SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
ลูกประคบ คือสิ่งที่เกิดจากภูมิปัญญาจากบรรพบุรุษ ที่ใช้พืชสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่น 
นามาใช้ในการรักษาหรือเพื่อช่วยในการไหลเวียนของโลหิต ต่อมาก็ได้มีการปรับปรุงและพัฒนา 
ลูกประคบเรื่อยมา เพื่อประโยชน์ในการรักษาที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 
การประคบสมุนไพรการประคบสมุนไพรคือการใช้สมุนไพรหลายอย่างมาห่อรวมกัน 
ส่วนใหญ่เป็นสมุนไพรที่มีน้ามันหอมระเหยโดยนามานึ่งให้ร้อนประคบบริเวณที่ปวดหรือเคล็ดขัดยอก 
ซึ่งน้ามันหอมระเหยเมื่อถูกความร้อนจะระเหยออกมาความร้อนจากลูกประคบจะช่วยกระตุ้นการ 
ไหลเวียนโลหิตดีขึ้นและยังมีสาระสาคัญจากสมุนไพรบางชนิดที่ซึมเข้าทางผิวหนังช่วยรักษาอาการ 
เคล็ดขัดยอกและลดปวดได้
การทาลูกประคบสมุนไพร คือ การใช้สมุนไพรหลายๆ อย่างมาห่อรวมกัน ส่วนใหญ่เป็นสมุนไพร 
ที่มีน้ามันหอมระเหย โดยนาลูกประคบมานึ่งให้ร้อนแล้วใช้ประคบบริเวณที่ปวดหรือเคล็ดขัดยอก สามารถช่วย 
กระตุ้นระบบไหลเวียนโลหิตได้ดี ประโยชน์หลักของลูกประคบคือ ใช้ช่วยรักษาอาการเคล็ด ขัด ยอก และลด 
อาการปวดได้ 
สมุนไพรที่นิยมนามาเป็นส่วนประกอบที่สาคัญของ "ลูกประคบสมุนไพร" ส่วนใหญ่มักเป็น 
สมุนไพรที่มีสรรพคุณบาบัดอาการของโรคทางกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น ผิวหนัง สมุนไพรที่คลายอาการเกร็งของ 
กล้ามเนื้อและเซลล์ที่อยู่ใต้ผิวหนัง ลดการตึงเครียดทาให้เส้นเอ็นหย่อนคลาย ที่สาคัญเมื่อผสมผสานสมุนไพร 
ต่าง ๆ คละเคล้ากัน จนได้เป็นลูกประคบแล้ว สิ่งที่ขาดไม่ได้คือ การบูร แพทย์แผนไทยนิยมนาการบูรมา 
ผสมผสานเข้าไป เพื่อให้ได้กลิ่นระเหิดออกมาและยังเป็นตัวช่วยนาพาสรรพคุณทางยาของสมุนไพรทุก ๆ อย่าง 
ให้แทรกซึมซอกซอน เข้าไปในเนื้อเยื่อได้ดีมากยิ่งขึ้น เคล็ดลับการเสริมส่วนผสมเข้าไปในลูกประคบนี้ สะท้อน 
ให้เห็นภูมิปัญญาทางการแพทย์ของบรรพบุรุษไทยที่น่าทึ่งยิ่งนัก
ตะไคร้บ้าน มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cymbopogon citratus (Deex Nees) Stapf. 
มีน้ามันหอมระเหย ที่ช่วยให้ความสดชื่น 
การบูร มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cinnamomum camphora ( L . ) J.S. Presl 
มีสรรพคุณเป็นยาระงับเชื้ออ่อนๆ เป็นยากระตุ้นหัวใจ ช่วยขับลม ขับเสมหะ ขับปัสสาวะ แก้ปวด 
เมื่อยตามข้อ 
เกลือ สามารถใช้ฆ่าเชื้อแก้อาการอักเสบได้ อีกทั้งเกลือยังมีความสามารถในการดูด 
ความร้อน จะช่วยทาให้สรรพคุณทางยาของสมุนไพรซึมได้เร็วขึ้น 
