุกอะตอมจะไม่สามารถคงสภาพอะตอมได้”
คากล่าวข้างต้น ถูกต้องตามหลักการของแรงในธรรมชาติหรือไม่ เพราะเหตุใด
1. ถูกต้อง เพราะจะไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโปรตอนและนิวตรอนที่ทาให้มีนิวเคลียส
2. ถูกต้อง เพราะจะไม่มีแรงที่ทาหน้าที่ดึงดูดระหว่างนิวตรอนกับอิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆ
3. ไม่ถูกต้อง เพราะยังมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างนิวคลีออนที่ทาให้มีนิวเคลียส
4. ไม่ถูกต้อง เพราะยังมีแรงไฟฟ้าระหว่างโปรตอนกับอิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆ ให้คงสภาพอะตอมได้
5. ไม่ถูกต้อง เพราะยังมีแรงโน้มถ่วงกระทาระหว่างโปรตอน นิวตรอนและอิเล็กตรอนให้คงสภาพ
อะตอมได้
58. (2563) พิจารณาปฏิกิริยานิวเคลียร์ต่อไปนี้
  
9 4 12 1
4 2 6 0
Be He C X
กาหนดให้ มวลรวมของนิวเคลียสก่อนเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ เท่ากับ 
 27
2161 10
. กิโลกรัม
มวลรวมของนิวเคลียสหลังเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ เท่ากับ 
 27
21 60 10
. กิโลกรัม
อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ เท่ากับ  8
3 10 เมตรต่อวินาที
ข้อความใดกล่าวถูกต้อง
1. 1
0 X มีมวลเป็นศูนย์
2. 1
0 X มีประจุไฟฟ้าบวก
3. ปฏิกิริยานิวเคลียร์นี้เป็นนิวเคลียร์ฟิชชัน
4. พลังงานที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ เท่ากับ 
 13
9 10 จูล
5. มวลรวมของนิวเคลียสหลังเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ มีค่าลดลง 0.01 กิโลกรัม
59. (2558) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดใดต่อไปนี้ มีความสามารถในการทะลุทะลวงสูงที่สุด
1) คลื่นวิทยุ AM 2) รังสีแกมมา 3) ไมโครเวฟ
4) อินฟราเรด 5) อัลตราไวโอเลต
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
22”
60. (2563) เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2563 พบสารกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง 8,000 มิลลิกรัม ต่อมา วันที่ 5 มกราคม
2563 มีสารกัมมันตรังสีชนิดนี้ เหลืออยู่เพียง 500 มิลลิกรัม จากข้อมูล สารกัมมันตรังสีดังกล่าวมีค่าครึ่งชีวิตเท่าใด
และวันที่ 7 มกราคม 2563 จะเหลือสารกัมมันตรังสีเท่าใด
ครึ่งชีวิต
(ชั่วโมง)
สารกัมมันตรังสี
ณ วันที่ 7 มกราคม 2563 (mg)
1. 24 62.5
2. 24 125.0
3. 24 250.0
4. 30 125.0
5. 30 250.0
61. (2562) พิจารณาการสลายของธาตุกัมมันตรังสีต่อไปนี้
 
239 235 4
94 92 2
Pu U X
กาหนดให้ 239
94 Pu มีครึ่งชีวิตเท่ากับ 24,120 ปี และ 4
2 X คือ อนุภาคหรือรังสีที่ได้จากการสลาย
ข้อความใดกล่าวถูกต้อง
1. 239
94 Pu อยู่ในสถานะถูกกระตุ้น 2. 239
94 Pu สลายให้กัมมันตภาพรังสีทุก ๆ 24,120 ปี
3. 4
2 X เป็นนิวเคลียสของไฮโดรเจน 4. 4
2 X เบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็ก
5. 4
2 X เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
14. (2560) สารกัมมันตรังสี A สลายตัวดังแสดงในกราฟ และตามสมการ A B + อนุภาค β
ในช่วงเวลา 30 ถึง 50 วินาที มีอนุภาค β ถูกปล่อยออกมาเป็นจานวนรวมกี่อนุภาค
1. 0 2. 2.5 x 105 3. 5.0 x 105
4. 7.5 x 105 5. 10.0 x 105
Physics O - NET
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563
23”
แบบปรนัยเลือกตอบเชิงซ้อน
62. (2562) ขณะที่ดอมกาลังขับรถบนถนนทางตรงด้วยอัตราเร็วคงตัว 20 เมตรต่อวินาที เมื่อเวลา t = 0 วินาที เขา
สังเกตเห็นท่อนไม้กระจัดกระจายเต็มถนน ห่างออกไปข้างหน้าของของรถ 100 เมตร ดังภาพ
ถ้าดอมขับรถต่อด้วยอัตราเร็วคงตัว 20 เมตรต่อวินาที ข้อความต่อไปนี้ถูกต้องใช่หรือไม่
ข้อความ ใช่หรือไม่ใช่
54.1 ที่เวลำ t = 2 วินาที รถแล่นได้ระยะทำงอีก 10 เมตร ใช่/ไม่ใช่
54.1 ที่เวลำ t = 5 วินาที รถเหยียบท่อนไม้ ใช่/ไม่ใช่
54.1 ถ้ำเวลำ t = 2 วินาที ดอมเบรกรถให้เกิดความเร่งคงตัว
-10 เมตรต่อวินาที2 เขาจะหยุดรถได้ทันก่อนเหยียบท่อนไม้
ใช่/ไม่ใช่
ข้อ 63) (2553) โยนวัตถุขึ้นในแนวดิ่ง ในขณะที่วัตถุกาลังเคลื่อนที่ขึ้น ข้อใดสรุปได้ถูกต้อง
1. ความเร่งมีทิศขึ้น 2. ความเร่งมีทิศลง
3. ความเร่งเป็นศูนย์ 4. ข้อมูลไม่เพียงพอที่จะบอกทิศของความเร่ง
ข้อ 64) (2553) โยนวัตถุขึ้นในแนวดิ่ง ในขณะที่วัตถุอยู่ที่จุดสูงสุดพอดี ความเร่งของวัตถุมีทิศใด
1. ความเร่งเป็นศูนย์ 2. ความเร่งมีทิศขึ้น
3. ความเร่งมีทิศลง 4. ความเร่งกาลังเปลี่ยนทิศ
ข้อ 65) (2553) โยนวัตถุขึ้นในแนวดิ่ง ในขณะที่วัตถุกาลังเคลื่อนที่ลง ความเร่งของวัตถุมีทิศใด
1. ความเร่งมีทิศขึ้น 2. ความเร่งมีทิศลง
3. ความเร่งเป็นศูนย์ 4. ข้อมูลไม่เพียงพอที่จะบอกทิศของความเร่ง

More Related Content

What's hot

ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmAey Usanee
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์Rodchana Pattha
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสงพัน พัน
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ Rodchana Pattha
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อนthanakit553
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 

What's hot (20)

172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อน
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 

More from Worrachet Boonyong

Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6Worrachet Boonyong
 
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ Worrachet Boonyong
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสWorrachet Boonyong
 
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุแบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุWorrachet Boonyong
 
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5Worrachet Boonyong
 
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5Worrachet Boonyong
 
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]Worrachet Boonyong
 
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.Worrachet Boonyong
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.Worrachet Boonyong
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)Worrachet Boonyong
 
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่นแบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่นWorrachet Boonyong
 
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคันรายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคันWorrachet Boonyong
 
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555Worrachet Boonyong
 
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring scienceรายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring scienceWorrachet Boonyong
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาWorrachet Boonyong
 
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)Worrachet Boonyong
 

More from Worrachet Boonyong (17)

Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
 
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุแบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
 
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
 
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
 
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
 
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
 
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่นแบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
 
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคันรายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
 
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
 
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring scienceรายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
 
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
 

Recently uploaded

Introduction to ArtificiaI Intelligence in Higher Education
Introduction to ArtificiaI Intelligence in Higher EducationIntroduction to ArtificiaI Intelligence in Higher Education
Introduction to ArtificiaI Intelligence in Higher Educationpboyjonauth
 
CELL CYCLE Division Science 8 quarter IV.pptx
CELL CYCLE Division Science 8 quarter IV.pptxCELL CYCLE Division Science 8 quarter IV.pptx
CELL CYCLE Division Science 8 quarter IV.pptxJiesonDelaCerna
 
Presiding Officer Training module 2024 lok sabha elections
Presiding Officer Training module 2024 lok sabha electionsPresiding Officer Training module 2024 lok sabha elections
Presiding Officer Training module 2024 lok sabha electionsanshu789521
 
Introduction to AI in Higher Education_draft.pptx
Introduction to AI in Higher Education_draft.pptxIntroduction to AI in Higher Education_draft.pptx
Introduction to AI in Higher Education_draft.pptxpboyjonauth
 
Organic Name Reactions for the students and aspirants of Chemistry12th.pptx
Organic Name Reactions  for the students and aspirants of Chemistry12th.pptxOrganic Name Reactions  for the students and aspirants of Chemistry12th.pptx
Organic Name Reactions for the students and aspirants of Chemistry12th.pptxVS Mahajan Coaching Centre
 
