SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
กระเทียมกำจัดเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่
จัดทำโดย
นำย ติณณ์ อินปั๋นแก้ว ม.6/2 เลขที่ 38
นำย วรกมล แก้ววงค์วำน ม. 6/2 เลขที่ 15
MAIN MENU
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
เข้าสู่เนื้อหา
กิตติกรรมประกำศ
 ในการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง กระเทียมกาจัดเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการ
นาประโยชน์ของกระเทียมมาใช้เป็นยากาจัดเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ ซึ่งกระเทียมเป็นสมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชน
และท้องถิ่นของเราควรจะนามาใช้ให้เป็นประโยชน์ซึ่งในการจัดทาโครงงานครั้งนี้หวังไว้ว่าจะมี
ประโยชน์ไม่มากก็น้อยต่อผู้ที่สนใจ โครงงานนี้สาเร็วลุล่วงไปได้ด้วยดี
กลุ่มผู้จัดทา
Main Menu
บทคัดย่อ
 จากการที่พวกเราได้สังเกตว่าเกษตรกรมีปัญหาเกี่ยวกับศัตรูพืชมารบกวน เช่น เพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ ทา
ให้ผลผลิตของเกษตรกรเสียหายทาให้เกษตรกรหันมาใช้ยาฆ่าแมลงที่ทามาจากสารเคมีซึ่งเป็นอันตราย
ต่อสิ่งแวดล้อมอันตรายต่อผู้ที่ใช้ และ สิ้นเปลืองอีกด้วยพวกเราจึงคิดว่าน่าจะใช้สมุนไพรในการกาจัด
เพลี้ยอ่อนไม้ไผ่โดยใช้กระเทียมในการทายาฆ่าเพลี้ยอ่อยไม้ไผ่โดยการนาไปสกัดเอาแต่น้ากระเทียมแล้ว
นาไปฉีดที่เพลี้ยอ่อนไม้ไผ่
Main Menu
เนื้อหำ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
Main Menu
บทที่1
ที่มาละความสาคัญ
นิยามเชิงปฏิบัติวัตถุประสงค์
ปัญหาในการศึกษา
สมมุติฐาน
ประโยชน์ที่ได้รับ
ขอบเขตการศึกษา
เนื้อหา
บทที่ 2
เนื้อหา
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3
เนื้อหา
อุปกรณ์ที่ใช้
วิธีการทดลอง
สถานที่ทดลอง
บทที่ 4
เนื้อหา
ผลการทดลอง
บทที่ 5
เนื้อหา
สรุปผล
อภิปรายผล
ข้อเสนอแนะ
ที่มำและควำมสำคัญ
 จากการที่พวกเราได้สังเกตว่าเกษตรกรมีปัญหาเกี่ยวกับศัตรูพืชมารบกวน เช่น เพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ ทา
ให้ผลผลิตของเกษตรกรเสียหายทาให้เกษตรกรหันมาใช้ยาฆ่าแมลงที่ทามาจากสารเคมีซึ่งเป็นอันตราย
ต่อสิ่งแวดล้อมอันตรายต่อผู้ที่ใช้ และ สิ้นเปลืองอีกด้วยพวกเราจึงคิดว่าน่าจะใช้สมุนไพรในการกาจัด
เพลี้ยอ่อนไม้ไผ่โดยใช้กระเทียมในการทายาฆ่าเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่โดยการนาไปสกัดเอาแต่น้ากระเทียม
แล้วนาไปฉีดที่เพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ ประกอบกับพวกเรามีความสนใจในเรื่องของสมุนไพรกาจัดศัตรูพืช
เช่นเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ โดยศึกษาสมุนไพรว่ามีสารที่สามารถกาจัด
บทที่ 1
วัตถุประสงค์
 เพื่อศึกษาว่ากระเทียมสามารถกาจัดเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ได้จริงหรือไม่
 เพื่อเปรียบเทียบการกาจัดเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ระหว่างยาฆ่าเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ที่ทาจากกระเทียมกับน้า
บทที่ 1
ปัญหำในกำรศึกษำ