ผิวมะกรูด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Citrus hystrix DC. มีสรรพคุณในการรักษาอาการหน้า 
มืดเป็นลม แก้อาการวิงเวียน และบารุงหัวใจ ขับลมในลาไส้ได้อีกด้วย
ขมิ้นชัน มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Curcuma longa Linn. Zingiberaceae 
มีสรรพคุณในการลดการอักเสบจากแมลงสัตว์กัดต่อย ลดอาการแพ้ได้ 
ไพล มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Zingiber cassumunar Roxb. 
มีสรรพคุณในการลด อาการปวด บวมแดง และแก้ฟกช้าได้ด้วย 
ใบส้มป่อย มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Acacia rugata Merr 
มีสรรพคุณในการรักษาโรคผิวหนัง 
ใบมะขาม มีชื่อวิทยาศาสตร์ Tamarindus indica Linn. 
มีสรรพคุณในการบารุงผิวพรรณ 
ง 
ง 
ง 
ง 
ง 
ง
 ผ้าขาวบาง ควรจะเป็นผ้าฝ้ายหรือผ้าดิบ เพื่อไม่ให้ตัวสมุนไพรหลุดออกมาจากตัวผ้าได้ 
 สมุนไพรข้างต้นที่กล่าวมาแล้ว ก่อนนามาทาลูกประคบต้องทาความสะอาด แล้วหั่น 
 สับเป็นชิ้นเล็ก ๆ 
 หม้อสาหรับนึ่งลูกประคบ 
 เชือกที่ไว้ใช้สาหรับมัดลูกประคบ
 เตรียมสมุนไพรให้พร้อมก่อนลงมือปรุงตามสูตรลูกประคบสมุนไพร หั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ 
โขลกพอแหลก นาสมุนไพรชั่งน้าหนักแต่ละชนิดตามสูตรมาตรฐานที่กาหนดไว้ 
 นาส่วนผสมทั้งหมดของลูกประคบสมุนไพรมาคลุกเคล้าเข้าด้วยกัน เมื่อส่วนผสม 
เข้ากันดี แล้วนามาทดสอบน้าหนักรวมกันอีกครั้งหนึ่ง 
 นาส่วนผสมสมุนไพรลูกประคบมาใส่ในผ้า ห่อเป็นลูกประคบสมุนไพร รัดด้วยเชือกให้ 
แน่นพร้อมใช้
 นาส่วนผสมสมุนไพรของลูกประคบมาวางตรงกลางผ้า เริ่มต้นจับมุมผ้าสองมุม ขึ้นมาทบกัน 
โดยจับทีละมุมจนครบทั้งสี่มุม จากนั้นจะเกิดมุมผ้าขึ้นมาอีกสี่มุม ให้รวบมุมผ้าที่ละมุม อีกครั้งหนึ่ง 
จนครบทั้งสี่มุม 
 แต่งชายผ้าให้เรียบร้อย ซ้อนกันเป็นชายเดียว จากนั้นค่อย ๆ จัดแต่งลูกประคบสมุนไพร 
ให้เป็นรูปทรงกลมที่สวยงาม 
 เมื่อได้ลูกประคบสมุนไพรที่เป็นรูปทรงกลมที่สวยงามแล้ว ให้นาเชือกมาพับครึ่ง ร้อยเป็นห่วง 
ให้ชายทั้งสองเท่ากัน
 จากนั้นพันทบกันสองรอบแล้วผูกให้แน่นด้วยเงื่อนตายหนึ่งรอบ ก็จะทาให้เหลือปลายผ้าที่ 
เท่ากันทั้งสองข้าง ค่อย ๆ จัดระเบียบชายผ้าในส่วนที่จะทาเป็นด้ามจับลูกประคบสมุนไพร 
 การทาด้ามจับลูกประคบสมุนไพร โดยการจับชายผ้าที่เหลือมาซ้อนกันให้เรียบร้อย เสร็จแล้ว 
พับเข้าหากันเพอื่เก็บชายผ้าท้งัสองด้าน 
 หลังจากที่เราจัดแต่งและซ่อนชายผ้าของลูกประคบสมุนไพรเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ให้พับลงมา 