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...Marc Dusseiller Dusjagr
 
Types of Journalistic Writing Grade 8.pptx
Types of Journalistic Writing Grade 8.pptxTypes of Journalistic Writing Grade 8.pptx
Types of Journalistic Writing Grade 8.pptxEyham Joco
 
Roles & Responsibilities in Pharmacovigilance
Roles & Responsibilities in PharmacovigilanceRoles & Responsibilities in Pharmacovigilance
Roles & Responsibilities in PharmacovigilanceSamikshaHamane
 
Historical philosophical, theoretical, and legal foundations of special and i...
Historical philosophical, theoretical, and legal foundations of special and i...Historical philosophical, theoretical, and legal foundations of special and i...
Historical philosophical, theoretical, and legal foundations of special and i...jaredbarbolino94
 
Hierarchy of management that covers different levels of management
Hierarchy of management that covers different levels of managementHierarchy of management that covers different levels of management
Hierarchy of management that covers different levels of managementmkooblal
 
History Class XII Ch. 3 Kinship, Caste and Class (1).pptx
History Class XII Ch. 3 Kinship, Caste and Class (1).pptxHistory Class XII Ch. 3 Kinship, Caste and Class (1).pptx
History Class XII Ch. 3 Kinship, Caste and Class (1).pptxsocialsciencegdgrohi
 
Alper Gobel In Media Res Media Component
Alper Gobel In Media Res Media ComponentAlper Gobel In Media Res Media Component
Alper Gobel In Media Res Media ComponentInMediaRes1
 
Pharmacognosy Flower 3. Compositae 2023.pdf
Pharmacognosy Flower 3. Compositae 2023.pdfPharmacognosy Flower 3. Compositae 2023.pdf
Pharmacognosy Flower 3. Compositae 2023.pdfMahmoud M. Sallam
 
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️9953056974 Low Rate Call Girls In Saket, Delhi NCR
 
Framing an Appropriate Research Question 6b9b26d93da94caf993c038d9efcdedb.pdf
Framing an Appropriate Research Question 6b9b26d93da94caf993c038d9efcdedb.pdfFraming an Appropriate Research Question 6b9b26d93da94caf993c038d9efcdedb.pdf
Framing an Appropriate Research Question 6b9b26d93da94caf993c038d9efcdedb.pdfUjwalaBharambe
 
Biting mechanism of poisonous snakes.pdf
Biting mechanism of poisonous snakes.pdfBiting mechanism of poisonous snakes.pdf
Biting mechanism of poisonous snakes.pdfadityarao40181
 
Employee wellbeing at the workplace.pptx
Employee wellbeing at the workplace.pptxEmployee wellbeing at the workplace.pptx
Employee wellbeing at the workplace.pptxNirmalaLoungPoorunde1
 
Crayon Activity Handout For the Crayon A
Crayon Activity Handout For the Crayon ACrayon Activity Handout For the Crayon A
Crayon Activity Handout For the Crayon AUnboundStockton
 
Interactive Powerpoint_How to Master effective communication
Interactive Powerpoint_How to Master effective communicationInteractive Powerpoint_How to Master effective communication
Interactive Powerpoint_How to Master effective communicationnomboosow
 

Recently uploaded (20)

Introduction to ArtificiaI Intelligence in Higher Education
Introduction to ArtificiaI Intelligence in Higher EducationIntroduction to ArtificiaI Intelligence in Higher Education
Introduction to ArtificiaI Intelligence in Higher Education
 
CELL CYCLE Division Science 8 quarter IV.pptx
CELL CYCLE Division Science 8 quarter IV.pptxCELL CYCLE Division Science 8 quarter IV.pptx
CELL CYCLE Division Science 8 quarter IV.pptx
 
ESSENTIAL of (CS/IT/IS) class 06 (database)
ESSENTIAL of (CS/IT/IS) class 06 (database)ESSENTIAL of (CS/IT/IS) class 06 (database)
ESSENTIAL of (CS/IT/IS) class 06 (database)
 
Presiding Officer Training module 2024 lok sabha elections
Presiding Officer Training module 2024 lok sabha electionsPresiding Officer Training module 2024 lok sabha elections
Presiding Officer Training module 2024 lok sabha elections
 
Introduction to AI in Higher Education_draft.pptx
Introduction to AI in Higher Education_draft.pptxIntroduction to AI in Higher Education_draft.pptx
Introduction to AI in Higher Education_draft.pptx
 
Organic Name Reactions for the students and aspirants of Chemistry12th.pptx
Organic Name Reactions  for the students and aspirants of Chemistry12th.pptxOrganic Name Reactions  for the students and aspirants of Chemistry12th.pptx
Organic Name Reactions for the students and aspirants of Chemistry12th.pptx
 
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...
 
Types of Journalistic Writing Grade 8.pptx
Types of Journalistic Writing Grade 8.pptxTypes of Journalistic Writing Grade 8.pptx
Types of Journalistic Writing Grade 8.pptx
 
Roles & Responsibilities in Pharmacovigilance
Roles & Responsibilities in PharmacovigilanceRoles & Responsibilities in Pharmacovigilance
Roles & Responsibilities in Pharmacovigilance
 
Historical philosophical, theoretical, and legal foundations of special and i...
Historical philosophical, theoretical, and legal foundations of special and i...Historical philosophical, theoretical, and legal foundations of special and i...
Historical philosophical, theoretical, and legal foundations of special and i...
 
Hierarchy of management that covers different levels of management
Hierarchy of management that covers different levels of managementHierarchy of management that covers different levels of management
Hierarchy of management that covers different levels of management
 
History Class XII Ch. 3 Kinship, Caste and Class (1).pptx
History Class XII Ch. 3 Kinship, Caste and Class (1).pptxHistory Class XII Ch. 3 Kinship, Caste and Class (1).pptx
History Class XII Ch. 3 Kinship, Caste and Class (1).pptx
 
Alper Gobel In Media Res Media Component
Alper Gobel In Media Res Media ComponentAlper Gobel In Media Res Media Component
Alper Gobel In Media Res Media Component
 
Pharmacognosy Flower 3. Compositae 2023.pdf
Pharmacognosy Flower 3. Compositae 2023.pdfPharmacognosy Flower 3. Compositae 2023.pdf
Pharmacognosy Flower 3. Compositae 2023.pdf
 
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️
 
Framing an Appropriate Research Question 6b9b26d93da94caf993c038d9efcdedb.pdf
Framing an Appropriate Research Question 6b9b26d93da94caf993c038d9efcdedb.pdfFraming an Appropriate Research Question 6b9b26d93da94caf993c038d9efcdedb.pdf
Framing an Appropriate Research Question 6b9b26d93da94caf993c038d9efcdedb.pdf
 
Biting mechanism of poisonous snakes.pdf
Biting mechanism of poisonous snakes.pdfBiting mechanism of poisonous snakes.pdf
Biting mechanism of poisonous snakes.pdf
 
Employee wellbeing at the workplace.pptx
Employee wellbeing at the workplace.pptxEmployee wellbeing at the workplace.pptx
Employee wellbeing at the workplace.pptx
 
Crayon Activity Handout For the Crayon A
Crayon Activity Handout For the Crayon ACrayon Activity Handout For the Crayon A
Crayon Activity Handout For the Crayon A
 
Interactive Powerpoint_How to Master effective communication
Interactive Powerpoint_How to Master effective communicationInteractive Powerpoint_How to Master effective communication
Interactive Powerpoint_How to Master effective communication
 