 ยาฆ่าเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ที่ทาจากกระเทียม 2 cm3กับน้าเปล่า 2 cm3เมื่อฉีดพ่นใส่เพลี้ยอ่อนไม้ไผ่สิ่ง
ไหนทาให้เพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ตายได้เร็วกว่า
บทที่ 1
สมมติฐำน
 ฤทธิ์ของกระเทียมมีผลต่อการทาให้เพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ตาย
บทที่ 1
นิยำมเชิงปฏิบัติ
 สารละลายกระเทียมหมายถึงการนาน้ากระเทียมที่แช่ไว้ไปกรองเอาแต่น้า
 เพลี้ยอ่อนไม้ไผ่หมายถึงแมลงปากดูดขนาดเล็ก ทาลายพืชโดยดูดกินน้าเลี้ยงตามยอดอ่อน ใบอ่อน
ดอกขยายพันธุ์โดยไม่ต้องผสมพันธุ์ และออกตัวโดยไม่มีการวางไข่ มีทั้งชนิดมีปีกและไม่มีปีก เพลี้ย
อ่อน ทั้งตัวอ่อนและแก่มีลักษณะคล้ายคลึงกันมาก ต่างกันที่ขนาดและสี ลอกคราบ 4-5 ครั้งเมื่อโตเต็มที่
ขนาดประมาณ 1 มม. รูปร่างคล้ายผลฝรั่ง มีท่อเล็ก ๆ ยื่นยาวออกไปทางส่วนท้าย 2 ท่อ เพลี้ยอ่อนตัว
หนึ่ง ๆ จะออกลูกได้ 273 ตัว อายุตัวอ่อนโดยเฉลี่ย 6 วัน ตัวแก่มีชีวิตอยู่ได้นาน 3-14 วัน รวมชีพจักร
เฉลี่ย 11 วัน
บทที่ 1
ขอบเขตกำรศึกษำ
 ยาฆ่าเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ที่ทาจากกระเทียมที่ใช้ศึกษาทามาจากสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่น
 เพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ที่ใช้ในการทดลองสามารถหาได้ในชุมชนและท้องถิ่น
บทที่ 1
ประโยชน์ที่ได้รับ
 ผลจากการศึกษาจะได้น้ายาฆ่าเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ที่ทาจากกระเทียม
 เป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้อยาฆ่าแมลง เนื่องจากยาห่าแมลงที่ทาอยู่หาได้ง่ายในท้องถิ่น จึง
จะเสียเงินลงทุนไม่มาก ในการทายาฆ่าแมลง
 ได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ในการผลิตน้ายาเป็นของใช้
 การทางานกลุ่มทาให้เกิดความสามัคคี
บทที่ 1
เอกสำรที่เกี่ยวข้อง
เพลี้ยอ่อนไม้ไผ่
กระเทียม
สำรที่พบ
บทที่ 2
เพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ 1
เพลี้ยอ่อนไม้ไผ่
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Aphis craccivora Koch
อันดับ Homoptera วงศ์ Aphididae
 เพลี้ยอ่อนเป็นแมลงปากดูดขนาดเล็ก ทาลายพืชโดยดูดกินน้าเลี้ยงตามยอดอ่อน ใบอ่อน ดอก ถ้าเกิด
ระบาดในขณะที่ต้นพืชยังเล็กทาให้ต้นแคระแกรน ใบอ่อน ยอดอ่อนหงิกงอ แต่ถ้าต้นถั่วอยู่ในระยะออกดอก
จะทาให้ดอกร่วง เพลี้ยอ่อนเป็นศัตรูสาคัญมากของถั่วลิสง เพราะเป็นพาหะนาโรควิสาที่สาคัญหลายชนิด เช่น
โรคใบด่างกระ peanut mottle virus (PMV) เป็นต้น
เอกสารที่เกี่ยวข้อง เพลี้ยอ่อนไม้ไผ่2
เพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ 2
 มีการขยายพันธุ์โดยไม่ต้องผสมพันธุ์ และออกตัวโดยไม่มีการวางไข่ มีทั้งชนิดมีปีกและไม่มีปีก
เพลี้ยอ่อน ทั้งตัวอ่อนและแก่มีลักษณะคล้ายคลึงกันมาก ต่างกันที่ขนาดและสี ลอกคราบ 4-5 ครั้งเมื่อโต
เต็มที่ขนาดประมาณ
 1 มม. รูปร่างคล้ายผลฝรั่ง มีท่อเล็ก ๆ ยื่นยาวออกไปทางส่วนท้าย 2 ท่อ เพลี้ยอ่อนตัวหนึ่ง ๆ จะ
ออกลูกได้ 273 ตัว อายุตัวอ่อนโดยเฉลี่ย 6 วัน ตัวแก่มีชีวิตอยู่ได้นาน 3-14 วัน รวมชีพจักรเฉลี่ย 11 วัน
เพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ 1 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