ประมาณ สองนิ้วครึ่ง เพื่อทาด้ามจับ ใช้ปลายของเชือกเส้นเดิมมาพันทบกันอีกสองรอบ โดยการผูก 
เชือกแบบเงอื่นตายให้แน่นอีกครั้งหนึ่ง 
 ให้ซ่อนปลายเชือกไว้ในซอกผ้าตรงรอยพับที่เป็นด้ามจับ เพื่อให้ลูกประคบสมุนไพรมีความ 
แข็งแรงและสวยงามคงทนต่อการใช้งาน
๑. ใช้ผ้าจับลูกประคบขณะร้อน ยกขึ้นจากปากหม้อ 
๒. ใช้ลูกประคบแตะที่ท้องแขนตนเอง ทดสอบความร้อน 
๓. ช่วงแรกแตะลูกประคบ และยกขึ้นโดยเร็ว จนกว่าลูกประคบจะคลายความร้อนลง 
๔. จากนั้นจึงวางลูกประคบได้นานพอประมาณ แล้วกดเน้นบริเวณที่ต้องการ 
๕. เปลี่ยนลูกประคบเมื่อเย็นลง
๑. บรรเทาอาการปวดเมื่อย 
๒. ช่วยลดอาการบวม อักเสบของกล้ามเนื้อ เอ็น ข้อต่อหลัง ๒๔-๔๘ ชั่วโมง 
๓. ลดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ 
๔. ช่วยให้เนื้อเยื่อ พังผืดคลายตัวออก 
๕. ลดการติดขัดของข้อต่อ 
๖. ลดอาการปวด 
๗. ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของโลหิต
๑. ห้ามใช้ลูกประคบที่ร้อนเกินไป 
๒. บริเวณผิวหนังอ่อนๆ หรือบาดเจ็บ ต้องมีผ้าขนหนูรองก่อน 
๓. ควรระวังผู้ป่วยที่เป็นเบาหวาน อัมพาต เด็ก ผู้สูงอายุ เพราะการตอบสนองต่อความร้อนช้า 
๔. ไม่ประคบกับกรณีการอักเสบ บวม ในช่วง ๒๕ ชั่วโมงแรก เพราะอาจจะบวมมากขึ้น 
ควรประคบน้าเย็นก่อน 
๕. หลังจากประคบ ไม่ควรอาบน้าทันที
๖.ไม่ควรใช้ลูกประคบที่ร้อนเกินไป โดยเฉพาะบริเวณผิวหนังที่เคยเป็นแผลมาก่อนหรือบริเวณที่มี 
กระดูกยื่น และต้องระมัดระวังเป็นพิเศษในผู้ป่วยโรคเบาหวาน อัมพาต ในเด็กและผู้สูงอายุ เพราะมักมี 
ความรู้สึกในการรับรู้และตอบสนองช้า อาจทาให้ผิวหนังไหม้พองได้ง่าย 
๗.ไม่ควรใช้การประคบสมุนไพรในกรณีที่มีอาการอักเสบ บวม แดง ร้อน ในช่วง 24 ชั่วโมงแรก 
เพราะจะทาให้อักเสบบวมมากขึ้นและอาจมีเลือดออกมากตามมาได้ 
๘.หลังจากประคบสมุนไพรเสร็จใหม่ ๆ ไม่ควรอาบน้าทันที เพราะจะไปล้างตัวยาจากผิวหนัง และ 
ร่างกายยังไม่สามารถปรับตัวได้ทัน อาจทาให้เกิดเป็นไข้ได้
ลูกประคบสมุนไพรที่ใช้ครั้งหนึ่งแล้วสามารถเก็บไว้ได้นาน 3-5 วัน หลังจากใช้แล้วควรผึ่งลูก 
ประคบให้แห้ง เก็บใส่ถุงหรือภาชนะปิดฝาให้แน่นแช่ตู้เย็นจะเก็บได้นานขึ้น ให้สังเกตถ้าลูกประคบมีเชื้อรา 
ปรากฏให้เห็นและมีกลิ่นเหม็นเปรี้ยว หรือสีเหลืองจางลง แสดงว่าตัวยาเสีย ไม่มีคุณภาพไม่ควรนามาใช้อีก 
ต่อไป เพราะจะใช้ไม่ได้ผล
IS1_สมุนไพรลูกประคบ
IS1_สมุนไพรลูกประคบ
IS1_สมุนไพรลูกประคบ
IS1_สมุนไพรลูกประคบ
IS1_สมุนไพรลูกประคบ
IS1_สมุนไพรลูกประคบ
IS1_สมุนไพรลูกประคบ
IS1_สมุนไพรลูกประคบ