ONET 63 BY PHY360

  • 1. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 1” ตัวอย่างข้อสอบ สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ 1. (2562) วัตถุชิ้นหนึ่งเคลื่อนที่เป็นแนวตรงด้วยอัตราเร็ว ณ เวลาต่าง ๆ เป็นดังกราฟ ในช่วงเวลา 0 วินาที ถึง 5 วินาที วัตถุเคลื่อนที่ด้วยระยะทางเท่าใด และช่วงเวลาใดที่ความเร่งมีทิศทาง ตรงกันข้ามกับทิศทางการเคลื่อนที่ ระยะทาง (m) ช่วงเวลาที่ความเร่งมีทิศทางตรงข้ามกับการเคลื่อนที่ 1. 0.4 0 วินาที ถึง 5 วินาที 2. 0.4 5 วินาที ถึง 10 วินาที 3. 0.4 10 วินาที ถึง 15 วินาที 4. 10 5 วินาที ถึง 10 วินาที 5. 10 10 วินาที ถึง 15 วินาที 2. (2560) พิจารณารถ A และรถ B กาลังเคลื่อนที่เข้าสู่สี่แยก C ด้วยความเร็วคงที่ตลอดข้อใดถูกต้อง 1. รถ B ถึง C ก่อนรถ A 2. รถ A และ B ถึง C พร้อมกัน 3. รถทั้งสองไม่ชนกันที่สี่แยก C 4. รถ A ถึง C ในเวลา 10 วินาที 5. รถ B ถึง C ในเวลา 7.5 วินาที 3. (2553) วัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง โดยมีตำแหน่งที่เวลำต่ำงๆ ดังกรำฟ ข้อใดคือกำรกระจัดของวัตถุ ในช่วงเวลำ t = 0 วินำที จนถึง t = 8 วินำที 1) – 8 เมตร 2) - 4 เมตร 3) 0 เมตร 4) + 8 เมตร
  • 2. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 2” 4. (2561) วัตถุหนึ่งกาลังเคลื่อนที่เป็นแนวตรงบนพื้นราบ ที่เวลา t = 10 วินาที และ t = 30 วินาที วัตถุมีความเร็ว เท่ากับ 10 เมตรต่อวินาที และ 24 เมตรต่อวินาที ตามลาดับ ดังภาพ วัตถุ วัตถุ t = 10 s t = 30 s v = 10 m/s t = 30 m/s ขนาดของความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา t = 10 วินาที และ t = 30 วินาที มีค่าเท่าใด 1. 0.70 เมตรต่อวินำที2 2. 0.80 เมตรต่อวินำที2 3. 0.85 เมตรต่อวินำที2 4. 0.90 เมตรต่อวินำที2 5. 1.70 เมตรต่อวินำที2 5. (2563) พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้เพื่อใช้ในการตอบคาถามข้อ 5 - 6 โยนลูกบอลขึ้นในแนวดิ่งบนพื้นผิวโลก ลูกบอลเริ่มเคลื่อนที่จากจุด A ขึ้นไปถึงจุด B ซึ่งอยู่สูงจากจุด A 1.225 เมตร โดยใช้เวลา 0.5 วินาที แล้วเคลื่อนที่ลงถึงจุด A อีกครั้ง การเคลื่อนที่ของลูกบอลจากจุด A ไปจุด B แล้วกลับมายังจุด A อีกครั้ง มีขนาดการกระจัดเท่าใดและมีขนาด ของความเร็วเฉลี่ยเท่าใด ขนาดการกระจัด (m) ขนาดความเร็วเฉลี่ย (m/s) 1. 0 0 2. 0 1.225 3. 0 2.450 4. 2.450 0 5. 2.450 2.450
  • 3. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 3” 6. (2563) พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้เพื่อใช้ในการตอบคาถามข้อ โยนลูกบอลขึ้นในแนวดิ่งบนพื้นผิวโลก ลูกบอลเริ่มเคลื่อนที่จากจุด A ขึ้นไปถึงจุด B ซึ่งอยู่สูงจากจุด A 1.225 เมตร โดยใช้เวลา 0.5 วินาที แล้วเคลื่อนที่ลงถึงจุด A อีกครั้ง ข้อความใดกล่าวถึงกาเคลื่อนที่ของลูกบอลได้ถูกต้อง 1. ขณะขึ้นจากจุด A ไปจุด B ความเร่งมีทิศทางขึ้น 2. ขณะขึ้นจากจุด A ไปจุด B ความเร็วมีขนาดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง 3. ขณะอยู่ที่จุด B ความเร่งเป็นศูนย์ 4. ขณะลงจากจุด B ไปจุด A ความเร่งมีขนาดลดลงอย่างต่อเนื่อง 5. ขณะลงจากจุด B ไปจุด A ความเร็วมีทิศทางลง 7. (2561) ปล่อยลูกกลมยางจากหยุดนิ่งให้ตกในแนวดิ่ง ลูกกลมใช้เวลาเคลื่อนที่ 0.5 วินาที จึงกระทบพื้นจากนั้นลูกกลม กระดอนจากพื้นกลับขึ้นไปตามแนวดิ่งอีกครั้ง โดยใช้เวลาอีก 0.4 วินาที จึงถึงจุดสูงสุด ซึ่งอยู่ต่ากว่าจุดปล่อย ดังภาพ อัตราเร็วขณะกระดอนขึ้นจากพื้น (v2) เป็นกี่เท่าของอัตราเร็วขณะกระทบพื้น (v1) 1. 0.4 เท่ำ 2. 0.5 เท่ำ 3. 0.8 เท่ำ 4. 0.9 เท่ำ 5. 1.3 เท่ำ 8. (2557) ถ้าปล่อยให้วัตถุตกอย่างเสรีโดยไม่คิดแรงต้านอากาศ ข้อใดถูกต้อง 1) ความเร่งของวัตถุจะเพิ่มขึ้นด้วยอัตราคงตัว 2) หลังจากปล่อยวัตถุแล้ว แรงที่กระทาต่อวัตถุมีค่าเป็นศูนย์ 3) ความเร็วของวัตถุเพิ่มขึ้นแต่ไปคงตัวที่ค่าๆ หนึ่ง 4) วัตถุมีความเร่งเป็นศูนย์ 5) ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในแต่ละช่วงวินาที เพิ่มขึ้นตามเวลาที่ผ่านไป
  • 4. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 4” 9. (En 44/2) โยนวัตถุก้อนหนึ่งขึ้นไปในแนวดิ่งโดยวัตถุขึ้นถึงจุดสูงสุดที่ B ถ้า A และ C เป็นจุดที่อยู่ในระดับ เดียวกันดังรูป เมื่อไม่คิดผลของแรงต้านอากาศข้อต่อไปนี้ข้อใดถูก 1. ที่จุด B วัตถุมีความเร็วและความเร่งเป็นศูนย์ 2. ที่จุด A และ C วัตถุมีความเร็วเท่ากัน 3. ที่จุด A และ C วัตถุมีความเร่งขนาดเท่ากัน แต่ทิศทางตรงกันข้าม 4. ที่จุด A , B และ C วัตถุมีความเร่งเท่ากันทั้งขนาดและทิศทาง 10. (2551) กราฟของความเร็ว v กับเวลา t ข้อใดสอดคล้องกับการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ถูกโยนขึ้นไปในแนวดิ่ง 11. (2560) นักเรียนคนหนึ่งเตะลูกบอลจากยอดตึกสูง 60 เมตร หลังจากนั้น 6 วินาที ลูกบอลตกลงมายังสนาม ระดับเบื้องล่าง ห่างจากตึก 80 เมตร ดังรูป ถ้าความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก (g) เท่ากับ 9.8 เมตรต่อ (วินาที)2 อัตราเร็วต่าสุดของลูกบอลในหน่วยเมตรต่อวินาทีขณะลอยอยู่ในอากาศเป็นดังข้อใด ถ้าแรงต้านทานของ อากาศน้อยมากจนไม่ต้องพิจารณา 1. 9.8 2. 10.0 3. 13.3 4. 16.6 5. 32.7 12. (2554) ข้อใดใกล้เคียงกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์มากที่สุด 1) เครื่องบินขณะขึ้นบินจากสนามบิน 2) เด็กเล่นไม้ลื่น 3) ลูกเทนนิสถูกตีออกไปข้างหน้า 4) เครื่องร่อนขณะร่อนลง