กระเทียม 1
 กระเทียม ถูกนามาใช้เป็นยาตั้งแต่ยุคอียิปต์โบราณเรื่อยมา เข้ามาในยุโรป อินเดีย และเอเชียและ
เผยแพร่เข้าไปในอเมริกา
 ปัจจุบันมีการวิจัยพยายามศึกษาหาสารในกระเทียมว่า มีสารอะไรบ้าง ที่มีประโยชน์ในการรักษา
โรค โรคที่ใช้รักษาได้คือ โรคหัวใจ,
 มะเร็ง, ภูมิคุ้มกันบกพร่อง, ใช้ต่อต้านอนุมูลอิสระก่อนที่จะทาลายเซลล์ดีๆ ของร่างกาย ฯลฯ
เอกสารที่เกี่ยวข้อง กระเทียม 2
กระเทียม 2
 ชื่อวิทยาศาสตร์: Allium sativum L.
 วงศ์ : Alliaceae
 ชื่อสามัญ : Common Garlic , Allium ,Garlic ,
 ชื่ออื่น : กระเทียม (ภาคกลาง) หอมเทียม(ภาคเหนือ) หอมขาว (ภาคอีสาน) เทียม,หอม
เทียม (ภาคใต้)
 ลักษณะ : เป็นพืชล้มลุกที่มีหัวอยู่ใต้ดิน แต่ละหัวประกอบด้วยกลีบเรียงซ้อนกันประมาณ
4-15 กลีบ บางพันธุ์จะมีเพียงกลีบเดียวเรียกว่า “กระเทียมโทน” แต่ละกลีบมีกาบเป็นเยื่อบางๆสีขาวอมชมพู
หุ้มอยู่โดยรอบ กระเทียมมีรากไม่ยาวนัก ใบมีลักษณะยาวแบน
กระเทียม 1 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
สำรที่พบ
 สารสาคัญที่ทาให้กระเทียมมีกลิ่นหอมฉุนเผ็ดร้อนคือเอนไซม์อัลลิเนส (Allinase) ที่เปลี่ยน
สารอินทรีย์กามะถันอัลลิอิน (Alliin) ให้เป็นน้ามันหอมระเหยอัลลิซิน (Allicin) และเมื่อนาหัวกระเทียม
สดมากลั่นด้วยไอน้าจะได้น้ามันกระเทียม (Garlic oil) นอกจากนี้ยังประกอบด้วยสารอาหาร น้า กรด
ไขมัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต น้าตาล กรดอะมิโน เหล็ก แคลเซียม วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 และวิตามินซี
ฯลฯ และสารซัลเฟอร์ที่สามารถกาจัดแบคทีเรียได้
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
สถำนที่ทดลอง
 ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมชนศรีจอมทอง หมู่ที่1 ต. ดอยแก้ว
อ.จอมทอง จ. เชียงใหม่ 50160
บทที่ 3
อุปกรณ์ที่ใช้
บทที่ 3
กระเทียม 50 กรัม ครก
น้าร้อน 500 𝑐𝑚3
ขวดโหล ขนาด 500 𝑐𝑚3
ถ้วย( เล็ก ) 2 ถ้วยกระชอน
น้าเปล่า หลอดฉีดยาหลอด 5 𝑐𝑚3
กระเทียม 50 กรัม
อุปกรณ์ที่ใช้
ครก
อุปกรณ์ที่ใช้
น้าร้อน 500 CM3
อุปกรณ์ที่ใช้
ขวดโหล ขนาด 500 CM3
อุปกรณ์ที่ใช้
กระชอน
อุปกรณ์ที่ใช้
ถ้วย( เล็ก ) 2 ถ้วย
อุปกรณ์ที่ใช้
น้าเปล่า
อุปกรณ์ที่ใช้
หลอดฉีดยาหลอด 5 CM3
อุปกรณ์ที่ใช้
วิธีทำกระเทียมกำจัดเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ 1
 โขลกกระเทียม 50 กรัม ให้ละเอียด
 ต้มน้า 500 cm3 ให้ได้อุณหภูมิ 100 ℃
 นากระเทียมที่โขลกใส่ลงในน้าร้อน 100℃
 แช่ทิ้งน้า 24 ชั่วโมง
 นามากรองเอาแต่สารละลายกระเทียม
วิธีทากระเทียมกาจัดเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ 2บทที่ 3
วิธีทำกระเทียมกำจัดเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ 2
 นาเพลี้ยอ่อนมา 40 ตัว
 แบ่งใส่ถ้วย ถ้วยละ 20 ตัว
 นาสารละลายกระเทียม 2 cm3ฉีดลงในถ้วยที่ 1
 นาน้า 2 cm3 ฉีดลงในถ้วยที่ 2
 บันทึกการตายของเพลี้ยอ่อนโดยการจับเวลาว่าเพลี้ยในถ้วยไหนตายก่อนและในนาทีเท่าไร
วิธีทากระเทียมกาจัดเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ 1 บทที่ 3
ผลกำรทดลอง
 จากการทดลองโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง กระเทียมกาจัดเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ เมื่อทาการทดลองได้ผล
ดังนี้
สารที่ใช้กาจัดเพลี้ยอ่อน จานวนเพลี้ยอ่อนที่ตาย (ตัว) เวลา 10 นาที
ยาฆ่าเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ที่ทาจากกระเทียม
ปริมาณ 2 cm3
8 ตัว
น้าปริมาณ 2 cm3 1 ตัว
บทที่ 4
สรุป
 จากการทดลองมีเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ 20 ตัว เมื่อใช้ยาฆ่าเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ที่ทาจากกระเทียม เมื่อเวลาผ่าน
ไป 10 นาที ทาให้เพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ตายไป 8 ตัว และเมื่อใช้น้าเมื่อเวลาผ่านไป 10 นาที เพลี้ยอ่อนไม้ไผ่
ตาย 1 ตัว จะเห็นไดว่าเมื่อใช้ยาฆ่าเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ที่ทาจากกระเทียมจะสามารถกาจัดเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ได้
ดีกว่าน้า
 จากการทาโครงงานเรื่อง กระเทียมกาจัดเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ ถ้าใช้ยาฆ่าเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ที่ทาจาก
กระเทียมฉีดใส่เพลี้ยอ่อนจานวน 20 ตัว ปริมาณ 2 cm3 เวลาผ่านไป10 นาทีทาให้เพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ตายไป
8 ตัว และเมื่อใช้น้าฉีดใส่เพลี้ยอ่อนจานวน 20 ตัว ปริมาณ 2 cm3 เวลาผ่านไป10 นาทีทาให้เพลี้ยอ่อนไม้
ไผ่ตายไป 1 ตัว ดังนั้นยาฆ่าเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ที่ทาจากกระเทียมสามารถกาจัดเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ได้ดีกว่าน้า
บทที่ 5
อภิปรำย
 จากที่ใช้ยาฆ่าเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ที่ทาจากกระเทียมกับน้ากาจัดเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ได้พบว่ายาฆ่าเพลี้ยอ่อน
ที่ทาจากกระเทียมสามารถกาจัดเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ได้ดีกว่าน้า ดังนั้นกระเทียมมีผลต่อการช่วยกาจัดเพลี้ย
อ่อนไม้ไผ่คือยาฆ่าเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ที่ทาจากกระเทียมฤทธิ์ของกระเทียมช่วยในการในการกาจัดเพลี้ย
อ่อนไม้ไผ่ได้ดีกว่าน้าในเวลา10 นาที ยาฆ่าเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ที่ทาจากกระเทียม สามารถกาจัดเพลี้ยอ่อนไม้
ไผ่ได้8 ตัว
 น้าสามารถกาจัดเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ได้1 ตัว ฉะนั้นกระเทียมมีผลต่อการกาจัดเพลี้ยอ่อนไม้ไผ่
บทที่ 5
ข้อเสนอแนะ
 1) ควรมีการทดลองนาสารละลายกระเทียมไปพ่นฉีกเพลี้ยชนิดอื่นเช่น เพลี้ยไฟ เพลี้ยแป้ง
 2) เพลี้ยอ่อนไม้ไผ่ควรมีขนาดเท่ากัน
บทที่ 5
บรรณำนุกรม
 รายงานโครงงาวิทยาศาสตร์ เรื่องที่เจาะรูแบบภูมิปัญญาชาวบ้าน.
 วิวัฒน์ เตอะมุย และคณะโรงเรียนหัวสิงห์.เอกสารถ่ายสาเนา
 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่องปริศนากล่องดา.คุณครูกัปตัน นิภพลาอนันต์และคณะ.เอกสาร
ถ่ายสาเนา
http://www.phkaset.com/default.asp?content=contentdetail&id=2035
Main Menu
ภำคผนวก
Main Menu
เพลี้ยอ่อน 1
เพลี้ยอ่อน 2
เพลี้ยอ่อน 2
วีดีโอ เพลี้ยอ่อน
End
ขอบคุณที่รับชมครับ
Main Menu The End
END