More Related Content

What's hot

สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์hall999
 
เทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candleเทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candlePandora Fern
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
ใบงานหน่วยที่3
ใบงานหน่วยที่3ใบงานหน่วยที่3
ใบงานหน่วยที่3Amnuay
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการtumetr
 
ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์kunkrukularb
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
คู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวคู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวTeacher Sophonnawit
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการVorawut Wongumpornpinit
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft WordSupreeyar philarit
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกbiwty_keng
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theorieswiraja
 
Mind Map อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Mind Map อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Mind Map อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Mind Map อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Ged Rungrojsaratis
 
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทยขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทยVorawut Wongumpornpinit
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าSomporn Laothongsarn
 

What's hot (20)

แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
 
เทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candleเทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candle
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
Unit 1 nouns & articles
Unit 1   nouns & articlesUnit 1   nouns & articles
Unit 1 nouns & articles
 
Sicience project
Sicience projectSicience project
Sicience project
 
ใบงานหน่วยที่3
ใบงานหน่วยที่3ใบงานหน่วยที่3
ใบงานหน่วยที่3
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
คู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวคู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถว
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories
 
Mind Map อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Mind Map อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Mind Map อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Mind Map อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทยขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 

Similar to IS1_สมุนไพรลูกประคบ

หญ้าปักกิ่ง
หญ้าปักกิ่งหญ้าปักกิ่ง
หญ้าปักกิ่งPranom Chai7
 
พืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรพืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรkrittiyanee16
 
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนduangkaew
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยWaree01
 
ชุดประจำชาติอาเวียน
ชุดประจำชาติอาเวียนชุดประจำชาติอาเวียน
ชุดประจำชาติอาเวียนpolykamon15
 
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรคหญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรคหญ้าปักกิ่ง จตุกา
 
ความหมายของสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพรความหมายของสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพรWaree Wera
 
นิทรรศการ Herb for Health ชีวิตแฮปปี้ สุขภาพดี ด้วยสมุนไพร
นิทรรศการ Herb for Health ชีวิตแฮปปี้ สุขภาพดี ด้วยสมุนไพรนิทรรศการ Herb for Health ชีวิตแฮปปี้ สุขภาพดี ด้วยสมุนไพร
นิทรรศการ Herb for Health ชีวิตแฮปปี้ สุขภาพดี ด้วยสมุนไพรInsubstantial Bell
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยsasimaphon2539
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
โครงงาน 602 เลขที่15 38
โครงงาน 602 เลขที่15 38โครงงาน 602 เลขที่15 38
โครงงาน 602 เลขที่15 38worrakamon_yim
 

Similar to IS1_สมุนไพรลูกประคบ (15)

Herb
HerbHerb
Herb
 
หญ้าปักกิ่ง
หญ้าปักกิ่งหญ้าปักกิ่ง
หญ้าปักกิ่ง
 
พืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรพืชสมุนไพร
พืชสมุนไพร
 
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
ชุดประจำชาติอาเวียน
ชุดประจำชาติอาเวียนชุดประจำชาติอาเวียน
ชุดประจำชาติอาเวียน
 
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรคหญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
 
ความหมายของสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพรความหมายของสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพร
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 
นิทรรศการ Herb for Health ชีวิตแฮปปี้ สุขภาพดี ด้วยสมุนไพร
นิทรรศการ Herb for Health ชีวิตแฮปปี้ สุขภาพดี ด้วยสมุนไพรนิทรรศการ Herb for Health ชีวิตแฮปปี้ สุขภาพดี ด้วยสมุนไพร
นิทรรศการ Herb for Health ชีวิตแฮปปี้ สุขภาพดี ด้วยสมุนไพร
 
Thai green th
Thai green thThai green th
Thai green th
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
โครงงาน 602 เลขที่15 38
โครงงาน 602 เลขที่15 38โครงงาน 602 เลขที่15 38
โครงงาน 602 เลขที่15 38
 

More from ณรงค์ศักดิ์ กาหลง

สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงหน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการหน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบายหน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบายณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 

More from ณรงค์ศักดิ์ กาหลง (20)

คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทยการใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
 
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทยการใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
 
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงหน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
 