  • 5. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 5” 13. (2563) ยิงวัตถุ A, B และ C ขึ้นจากพื้นที่ตาแหน่งเดียวกัน ทามุมกับพื้น 20 องศา 45 องศา และ 70 องศา ตามลาดับ พบว่า วัตถุทั้งสามชิ้นมีเส้นทางการเคลื่อนที่เป็นดังภาพและตกถึงพื้นที่ตาแหน่งเดียวกันกาหนดให้ไม่ต้อง พิจารณาแรงต้านของอากาศ ข้อความใดกล่าวถูกต้อง 1. วัตถุ C เคลื่อนที่ด้วยความเร่งมากที่สุด 2. วัตถุ A และ C มีขนาดของความเร็วต้นเท่ากัน 3. วัตถุ A มีขนาดของความเร็วต้นน้อยกว่าวัตถุ B 4. วัตถุทั้งสามชิ้นมีความเร็วในแนวระดับไม่คงตัวตลอดการเคลื่อนที่ 5. ที่จุดสูงสุดของวัตถุแต่ละชิ้น วัตถุ C มีความเร็วในแนวดิ่งมากที่สุด 14. (2560) ชายคนหนึ่งอยู่ในห้องปิดบนเรือซึ่งกาลังเคลื่อนด้วยความเร็วคงที่ 𝑣 ⃑ เทียบกับพื้นดิน เขาปล่อยก้อนหิน ก้อนหนึ่งให้ตกลงสู่พื้นเรือ (ภาพที่ 1) ชายบนเรือจะเห็นก้อนหินตกลงสู่พื้นในแนวใด (ภาพที่ 2) 1. A 2. B 3. C 4. D 5. E 15. (2558) ดีดก้อนยำงลบออกไปในแนวระนำบจำกพื้นโต๊ะ ก้อนยำงลบเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ และไปตกไกล จำกขำโต๊ะ 2 เมตร ถ้ำต้องกำรให้ไปตกไกลจำกขำโต๊ะ 4 เมตร จะต้องดีดให้อัตรำเร็วในแนวรำบเป็นกี่เท่ำของของเดิม 1) 0.5 เท่ำ 2) 1 เท่ำ 3) √2 เท่ำ 4) 2 เท่ำ 5) 4 เท่ำ 16. (2550) ยิงวัตถุจากหน้าผาออกไปในแนวระดับ ปริมาณใดของวัตถุมีค่าคงตัว 1. อัตราเร็ว 2. ความเร็ว 3. ความเร็วในแนวดิ่ง 4. ความเร็วในแนวระดับ
  • 6. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 6” 17. (2562) ทดสอบการเคลื่อนที่ของลูกบอลลูกหนึ่งจากความสูงเริ่มต้นเท่ากัน โดยครั้งที่ 1 ปล่อยให้ลูกบอลตกสู่พื้น แบบเสรี ส่วนครั้งที่ 2 ขว้างลูกบอลในแนวระดับ ดังภาพ กาหนดให้ขนาดของความเร็วในแนวดิ่งของลูก บอลขณะกระทบพื้น และเวลาที่ลูกบอลใช้ในการเคลื่อนที่จนกระทั่งตกถึงพื้น เป็นดังตาราง จากข้อมูล เปรียบเทียบขนาดของความเร็ว v1 กับ v2 และเวลา t1 กับ t2 ได้เป็นอย่างไร 18. (2559) ทิศของแรงที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่แบบวงกลมด้วยอัตราเร็วคงตัวและทิศของความเร็วขณะหนึ่งของวัตถุ ที่ กาลังเคลื่อนที่ในลักษณะดังกล่าวสัมพันธ์กันอย่างไร 1. แรงมีทิศสู่ศูนย์กลาง ความเร็วมีทิศตั้งฉากกับแรง 2. แรงมีทิศสู่ศูนย์กลาง ความเร็วมีทิศขนานกับรัศมีวงกลม 3. แรงมีทิศหนีศูนย์กลาง ความเร็วมีทิศตั้งฉากกับแรง 4. แรงมีทิศหนีศูนย์กลาง ความเร็วมีทิศเดียวกับแรง 5. แรงมีทิศหนีศูนย์กลาง ความเร็วมีทิศตรงข้ามกับแรง 19. (2559) ในขณะที่แผ่นซีดีกาลังหมุน ตาแหน่งที่รัศมี 2.0 cm จะมีอัตราเร็วเป็นกี่เท่าของตาแหน่งที่รัศมี 4.0 cm 1. 0.25 เท่า 2. 0.50 เท่า 3. 1 เท่า 4. 2 เท่า 5. 4 เท่า 20. (2557) คาบการเคลื่อนที่ของโลกรอบดวงอาทิตย์มีค่าประมาณเท่าใด 1) 24 ชั่วโมง 2) 365 วัน 3) 24 เฮิรตซ์ 4) 365 เฮิรตซ์ 5) 1/365 เฮิรตซ์ เปรียบเทียบ v1 กับ v2 เปรียบเทียบ t1 กับ t2 1. v1 < v2 t1 < t2 2. v1 < v2 t1 = t2 3. v1 = v2 t1 = t2 4. v1 > v2 t1 = t2 5. v1 > v2 t1 = t2
  • 7. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 7” 21. (2562) นุกจับเชือกแล้วเหวี่ยงจุกยางให้เคลื่อนที่เป็นวงกลมในระนาบระดับด้วยอัตราเร็ว v1 ดังภาพที่ เป็นมุมมองด้านบน หลังจากนั้น เมื่อเหวี่ยงด้วยอัตราเร็ว v2 แล้วพบว่า เชือกขาด จุกยางลอยไป กระทบหัวคิตตี้ที่อยู่ใกล้ ๆ จากสถานการณ์ เปรียบเทียบอัตราเร็ว v1 กับ v2 ได้ว่าอย่างไร และขณะที่เชือกขาดจุกยางอยู่ที่ตาแหน่งใด เปรียบเทียบ v1 กับ v2 ตาแหน่งของจุกยางขณะที่เชือกขาด 1. v1 < v2 A 2. v1 < v2 B 3. v1 < v2 C 4. v1 > v2 A 5. v1 > v2 B 22. (2561) การเลี้ยวโค้งบนถนนราบอย่างปลอดภัยควรขับรถด้วยอัตราเร็วต่า เพื่อให้แรงสู่ศูนย์กลางมีขนาดน้อย กว่าแรงเสียดทานสูงสุดระหว่างล้อกับพื้นถนน ซึ่งขนาดของแรงสู่ศูนย์กลาง (FC) แปรผันตรงกับอัตราเร็วยกกาลังสอง (v2 ) และแปรผกผันกับรัศมีของวงกลม (r) หรือเขียนได้ว่า FC ∝ 𝒗𝟐 𝒓 พิจารณาการเลี้ยวโค้งบนถนนราบโค้งที่มีลักษณะเป็นส่วนของวงกลมรัศมีเท่ากับ r1 และ r2 ดังภาพ
  • 8. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 8” พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. ความเร็วของรถ มีทิศทางตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ ข. แรงเสียดทานระหว่างล้อกับถนน มีทิศทางตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ ค. หากเลี้ยวโค้งด้วยอัตราเร็วเท่ากัน โค้งรัศมี r1 มีโอกาสเกิดการหลุดโค้งมากกว่าโค้งรัศมี r2 ข้อความใดกล่าวถูกต้อง 1. ก เท่ำนั้น 2. ข เท่ำนั้น 3. ค เท่ำนั้น 4. ก และ ข 5. ข และ ค 23. (2563) นาฬิกาลูกตุ้มเรือนหนึ่งมีลูกตุ้มแกว่งกลับไป-กลับมาผ่านตาแหน่ง A B และ C ดังภาพ โดยเมื่อลูกตุ้มนาฬิกาแกว่งกลับไป-กลับมาครบ 60 รอบ เข็มยาวจะขยับไป 1 ช่อง หรือ บอกเวลา 1 นาที เนื่องจากนาฬิกาเรือนนี้ถูกใช้งานมาเป็นเวลานานแล้ว จึงมีความเสียดทาน ที่ทาให้ลูกตุ้มแกว่งช้ากว่าปกติ ส่งผลให้เมื่อเวลามาตรฐานผ่านไป 1 ชั่วโมง นาฬิกาเรือนนี้ บอกเวลาช้ากว่าเวลามาตรฐานอยู่ 5 นาที จากข้อมูลของนาฬิกาเรือนนี้ การขยับของเข็มยาวไป 1 ช่อง ลูกตุ้มจะแกว่งผ่านตาแหน่ง B กี่ครั้ง และลูกตุ้มมีคาบการแกว่างประมาณกี่วินาที 24. (2560) พิจารณารูป (ก) ถ้าต้องการให้ลูกตุ้มมีคาบของการแกว่งยาวขึ้น จะต้องทาอย่างไร 1. ลดมวล 𝑚 2. ลดความยาว l 3. เพิ่มความยาว l 4. เพิ่มมวล 𝑚 ลดความยาว l 5. ลดแอมพลิจูดของการแกว่ง 25. (2551) ข้อความใดถูกต้องเกี่ยวกับคาบของลูกตุ้มอย่างง่าย 1) ไม่ขึ้นกับความยาวเชือก 2) ไม่ขึ้นกับมวลของลูกตุ้ม 3) ไม่ขึ้นกับแรงโน้มถ่วงของโลก 4) มีคาบเท่าเดิมถ้าไปแกว่งบนดวงจันทร์ จานวนครั้งที่ผ่านตาแหน่ง B คาบการแกว่ง (S) 1. 120 1.09 2. 120 0.92 3. 60 1.09 4. 60 1.00 5. 60 0.92
  • 9. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 9” 26. (2562) ปล่อยวัตถุจากตาแหน่ง A ให้เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ดังภาพ เมื่อสังเกตการเคลื่อนที่ของวัตถุ จากแนวสมดุล (ตาแหน่ง B) ไปตาแหน่งสูงสุด (ตาแหน่ง C) แล้วกลับมาที่แนวสมดุล (ตาแหน่ง B) อีกครั้ง พบว่าใช้ เวลา 0.4 วินาที การแกว่งนี้มีความถี่เท่าใด และถ้าเพิ่มมวลของวัตถุ ความถี่จะเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร ความถี่ (s-1 ) ความถี่หลังจากเพิ่มมวล 1. 0.4 ไม่เปลี่ยนแปลง 2. 1.25 ลดลง 3. 1.25 ไม่เปลี่ยนแปลง 4. 2.50 ลดลง 5. 2.50 ไม่เปลี่ยนแปลง 27. (2561) ศึกษาการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย โดยปล่อยลูกตุ้มจากจุด A พบว่า ลูกตุ้มแกว่งจากจุด A ผ่านจุด B ไปถึงจุด C แล้วจึงแกว่งกลับมาถึงจุด B อีกครั้ง ใช้เวลารวมทั้งสิ้น 3.0 วินาทีความถี่ของการแกว่งเป็น เท่าใด 1. 4.0 เฮิรตซ์ 2. 1.0 เฮิรตซ์ 3. 0.50 เฮิรตซ์ 4. 0.33 เฮิรตซ์ 5. 0.25 เฮิรตซ์ 28. (2549) นอตขนำดเล็กผูกด้วยสำยเอ็นแขวนไว้ให้สำยยำว L ซึ่งสำมำรถเปลี่ยนให้มีค่ำต่ำงๆ ได้คำบ กำรแกว่ง T ของนอตจะขึ้นกับควำมยำว L อย่ำงไร 1. 2 T เป็นปฏิภำคโดยตรงกับ L 2. T เป็นปฏิภำคโดยตรงกับ L 3. 2 T เป็นปฏิภำคโดยตรงกับ 2 L 4. T เป็นปฏิภำคโดยตรงกับ L