More Related Content

What's hot

โครงงาน น้ำตะไคร้
โครงงาน น้ำตะไคร้โครงงาน น้ำตะไคร้
โครงงาน น้ำตะไคร้
krunoony
 
นำเสนอโครงงานคอม
นำเสนอโครงงานคอมนำเสนอโครงงานคอม
นำเสนอโครงงานคอม
Pim Jazz
 
โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)
009kkk
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
Thitaree Permthongchuchai
 
ลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพร
aromdjoy
 
โครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spitโครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spit
sledped39
 

What's hot (14)

โครงงานผลไม เพ _อส_ขภาพpdf
โครงงานผลไม เพ _อส_ขภาพpdfโครงงานผลไม เพ _อส_ขภาพpdf
โครงงานผลไม เพ _อส_ขภาพpdf
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
Cook
CookCook
Cook
 
ใบงาน 9 -16
ใบงาน 9 -16ใบงาน 9 -16
ใบงาน 9 -16
 
โครงงาน น้ำตะไคร้
โครงงาน น้ำตะไคร้โครงงาน น้ำตะไคร้
โครงงาน น้ำตะไคร้
 
นำเสนอโครงงานคอม
นำเสนอโครงงานคอมนำเสนอโครงงานคอม
นำเสนอโครงงานคอม
 
โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพร
 
58210401215 งาน 1ss
58210401215 งาน 1ss58210401215 งาน 1ss
58210401215 งาน 1ss
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
 
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
 
โครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spitโครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spit
 

Similar to โครงงาน 602 เลขที่15 38

Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
Wichai Likitponrak
 
กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดง
Varee Supa
 
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจ
khuwawa
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
Wichai Likitponrak
 
สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01
toonkp_shadow
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
guestd908c1
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
guestd908c1
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
guestd908c1
 
บทที่ 2 HERB & HEALTH
บทที่ 2 HERB & HEALTHบทที่ 2 HERB & HEALTH
บทที่ 2 HERB & HEALTH
ChinRae FunFun
 

Similar to โครงงาน 602 เลขที่15 38 (20)

Herb
HerbHerb
Herb
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
ดอกอัญชัน
ดอกอัญชันดอกอัญชัน
ดอกอัญชัน
 
กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดง
 
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
 
File
FileFile
File
 
T1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจT1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจ
 
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจ
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมดโครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
 
สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01
 
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุสำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 
บทที่ 2 HERB & HEALTH
บทที่ 2 HERB & HEALTHบทที่ 2 HERB & HEALTH
บทที่ 2 HERB & HEALTH
 
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนสมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 

โครงงาน 602 เลขที่15 38