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการหน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
 
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบายหน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
 
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่านหน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
 
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปรายหน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
 
หน่วยที่ 3 การฟังและการดู
หน่วยที่ 3 การฟังและการดูหน่วยที่ 3 การฟังและการดู
หน่วยที่ 3 การฟังและการดู
 
หน่วยที่ 2 ใช้คำ
หน่วยที่ 2 ใช้คำหน่วยที่ 2 ใช้คำ
หน่วยที่ 2 ใช้คำ
 

IS1_สมุนไพรลูกประคบ

  • 1.
  • 2.
  • 3. ลูกประคบ คือสิ่งที่เกิดจากภูมิปัญญาจากบรรพบุรุษ ที่ใช้พืชสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่น นามาใช้ในการรักษาหรือเพื่อช่วยในการไหลเวียนของโลหิต ต่อมาก็ได้มีการปรับปรุงและพัฒนา ลูกประคบเรื่อยมา เพื่อประโยชน์ในการรักษาที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การประคบสมุนไพรการประคบสมุนไพรคือการใช้สมุนไพรหลายอย่างมาห่อรวมกัน ส่วนใหญ่เป็นสมุนไพรที่มีน้ามันหอมระเหยโดยนามานึ่งให้ร้อนประคบบริเวณที่ปวดหรือเคล็ดขัดยอก ซึ่งน้ามันหอมระเหยเมื่อถูกความร้อนจะระเหยออกมาความร้อนจากลูกประคบจะช่วยกระตุ้นการ ไหลเวียนโลหิตดีขึ้นและยังมีสาระสาคัญจากสมุนไพรบางชนิดที่ซึมเข้าทางผิวหนังช่วยรักษาอาการ เคล็ดขัดยอกและลดปวดได้
  • 4. การทาลูกประคบสมุนไพร คือ การใช้สมุนไพรหลายๆ อย่างมาห่อรวมกัน ส่วนใหญ่เป็นสมุนไพร ที่มีน้ามันหอมระเหย โดยนาลูกประคบมานึ่งให้ร้อนแล้วใช้ประคบบริเวณที่ปวดหรือเคล็ดขัดยอก สามารถช่วย กระตุ้นระบบไหลเวียนโลหิตได้ดี ประโยชน์หลักของลูกประคบคือ ใช้ช่วยรักษาอาการเคล็ด ขัด ยอก และลด อาการปวดได้ สมุนไพรที่นิยมนามาเป็นส่วนประกอบที่สาคัญของ "ลูกประคบสมุนไพร" ส่วนใหญ่มักเป็น สมุนไพรที่มีสรรพคุณบาบัดอาการของโรคทางกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น ผิวหนัง สมุนไพรที่คลายอาการเกร็งของ กล้ามเนื้อและเซลล์ที่อยู่ใต้ผิวหนัง ลดการตึงเครียดทาให้เส้นเอ็นหย่อนคลาย ที่สาคัญเมื่อผสมผสานสมุนไพร ต่าง ๆ คละเคล้ากัน จนได้เป็นลูกประคบแล้ว สิ่งที่ขาดไม่ได้คือ การบูร แพทย์แผนไทยนิยมนาการบูรมา ผสมผสานเข้าไป เพื่อให้ได้กลิ่นระเหิดออกมาและยังเป็นตัวช่วยนาพาสรรพคุณทางยาของสมุนไพรทุก ๆ อย่าง ให้แทรกซึมซอกซอน เข้าไปในเนื้อเยื่อได้ดีมากยิ่งขึ้น เคล็ดลับการเสริมส่วนผสมเข้าไปในลูกประคบนี้ สะท้อน ให้เห็นภูมิปัญญาทางการแพทย์ของบรรพบุรุษไทยที่น่าทึ่งยิ่งนัก