  • 10. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 10” 29. (2560) พิจารณารูป (ข) สายลูกตุ้มแกว่งไปได้ครึ่งทางก็ชนหมุดแล้วแกว่งต่อ เวลาที่ใช้แกว่งจากตาแหน่ง A ไป B เป็นกี่เท่าของเวลา B ไป C 1. 1 2 2. 1 √2 3. 1 4. √2 5. 2 ตัวอย่างข้อสอบ สาระที่ 5 พลังงาน 30. (2562) ทดสอบวัตถุชิ้นหนึ่งบนพื้นผิวโลกและดาวเคราะห์ A ซึ่งมีขนาดของสนามโน้มถ่วงมากเป็น 6 เท่าของโลก ดังนี้ 1) ชั่งน้าหนักของวัตถุบนพื้นผิวดาวเคราะห์ทั้งสองดวง 2) ปล่อยวัตถุให้ตกแบบเสรีเหนือพื้นผิวดาวเคราะห์ทั้งสองดวงจากระดับความสูงเท่ากัน ผลการทดสอบเป็นดังตาราง ดาวเคราะห์ น้าหนักของวัตถุ (N) เวลาที่วัตถุใช้ในการตกถึงพื้น (s) โลก 60 T1 A X T2 จากข้อมูล X มีค่าเท่าใด และเปรียบเทียบเวลา T1 กับ T2 ได้เป็นอย่างไร X (N) เปรียบเทียบเวลา T1 กับ T2 1. 10 T1<T2 2. 10 T1>T2 3. 60 T1=T2 4. 360 T1<T2 5. 360 T1>T2 31. (2552) วัตถุอันหนึ่งเมื่ออยู่บนโลกที่มีสนามโน้มถ่วงg พบว่ามีน้าหนักเท่ากับ 1 W ถ้านาวัตถุนี้ไปไว้บนดาวเคราะห์ อีกดวงพบว่ามีน้าหนัก 2 W จงหามวลของวัตถุนี้ 1. 1 W g 2. 2 W g 3.  1 2 W W g 4.  2 1 2 W W g
  • 11. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 11” 32. (2561) กาหนดให้ ความเร่งโน้มถ่วงที่พื้นผิวดาวเคราะห์ A เท่ากับ 3 เมตรต่อวินาที2 ความเร่งโน้มถ่วงที่พื้นผิวดาวเคราะห์ B เท่ากับ 1 เมตรต่อวินาที2 ถ้าชั่งน้าหนักของวัตถุมวล 2 กิโลกรัม บนพื้นผิวดาวเคราะห์ทั้งสอง น้าหนักของวัตถุ ณ ดาวดวงใด มีค่ามากกว่ากัน และมากกว่ากันเท่าใด 1. น้าหนักของวัตถุบนดาวเคราะห์ A มากกว่า และมากกว่า 2 นิวตัน 2. น้าหนักของวัตถุบนดาวเคราะห์ A มากกว่า และมากกว่า 4 นิวตัน 3. น้าหนักของวัตถุบนดาวเคราะห์ B มากกว่า และมากกว่า 2 นิวตัน 4. น้าหนักของวัตถุบนดาวเคราะห์ B มากกว่า และมากกว่า 4 นิวตัน 5. นาหนักของวัตถุบนดาวเคราะห์ A และ B เท่ากัน 33. (2558) เหตุใดค่ำควำมเร่งโน้มถ่วง (g) ที่ตำแหน่งวงโคจรของดำวเทียมจึงมีค่ำน้อยกว่ำค่ำควำมโน้ม ถ่วงที่ผิวโลก 1) อำกำศที่ตำแหน่งวงโคจรเบำบำงมำก 2) แรงดึงดูดระหว่ำงโลกกับดำวเทียมที่ตำแหน่งวงโคจรมีค่ำน้อยกว่ำที่ตำแหน่งบนผิวโลก 3) ดำวเทียมมีกำรโคจรเป็นวงกลมรอบโลก 4) มีแรงดึงดูดจำกดำวฤกษ์ดวงอื่นมำกระทำต่อดำวเทียม 5) ดำวเทียมเคลื่อนที่ด้วยอัตรำเร็วสูง ขนำนไปกับผิวโลก 34. (2562) ต่อแผ่นโลหะขนานเข้ากับเครื่องจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง โดยให้แผ่นโลหะแต่ละแผ่น ต่อเข้ากับขั้วไฟฟ้าบวก หรือลบจากนั้นวางอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าบวกระหว่างแผ่นโลหะขนาน ดังภาพผลคือ อนุภาคที่เคลื่อนที่เข้าหาแผ่นโลหะ A แผ่นโลหะใดต่อกับขั้วไฟฟ้าบวก ทิศของสนามไฟฟ้าและทิศของแรงไฟฟ้าที่กระทาต่ออนุภาคเป็นอย่างไร แผ่นโลหะที่ต่อกับขั้วไฟฟ้าบวก ทิศของแรงไฟฟ้า ทิศของแรงไฟฟ้า 1. A ชี้จากแผ่น A ไปหาแผ่น B ชี้เข้าหาแผ่น A 2. A ชี้จากแผ่น A ไปหาแผ่น B ชี้เข้าหาแผ่น B 3. A ชี้จากแผ่น Bไปหาแผ่น A ชี้เข้าหาแผ่น B 4. B ชี้จากแผ่น Bไปหาแผ่น A ชี้เข้าหาแผ่น A 5. B ชี้จากแผ่น A ไปหาแผ่น B ชี้เข้าหาแผ่น A
  • 12. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 12” 35. (2563) โดยปกติแล้ว พื้นผิวโลกมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า เนื่องจากประจุไฟฟ้าบวกและลบมีจานวนเท่าๆ กัน แต่ในช่วงที่เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง บริเวณฐานเมฆจะมีประจุไฟฟ้าลบอยู่เป็นจานวนมากดังภาพ แรงไฟฟ้า และสนามไฟฟ้าจากฐานเมฆจะทาให้พื้นผิวโลกที่อยู่ใต้ฐานเมฆไม่เป็นกลางทางไฟฟ้า จากภาพ ทิศทางของสนามไฟฟ้าระหว่างฐานเมฆกับพื้นผิวโลกใต้เมฆเป็นอย่างไร และถ้านาอนุภาคที่มี ประจุไฟฟ้าลบตัวหนึ่งไปไว้ที่จุด X จะมีแรงไฟฟ้าจากฐานเมฆกระทาต่ออนุภาคดังกล่าวหรือไม่ อย่างไร ทิศทางของสนามไฟฟ้า แรงไฟฟ้า 1. เข้าหาเมฆ ไม่มี เพราะมีประจุไฟฟ้าลบเหมือนกัน 2. เข้าหาเมฆ มี โดยมีทิศทางออกจากเมฆ 3. ออกจากเมฆ ไม่มี เพราะมีประจุไฟฟ้าลบเหมือนกัน 4. ออกจากเมฆ มี โดยมีทิศทางเข้าหาจากเมฆ 5. ออกจากเมฆ มี โดยมีทิศทางออกจากเมฆ 36. (2563) วางแท่งแม่เหล็ก 2 แท่งในตาแหน่งดังที่กาหนดในภาพ จากนั้น ยิงอิเล็กตรอนเข้าไปที่ตรงกลางระหว่าง แท่งแม่เหล็กทั้งสอง ในทิศพุ่งเข้าและตั้งฉากกับระนาบของกระดาษ พบว่า อิเล็กตรอนเบนไปทางด้านบน กาหนดให้ แทน อิเล็กตรอนที่กาลังเคลื่อนที่พุ่งเข้าและตั้งฉากกับระนาบของกระดาษ แทน ตาแหน่งที่สามารถวางแท่งแม่เหล็กได้ จากข้อมูลสนามแม่เหล็กมีทิศทางใด ขั้วเหนือและขั้วใต้ของแท่งแม่เหล็กคือ ตาแหน่งใด ทิศทางของ สนามไฟฟ้า ตาแหน่งขั้วแม่เหล็ก ขั้วเหนือ ขั้วใต้ 1. จาก A ไปหา C C A 2. จาก A ไปหา C A C 3. จาก B ไปหา D B D 4. จาก B ไปหา D D B 5. จาก C ไปหา A A C
  • 13. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 13” 37. (2562) ยิงโปรตอนเข้าไปในบริเวณที่สนามแม่เหล็กสม่าเสมอ ผลคือโปรตอนเคลื่อนที่เบนออกจากแนวเดิมโดยมี เส้นทางการเคลื่อนเป็นส่วนโค้งของวงกลม โดยความเร็วมีขนาดคงตัว ทิศทางขนานกับระนาบกระดาษ ตลอดเวลาภาพใดแสดงทิศทางของสนามแม่เหล็กในกรณีนี้ได้ถูกต้อง กาหนดทิศทางของสนามแม่เหล็กดังนี้ แทน ทิศทางขนานกับระนาบกระดาษ × แทน ทิศทางพุ่งเข้าและตั้งฉากกับระนาบกระดาษ แทน ทิศทางพุ่งออกและตั้งฉากกับระนาบกระดาษ 38. (2550) บริเวณพื้นที่สี่เหลี่ยม ABCD เป็นบริเวณที่มีสนำมแม่เหล็กสม่ำเสมอซึ่งมีทิศพุ่งออกตั้งฉำกกับ กระดำษดังรูป ข้อใดต่อไปนี้ที่ทำให้อนุภำคโปรตอนเคลื่อนที่เบนเข้ำหำด้ำน AB ได้ 1) ยิงอนุภำคโปรตอนเข้ำไปในบริเวณ จำกทำงด้ำน AD ในทิศตั้งฉำกกับเส้น AD 2) ยิงอนุภำคโปรตอนเข้ำไปในบริเวณ จำกทำงด้ำน BC ในทิศตั้งฉำกกับเส้น BC 3) ยิงอนุภำคโปรตอนเข้ำไปในบริเวณ จำกทำงด้ำน AD ในทิศตั้งฉำกกับเส้น AC 4) ยิงอนุภำคโปรตอนเข้ำไปในบริเวณ จำกทำงด้ำน DC ในทิศตั้งฉำกกับเส้น DB
  • 14. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 14” 39. (2563) นพและนิดจับขดลวดสปริงคนละข้างและวางบนพื้นลื่น นพขยับปลายของขดลวดสปริงเข้าและออกจาก ตัวเองอย่างต่อเนื่อง พบว่า เกิดคลื่นบนขดลวดสปริงเคลื่อนที่เข้าหานิดโดยมีอัตราเร็วคลื่น 1.2 เมตรต่อวินาทีและ ส่วนของสปริงที่ถูกอัดอยู่ห่างกัน 1.5 เมตร ดังภาพที่เป็นมุมมองจากด้านบน คลื่นดังกล่าวเป็นคลื่นชนิดใด และอนุภาคของขดลวดสปริง ณ ตาแหน่งหนึ่งๆ จะเคลื่อนที่กลับไปกลับมา ด้วยความถี่เท่าใด ชนิดของคลื่น ความถี่ (1/S) 1. คลื่นตามขวาง 0.8 2. คลื่นตามขวาง 1.25 3. คลื่นตามยาว 0.8 4. คลื่นตามยาว 1.25 5. คลื่นตามยาว 1.8 40. (2563) ตรึงเชือกยาวเส้นหนึ่งเข้ากับเสาให้แน่น จับปลายเชือกสะบัดในทิศทางขึ้นหนึ่งครั้ง เว้นช่วงเวลาเล็กน้อย แล้วสะบัดขึ้นอีกครั้ง พบว่า เกิดสันคลื่นของคลื่นดล 2 ขบวน ที่เหมือนกันทุกประการเคลื่อนที่เข้าหาเสา ดังภาพ ในการพบกันของคลื่นขบวนแรกที่สะท้อนจากเสา กับ คลื่นขบวนหลังที่กาลังเข้าหาเสา ถ้ากล่าวว่า “คลื่นรวม จะมีแอมพลิจูดเป็นศูนย์ ทาให้ไม่เหลือคลื่นเคลื่อนที่บนเส้นเชือกอีก” คากล่าวดังกล่าว ถูกต้องตามหลักการของคลื่นหรือไม่ อย่างไร 1. ถูกต้อง เพราะคลื่นทั้งสองขบวนจะเกิดการแทรกสอดหักล้าง ทาให้ไม่เหลือคลื่นบนเส้นเชือกอีก 2. ไม่ถูกต้อง เพราะคลื่นทั้งสองขบวนจะเกิดการแทรกสอดเสริม ซึ่งแอมพลิจูดจะไม่เป็นศูนย์ 3. ไม่ถูกต้อง เพราะคลื่นทั้งสองขบวนจะเกิดการแทรกสอดหักล้าง แล้วคลื่นจะเคลื่อนที่ผ่านกันไป 4. สรุปไม่ได้ เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าคลื่นทั้งสองขบวนจะเกิดการแทรกสอดเสริมหรือหักล้าง 5. สรุปไม่ได้ เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าคลื่นขบวนแรกที่สะท้อนจากเสาจะมีลักษณะเป็นสันคลื่นหรือท้อง คลื่น
  • 15. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 15” 41. (2563) ศึกษาเสียงที่เกิดจากแหล่งกาเนิดเสียงที่เป็นจุด มีกาลังเสียงคงตัว และสามารถปรับค่าความถี่ของเสียงได้ ทดลองวัดความดันอากาศที่เวลาต่าง ๆ โดยจัดชุดการทดลองต่างกัน ได้ผลการวัดความดันอากาศ ดังกราฟ ผลการวัดความดันอากาศครั้งที่ 2 เกิดจากการจัดชุดการทดลองอย่างไรเมื่อเปรียบเทียบกับครั้งที่ 1 ความถี่ของเสียง ระยะห่างระหว่างเครื่องวัดกับแหล่งกาเนิดเสียง 1. น้อยลง เท่าเดิม 2. น้อยลง มากขึ้น 3. เท่าเดิม น้อยลง 4. เท่าเดิม มากขึ้น 5. มากขึ้น น้อยลง 42. (2562) สะบัดปลายเชือกเส้นหนึ่งขึ้นอย่างและลงอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดคลื่นบนเส้นเชือกในขณะที่สะบัดอยู่นั้น เมื่อพิจารณาการเคลื่อนที่ของอนุภาคของเชือก ณ ตาแหน่งหนึ่งซึ่งเคลื่อนที่ขึ้นและลงอย่างต่อเนื่อง พบว่า อนุภาค ดังกล่าวมีการกระจัดตามแนวดิ่งเปลี่ยนแปลงตามเวลา ดังกราฟ ถ้าคลื่นบนเส้นเชือกนี้มีความยาวคลื่น 2.4 เมตร อัตราเร็วของคลื่นมีค่าเท่าใด 1. 0.2 เมตรต่อวินาที 2. 0.5 เมตรต่อวินาที 3. 0.6 เมตรต่อวินาที 4. 1.2 เมตรต่อวินาที 5. 4.8 เมตรต่อวินาที
  • 16. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 16” 43. (2563) ศึกษาเสียงที่เกิดจากแหล่งกาเนิดเสียงที่เป็นจุด มีกาลังเสียงคงตัวและสามารถปรับค่าความถี่ของเสียง ได้ วางแหล่งกาเนิดเสียง 2 แหล่ง ที่มีกาลังเสียงเท่ากันไว้ใกล้ๆ กัน แหล่งกาเนิดเสียง X ให้เสียงที่มีความถี่เท่ากับผลของการวัดความดันอากาศดังกราฟ แหล่งกาเนิดเสียง Y ให้เสียงที่มีความถี่เท่ากับ 200 เฮิรตซ์ แหล่งกาเนิดเสียง X ให้เสียงความถี่เท่าใดและถ้าเปิดแหล่งกาเนิดเสียง X และ Y พร้อมกัน คนหูปกติจะได้ ยินเสียงเป็นอย่างไร ถ้ากาหนดให้คนหูปกติสามารถได้ยินการเกิดบีต เมื่อความถี่บีตไม่เกิน 7 ครั้งต่อวินาที 44. (2554) คลื่นกลตามยาวและคลื่นกลตามขวางถูกนิยามขึ้นโดยดูจากปัจจัยใดเป็นหลัก 1) ทิศการเคลื่อนที่ของเคลื่อน 2) ทิศการสั่นของอนุภาคตัวกลาง 3) ประเภทของแหล่งกาเนิด 4) ความยาวคลื่น 45. (2557) ข้อใดเกี่ยวข้องกับการหักเหของคลื่น 1) ค้างคาวสามารถบินหลบสิ่งกีดขวางได้ในที่มืด 2) การไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง แต่เห็นฟ้าแลบ 3) การบุผนังห้องประชุมด้วยวัสดุดูดซับเสียง 4) การตรวจจับเครื่องบินด้วยเรดาร์ 5) การได้ยินเสียงเพลงแม้หันลาโพงไปทางอื่น 46. (2557) ของเล่นโทรศัพท์อย่างง่ายทาจากถ้วยกระดาษสองใบ เจาะรูที่ก้นและร้อยเชือกผูกปมเด็กสองคนถือถ้วย กระดาษให้เชือกตึง เมื่อคนหนึ่งพูดอีกคนจะได้ยินเสียงพูดซึ่งส่งมาตามเส้นเชือก ถ้าดึงเชือกให้ตึงขึ้นอัตราเร็วเสียงใน เส้นเชือกจะเพิ่มขึ้น หากคนพูดพูดเหมือนเดิม เสียงที่เด็กอีกคนได้ยินจะเป็นอย่างไร 1) เหมือนเดิม 2) เสียงแหลมขึ้น 3) เสียงทุ้มขึ้น 4) เสียงดังค่อยสลับกัน 5) เสียงจะก้องจนฟังไม่รู้เรื่อง ความถี่ (Hz) ลักษณะของเสียง 1. 0.003 เสียงดังอย่างต่อเนื่อง 2. 0.003 เสียงดังสลับค่อย 3. 207 เสียงดังอย่างต่อเนื่อง 4. 250 เสียงดังสลับค่อย 5. 250 เสียงดังอย่างต่อเนื่อง