  • 5. ตะไคร้บ้าน มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cymbopogon citratus (Deex Nees) Stapf. มีน้ามันหอมระเหย ที่ช่วยให้ความสดชื่น การบูร มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cinnamomum camphora ( L . ) J.S. Presl มีสรรพคุณเป็นยาระงับเชื้ออ่อนๆ เป็นยากระตุ้นหัวใจ ช่วยขับลม ขับเสมหะ ขับปัสสาวะ แก้ปวด เมื่อยตามข้อ เกลือ สามารถใช้ฆ่าเชื้อแก้อาการอักเสบได้ อีกทั้งเกลือยังมีความสามารถในการดูด ความร้อน จะช่วยทาให้สรรพคุณทางยาของสมุนไพรซึมได้เร็วขึ้น ผิวมะกรูด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Citrus hystrix DC. มีสรรพคุณในการรักษาอาการหน้า มืดเป็นลม แก้อาการวิงเวียน และบารุงหัวใจ ขับลมในลาไส้ได้อีกด้วย
  • 6. ขมิ้นชัน มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Curcuma longa Linn. Zingiberaceae มีสรรพคุณในการลดการอักเสบจากแมลงสัตว์กัดต่อย ลดอาการแพ้ได้ ไพล มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Zingiber cassumunar Roxb. มีสรรพคุณในการลด อาการปวด บวมแดง และแก้ฟกช้าได้ด้วย ใบส้มป่อย มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Acacia rugata Merr มีสรรพคุณในการรักษาโรคผิวหนัง ใบมะขาม มีชื่อวิทยาศาสตร์ Tamarindus indica Linn. มีสรรพคุณในการบารุงผิวพรรณ ง ง ง ง ง ง
  • 7.  ผ้าขาวบาง ควรจะเป็นผ้าฝ้ายหรือผ้าดิบ เพื่อไม่ให้ตัวสมุนไพรหลุดออกมาจากตัวผ้าได้  สมุนไพรข้างต้นที่กล่าวมาแล้ว ก่อนนามาทาลูกประคบต้องทาความสะอาด แล้วหั่น  สับเป็นชิ้นเล็ก ๆ  หม้อสาหรับนึ่งลูกประคบ  เชือกที่ไว้ใช้สาหรับมัดลูกประคบ
  • 8.  เตรียมสมุนไพรให้พร้อมก่อนลงมือปรุงตามสูตรลูกประคบสมุนไพร หั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ โขลกพอแหลก นาสมุนไพรชั่งน้าหนักแต่ละชนิดตามสูตรมาตรฐานที่กาหนดไว้  นาส่วนผสมทั้งหมดของลูกประคบสมุนไพรมาคลุกเคล้าเข้าด้วยกัน เมื่อส่วนผสม เข้ากันดี แล้วนามาทดสอบน้าหนักรวมกันอีกครั้งหนึ่ง  นาส่วนผสมสมุนไพรลูกประคบมาใส่ในผ้า ห่อเป็นลูกประคบสมุนไพร รัดด้วยเชือกให้ แน่นพร้อมใช้
  • 9.  นาส่วนผสมสมุนไพรของลูกประคบมาวางตรงกลางผ้า เริ่มต้นจับมุมผ้าสองมุม ขึ้นมาทบกัน โดยจับทีละมุมจนครบทั้งสี่มุม จากนั้นจะเกิดมุมผ้าขึ้นมาอีกสี่มุม ให้รวบมุมผ้าที่ละมุม อีกครั้งหนึ่ง จนครบทั้งสี่มุม  แต่งชายผ้าให้เรียบร้อย ซ้อนกันเป็นชายเดียว จากนั้นค่อย ๆ จัดแต่งลูกประคบสมุนไพร ให้เป็นรูปทรงกลมที่สวยงาม  เมื่อได้ลูกประคบสมุนไพรที่เป็นรูปทรงกลมที่สวยงามแล้ว ให้นาเชือกมาพับครึ่ง ร้อยเป็นห่วง ให้ชายทั้งสองเท่ากัน