  • 17. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 17” . 47. (2562) ผู้กองอ้วนแต่งกายนอกเครื่องแบบ แอบฟังการสนทนาของผู้ต้องสงสัย X และ Y ในห้องโถง ของโรงแรมแห่งหนึ่ง กาหนดดังนี้  ขีดเริ่มของการได้ยินของผู้กองอ้วนเป็นดังภาพ  เสียงการสนทนาที่ผู้กองอ้วนได้รับมีระดับความเข้มแข็งเสียงอยู่ในช่วง 10 - 20 เดซิเบล โดย ผู้ต้องสงสัย X ใช้เสียงที่มีความถี่ในช่วง 400 – 1,000 เฮิรตซ์ ผู้ต้องสงสัย Y ใช้เสียงที่มีความถี่ในช่วง 2,000 - 4,000 เฮิรตซ์ จากกราฟ ผู้กองอ้วนจะเริ่มได้ยินเสียงใด ๆ ที่มีความถี่ 100 เฮิรตซ์ เมื่อเสียงนั้นมีระดับ ความเข้มเสียงเท่าใด และจากข้อมูลเสียงของผู้ต้องสงสัย ผู้กองอ้วนมีโอกาสที่จะไม่ได้ยินเสียงของผู้ต้องสงสัยคนใด 48. (2558) เสียงบีตส์เกิดจากการผสมกันของคลื่นเสียงสองขบวนที่มีสมบัติใดต่างกันเล็กน้อย 1) อัตราเร็วคลื่น 2) แอมพลิจูด 3) ความดัง 4) ความถี่ 5) ระดับความเข้มเสียง 49. (2552) ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นตามยาว 1) เป็นคลื่นที่เคลื่อนที่ไปตามแนวยาวของตัวกลาง 2) เป็นคลื่นที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ 3) เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางมีการสั่นได้หลายแนว 4) เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางมีการสั่นในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น ระดับความเข้มเสียง(dB) ผู้ต้องสงสัยที่ผู้กองอ้วนอาจไม่ได้ยินเสียง 1. -5 Y 2. 0 X 3. 0 Y 4. 40 X 5. 40 Y
  • 18. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 18” 50. (2562) เอื้อยนั่งริมสระน้าและใช้เท้าตีผิวน้าอย่างสม่าเสมอ ทาให้เกิดคลื่นน้าเคลื่อนที่ออกจากจุดกาเนิดไปสู่ บริเวณอื่น ๆ เอื้อยสังเกตได้ว่า เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากบริเวณน้าลึกเข้าสู่บริเวณน้าตื้นผิวน้ามีลักษณะเป็น ดังภาพ จากผลการสังเกต ถ้าเอื้อยคิดว่า “คลื่นมีความยาวคลื่นลดลงเช่นนี้ เพราะคลื่นมีความถี่สูงขึ้น” ความคิดนี้ถูกต้องหรือไม่ เพราะเหตุใด 1. ถูกต้อง เพราะเมื่ออัตราเร็วคงตัว ถ้าความยาวคลื่นลดลง ความถี่จะสูงขึ้น 2. ถูกต้อง เพราะในช่วงระยะทางเท่านั้น บริเวณน้าตื้นมีจานวนลูกคลื่นมากกว่าความถี่จึงสูงขึ้น 3. ไม่ถูกต้อง เพราะระยะห่างระหว่างสันคลื่นที่อยู่ติดกันแสดงถึงความถี่ของคลื่นความถี่จึงต่าลง 4. ไม่ถูกต้อง เพราะเมื่อคลื่นเดินทางจากบริเวณน้าลึกเข้าสู่บริเวณน้าตื้น ความถี่จะไม่เปลี่ยนแปลง 5. ยังสรุปไม่ได้ เพราะไม่ทราบการเปลี่ยนแปลงอัตราเร็วของคลื่นระหว่างสองบริเวณ 51. (2562) ครูให้มายด์ยืนฟังเสียงที่แผ่ออกจากแหล่งกาเนิดเสียงหนึ่ง ซึ่งเป็นจุด มีกาลังเสียงคงตัวและให้เสียง ความถี่ลงตัว จากนั้นครูให้มายด์เดินเข้าใกล้แหล่งกาเนิดเสียงอีกเล็กน้อยแล้วยืนฟังอีกครั้งครูถามว่า เสียงที่ได้ยินทั้ง สองครั้งแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร มายด์จึงตอบครูดังนี้ “เสียงที่ได้ยินทั้งสองครั้งแตกต่างกันค่ะ เพราะเมื่อหนูอยู่ใกล้แหล่งกาเนิดมากขึ้นเสียงมีความถี่สูงขึ้น และเนื่องจากหนูยืนฟังจาก 2 ตาแหน่งที่มีความถี่ต่างกันเล็กน้อย หนูคิดว่าเสียงนี้ก็เกิดบีตด้วยค่ะ” คาตอบของมายด์ไม่ถูกต้องตามหลักการของเสียงอย่างไร 1. เมื่ออยู่ใกล้แหล่งกาเนิดเสียงมากขึ้น ความถี่จะต้องต่าลง และเสียงนี้เกิดบีต 2. เมื่ออยู่ใกล้ตาแหน่งเกิดเสียงมากขึ้น ความถี่จะเท่าเดิม แต่ความดังจะเพิ่มขึ้น และเสียงนี้ ไม่เกิดบีต 3. เมื่ออยู่ใกล้ตาแหน่งเสียงมากขึ้น ความถี่จะเท่าเดิม แต่ความเข้มเสียงจะลดลง และเสียงนี้ ไม่เกิดบีต 4. บีตจะต้องเกิดจากเสียงที่มีความดังต่างกันเล็กน้อย แต่เสียงนี้มีความถี่ต่างกันเล็กน้อย จึงไม่เกิดบีต 5. บีตจะต้องเกิดจากเสียงที่มีความเข้มเสียงต่างกันเล็กน้อย แต่เสียงนี้มีความถี่ต่างกันเล็กน้อย จึงไม่เกิดบีต
  • 19. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 19” 52. (2562) อุปกรณ์ชนิดหนึ่งปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งเคลื่อนที่จากซ้ายไปขวาของระนาบกระดาษโดยสนามไฟฟ้า มีทิศทางตามแนวบน – ล่าง ดังภาพ จากภาพ สนามแม่เหล็กมีทิศทางเป็นอย่างไร และถ้าปรับอุปกรณ์นี้ให้ปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ความถี่ต่าลงแล้ว ความยาวคลื่นจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร 53. (2563) ยิงรังสีของแสงให้เคลื่อนที่จากแก้วไปยังสุญญากาศ พบว่า ความยาวคลื่น ( ) และอัตราเร็ว (v ) มี การเปลี่ยนแปลง ถ้าคลื่นเคลื่อนที่จากซ้ายไปขวา โดยมีสนามแม่เหล็กทิศทางตามแนวบน-ล่าง ของระนาบกระดาษ ดังภาพ ทิศทางของสนามแม่เหล็ก การเปลี่ยนแปลงของความยาวคลื่น 1. แนวบน – ล่าง เพิ่มขึ้น 2. แนวบน – ล่าง ลดลง 3. แนวซ้าย – ขวา ลดลง 4. แนวพุ่งเข้า – พุ่งออก ตั้งฉากกับระนาบกระดาษ เพิ่มขึ้น 5. แนวพุ่งเข้า – พุ่งออก ตั้งฉากกับระนาบกระดาษ ลดลง
  • 20. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 20” ความยาวคลื่นในสุญญากาศ 2 มีค่าเป็นเท่าใด และทิศทางของสนามไฟฟ้าเป็นอย่างไร 2 (nm) ทิศทางของสนามไฟฟ้า 1. 651 แนวพุ่งเข้า-พุ่งออก ตั้งฉากกับระนาบกระดาษ 2. 651 แนวบน-ล่าง 3. 651 แนวซ้าย-ขวา 4. 868 แนวพุ่งเข้า-พุ่งออก ตั้งฉากกับระนาบกระดาษ 5. 868 แนวบน-ล่าง 54. (2562) ระบบการขนส่งมวลชนในประเทศหนึ่ง เกิดปัญหาขัดข้องเนื่องจากสัญญาณที่ใช้ในการสื่อสารถูกรบกวน อย่างหนักกาหนดข้อมูลดังต่อไปนี้  ถ้าพิจารณาเฉพาะความถี่ของคลื่น ปัญหาคลื่นรบกวนมักเกิดขึ้นเมื่อคลื่นอยู่ในช่วงความถี่ เดียวกัน  ระบบการขนส่งมวลชนดังกล่าวใช้สัญญาณสื่อสารที่มีความยาวคลื่น 1 810 x 102 เมตร  ระบบโทรคมนาคมอื่น ๆ ที่อาจทาให้เกิดปัญหาคลื่นรบกวนได้แก่ ระบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ใช้ช่วงความถี่ 2,310 – 2,370 เมกะเฮิรตซ์ ระบบเครือข่ายไร้สายสาธารณะ ใช้ช่วงความถี่ 2,401 – 2,495 เมกะเฮิรตซ์  อัตราเร็วของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าอากาศ เท่ากับ 3 X 108 เมตรต่อวินาที จากข้อมูล สัญญาณของระบบการขนส่งมวลชนมีโอกาสถูกรบกวนจากคลื่นในระบบใดมากที่สุดและถ้าระบบ การขนส่งมวลชนปรับไปใช้คลื่นสัญญาณที่มีความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ์ ความยาวคลื่นจะเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร ระบบที่มีโอกาสส่งสัญญาณรบกวนมากที่สุด ความยาวคลื่นเมื่อปรับความถี่ 1. เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ลดลง 2. เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ เพิ่มขึ้น 3. เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ เท่าเดิม 4. เครือข่ายไร้สายสาธารณะ เท่าเดิม 5. เครือข่ายไร้สายสาธารณะ เพิ่มขึ้น 55. (2559) ถ้าในธรรมชาติไม่มีแรงนิวเคลียร์ เหตุการณ์ใดต่อไปนี้น่าจะเป็นไปได้มากที่สุด 1. เกิดเฉพาะธาตุไฮโดรเจน ( H 1 1 ) 2. เกิดเฉพาะธาตุไฮโดรเจน ( H 1 1 ) และฮีเลียม ( H 4 2 ) 3. ธาตุสูญเสียอิเล็กตรอนวงนอกสุด 4. ธาตุทุกตัวจะปล่อยกัมมันตรังสี 5. นิวเคลียสจะมีเฉพาะโปรตอน ไม่มีนิวตรอน
  • 21. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 21” 56. (2562) พิจารณาข้อความเกี่ยวกับแรงภายในอะตอมต่อไปนี้ ก. โปรตอนและนิวตรอนต่างประกอบขึ้นจากอนุภาคมูลฐานที่เรียกว่า ควาร์ก ซึ่งควาร์กแต่ละ อนุภาคจะมีแรงนิวเคลียร์แบบเข้มกระทาต่อกันเพื่อยึดเหนี่ยวกัน ข. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างควาร์กทาให้นิวคลีออนรวมกันอยู่ภายในนิวเคลียส และดึงดูดอิเล็กตรอน ให้เคลื่อนที่รอบ ๆ นิวเคลียส ค. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างควาร์กมีค่าสูงมาก แต่มีระยะการส่งแรงสั้นมาก ซึ่งอยู่ที่ประมาณระยะห่าง ระหว่างอะตอมที่อยู่ติดกัน ข้อความใดกล่าวถูกต้อง 1. ก เท่านั้น 2. ค เท่านั้น 3. ก และ ข 4. ก และ ค 5. ข และ ค 57. (2563) ถ้าสมมติในอนาคตแรงนิวเคลียร์หายไปจากธรรมชาติ “ทุกอะตอมจะไม่สามารถคงสภาพอะตอมได้” คากล่าวข้างต้น ถูกต้องตามหลักการของแรงในธรรมชาติหรือไม่ เพราะเหตุใด 1. ถูกต้อง เพราะจะไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโปรตอนและนิวตรอนที่ทาให้มีนิวเคลียส 2. ถูกต้อง เพราะจะไม่มีแรงที่ทาหน้าที่ดึงดูดระหว่างนิวตรอนกับอิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆ 3. ไม่ถูกต้อง เพราะยังมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างนิวคลีออนที่ทาให้มีนิวเคลียส 4. ไม่ถูกต้อง เพราะยังมีแรงไฟฟ้าระหว่างโปรตอนกับอิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆ ให้คงสภาพอะตอมได้ 5. ไม่ถูกต้อง เพราะยังมีแรงโน้มถ่วงกระทาระหว่างโปรตอน นิวตรอนและอิเล็กตรอนให้คงสภาพ อะตอมได้ 58. (2563) พิจารณาปฏิกิริยานิวเคลียร์ต่อไปนี้    9 4 12 1 4 2 6 0 Be He C X กาหนดให้ มวลรวมของนิวเคลียสก่อนเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ เท่ากับ   27 2161 10 . กิโลกรัม มวลรวมของนิวเคลียสหลังเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ เท่ากับ   27 21 60 10 . กิโลกรัม อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ เท่ากับ  8 3 10 เมตรต่อวินาที ข้อความใดกล่าวถูกต้อง 1. 1 0 X มีมวลเป็นศูนย์ 2. 1 0 X มีประจุไฟฟ้าบวก 3. ปฏิกิริยานิวเคลียร์นี้เป็นนิวเคลียร์ฟิชชัน 4. พลังงานที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ เท่ากับ   13 9 10 จูล 5. มวลรวมของนิวเคลียสหลังเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ มีค่าลดลง 0.01 กิโลกรัม 59. (2558) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดใดต่อไปนี้ มีความสามารถในการทะลุทะลวงสูงที่สุด 1) คลื่นวิทยุ AM 2) รังสีแกมมา 3) ไมโครเวฟ 4) อินฟราเรด 5) อัลตราไวโอเลต
  • 22. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 22” 60. (2563) เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2563 พบสารกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง 8,000 มิลลิกรัม ต่อมา วันที่ 5 มกราคม 2563 มีสารกัมมันตรังสีชนิดนี้ เหลืออยู่เพียง 500 มิลลิกรัม จากข้อมูล สารกัมมันตรังสีดังกล่าวมีค่าครึ่งชีวิตเท่าใด และวันที่ 7 มกราคม 2563 จะเหลือสารกัมมันตรังสีเท่าใด ครึ่งชีวิต (ชั่วโมง) สารกัมมันตรังสี ณ วันที่ 7 มกราคม 2563 (mg) 1. 24 62.5 2. 24 125.0 3. 24 250.0 4. 30 125.0 5. 30 250.0 61. (2562) พิจารณาการสลายของธาตุกัมมันตรังสีต่อไปนี้   239 235 4 94 92 2 Pu U X กาหนดให้ 239 94 Pu มีครึ่งชีวิตเท่ากับ 24,120 ปี และ 4 2 X คือ อนุภาคหรือรังสีที่ได้จากการสลาย ข้อความใดกล่าวถูกต้อง 1. 239 94 Pu อยู่ในสถานะถูกกระตุ้น 2. 239 94 Pu สลายให้กัมมันตภาพรังสีทุก ๆ 24,120 ปี 3. 4 2 X เป็นนิวเคลียสของไฮโดรเจน 4. 4 2 X เบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็ก 5. 4 2 X เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 14. (2560) สารกัมมันตรังสี A สลายตัวดังแสดงในกราฟ และตามสมการ A B + อนุภาค β ในช่วงเวลา 30 ถึง 50 วินาที มีอนุภาค β ถูกปล่อยออกมาเป็นจานวนรวมกี่อนุภาค 1. 0 2. 2.5 x 105 3. 5.0 x 105 4. 7.5 x 105 5. 10.0 x 105
  • 23. Physics O - NET ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 23” แบบปรนัยเลือกตอบเชิงซ้อน 62. (2562) ขณะที่ดอมกาลังขับรถบนถนนทางตรงด้วยอัตราเร็วคงตัว 20 เมตรต่อวินาที เมื่อเวลา t = 0 วินาที เขา สังเกตเห็นท่อนไม้กระจัดกระจายเต็มถนน ห่างออกไปข้างหน้าของของรถ 100 เมตร ดังภาพ ถ้าดอมขับรถต่อด้วยอัตราเร็วคงตัว 20 เมตรต่อวินาที ข้อความต่อไปนี้ถูกต้องใช่หรือไม่ ข้อความ ใช่หรือไม่ใช่ 54.1 ที่เวลำ t = 2 วินาที รถแล่นได้ระยะทำงอีก 10 เมตร ใช่/ไม่ใช่ 54.1 ที่เวลำ t = 5 วินาที รถเหยียบท่อนไม้ ใช่/ไม่ใช่ 54.1 ถ้ำเวลำ t = 2 วินาที ดอมเบรกรถให้เกิดความเร่งคงตัว -10 เมตรต่อวินาที2 เขาจะหยุดรถได้ทันก่อนเหยียบท่อนไม้ ใช่/ไม่ใช่ ข้อ 63) (2553) โยนวัตถุขึ้นในแนวดิ่ง ในขณะที่วัตถุกาลังเคลื่อนที่ขึ้น ข้อใดสรุปได้ถูกต้อง 1. ความเร่งมีทิศขึ้น 2. ความเร่งมีทิศลง 3. ความเร่งเป็นศูนย์ 4. ข้อมูลไม่เพียงพอที่จะบอกทิศของความเร่ง ข้อ 64) (2553) โยนวัตถุขึ้นในแนวดิ่ง ในขณะที่วัตถุอยู่ที่จุดสูงสุดพอดี ความเร่งของวัตถุมีทิศใด 1. ความเร่งเป็นศูนย์ 2. ความเร่งมีทิศขึ้น 3. ความเร่งมีทิศลง 4. ความเร่งกาลังเปลี่ยนทิศ ข้อ 65) (2553) โยนวัตถุขึ้นในแนวดิ่ง ในขณะที่วัตถุกาลังเคลื่อนที่ลง ความเร่งของวัตถุมีทิศใด 1. ความเร่งมีทิศขึ้น 2. ความเร่งมีทิศลง 3. ความเร่งเป็นศูนย์ 4. ข้อมูลไม่เพียงพอที่จะบอกทิศของความเร่ง