  • 10.  จากนั้นพันทบกันสองรอบแล้วผูกให้แน่นด้วยเงื่อนตายหนึ่งรอบ ก็จะทาให้เหลือปลายผ้าที่ เท่ากันทั้งสองข้าง ค่อย ๆ จัดระเบียบชายผ้าในส่วนที่จะทาเป็นด้ามจับลูกประคบสมุนไพร  การทาด้ามจับลูกประคบสมุนไพร โดยการจับชายผ้าที่เหลือมาซ้อนกันให้เรียบร้อย เสร็จแล้ว พับเข้าหากันเพอื่เก็บชายผ้าท้งัสองด้าน  หลังจากที่เราจัดแต่งและซ่อนชายผ้าของลูกประคบสมุนไพรเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ให้พับลงมา ประมาณ สองนิ้วครึ่ง เพื่อทาด้ามจับ ใช้ปลายของเชือกเส้นเดิมมาพันทบกันอีกสองรอบ โดยการผูก เชือกแบบเงอื่นตายให้แน่นอีกครั้งหนึ่ง  ให้ซ่อนปลายเชือกไว้ในซอกผ้าตรงรอยพับที่เป็นด้ามจับ เพื่อให้ลูกประคบสมุนไพรมีความ แข็งแรงและสวยงามคงทนต่อการใช้งาน
  • 11. ๑. ใช้ผ้าจับลูกประคบขณะร้อน ยกขึ้นจากปากหม้อ ๒. ใช้ลูกประคบแตะที่ท้องแขนตนเอง ทดสอบความร้อน ๓. ช่วงแรกแตะลูกประคบ และยกขึ้นโดยเร็ว จนกว่าลูกประคบจะคลายความร้อนลง ๔. จากนั้นจึงวางลูกประคบได้นานพอประมาณ แล้วกดเน้นบริเวณที่ต้องการ ๕. เปลี่ยนลูกประคบเมื่อเย็นลง
  • 12. ๑. บรรเทาอาการปวดเมื่อย ๒. ช่วยลดอาการบวม อักเสบของกล้ามเนื้อ เอ็น ข้อต่อหลัง ๒๔-๔๘ ชั่วโมง ๓. ลดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ ๔. ช่วยให้เนื้อเยื่อ พังผืดคลายตัวออก ๕. ลดการติดขัดของข้อต่อ ๖. ลดอาการปวด ๗. ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของโลหิต
  • 13. ๑. ห้ามใช้ลูกประคบที่ร้อนเกินไป ๒. บริเวณผิวหนังอ่อนๆ หรือบาดเจ็บ ต้องมีผ้าขนหนูรองก่อน ๓. ควรระวังผู้ป่วยที่เป็นเบาหวาน อัมพาต เด็ก ผู้สูงอายุ เพราะการตอบสนองต่อความร้อนช้า ๔. ไม่ประคบกับกรณีการอักเสบ บวม ในช่วง ๒๕ ชั่วโมงแรก เพราะอาจจะบวมมากขึ้น ควรประคบน้าเย็นก่อน ๕. หลังจากประคบ ไม่ควรอาบน้าทันที
  • 14. ๖.ไม่ควรใช้ลูกประคบที่ร้อนเกินไป โดยเฉพาะบริเวณผิวหนังที่เคยเป็นแผลมาก่อนหรือบริเวณที่มี กระดูกยื่น และต้องระมัดระวังเป็นพิเศษในผู้ป่วยโรคเบาหวาน อัมพาต ในเด็กและผู้สูงอายุ เพราะมักมี ความรู้สึกในการรับรู้และตอบสนองช้า อาจทาให้ผิวหนังไหม้พองได้ง่าย ๗.ไม่ควรใช้การประคบสมุนไพรในกรณีที่มีอาการอักเสบ บวม แดง ร้อน ในช่วง 24 ชั่วโมงแรก เพราะจะทาให้อักเสบบวมมากขึ้นและอาจมีเลือดออกมากตามมาได้ ๘.หลังจากประคบสมุนไพรเสร็จใหม่ ๆ ไม่ควรอาบน้าทันที เพราะจะไปล้างตัวยาจากผิวหนัง และ ร่างกายยังไม่สามารถปรับตัวได้ทัน อาจทาให้เกิดเป็นไข้ได้
  • 15. ลูกประคบสมุนไพรที่ใช้ครั้งหนึ่งแล้วสามารถเก็บไว้ได้นาน 3-5 วัน หลังจากใช้แล้วควรผึ่งลูก ประคบให้แห้ง เก็บใส่ถุงหรือภาชนะปิดฝาให้แน่นแช่ตู้เย็นจะเก็บได้นานขึ้น ให้สังเกตถ้าลูกประคบมีเชื้อรา ปรากฏให้เห็นและมีกลิ่นเหม็นเปรี้ยว หรือสีเหลืองจางลง แสดงว่าตัวยาเสีย ไม่มีคุณภาพไม่ควรนามาใช้อีก ต่อไป เพราะจะใช้ไม่ได้ผล