SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
ผู้จัดทำ
     นำยภูฟ้ำ ยะมงคล เลขที่ 4
    นำยธนดล ไชยเสน เลขที่ 9
นำงสำวรอยพิมพ์ ธนำนุศักดิ์ เลขที่ 16
 นำงสำวสุนันทำ หอมนำน เลขที่ 21
การปฏิวัติทางภูมิปัญญา
                                 
          การปฏิวัติทางภูมิปัญญาเป็นผลสืบเนื่องจากการฟื้นฟูศิลปวิทยาการซึ่ง
กระตุ้นให้ชาวยุโรปสนใจศึกษาหาความรู้และค้นหาความจริงทาให้ยุโรปพ้นจาก
ยุคมืดมีโอกาสแสวงหาความรู้วิทยาการแขนงใหม่ที่มีอิสรภาพ และเสรีภาพมาก
ขึ้นส่งผลให้ชาวยุโรปมีความคิดก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองเกิดนัก
คิดนักปรัชญาขึ้นมากมายซึ่งอยู่ในช่วงศตวรรษที่ 17-18
สมัยปฏิวัติทางปัญญา
                                      
ยุคภูมิธรรม (ยุครูแจ้ง)
                  ้
    The Enlightenment

  - ควำมแน่นอน โลกแท้จริง คือโลกที่มนุษย์สัมผัสและเข้ำใจได้
  - กำรมองโลกในแง่ดี ควำมเข้ำใจกลไกของโลก
  - เชื่อในเหตุผล และควำมก้ำวหน้ำ หลีกเลี่ยงไม่ได้ และไม่หยุดยั้ง

  * นักคิดที่สำคัญ เช่น ชำลส์ ดำร์วิน (1809 – 1882)
  - Law of Natural selection กำรเลือกสรรโดยธรรมชำติ
  - Survival of the fittest กำรดำรงอยู่ของผู้เหมำะสมที่สุด
  - ผลกระทบต่อปรัชญำ ควำมเชื่อ Creation ของศำสนำคริสต์
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
                                            นตกในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ไม่เพียงก่อให้เกิด
     กำรปฏิวัติทำงวิทยำศำสตร์ที่เริ่มขึ้นในสังคมตะวั
ควำมเจริญก้ำวหน้ำทำงวิทยำกำรและเทคนิค ตลอดจนสิ่งประดิษฐ์ที่เป็นประโยชน์ต่อกำรพัฒนำ
คุณภำพชีวิตให้ดีขึ้นเท่ำนั้น แต่ยังนำไปสู่กำรปฏิวัติทำงภูมิปัญญำ (Intellectual
Revolution) ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 อีกด้วย วิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์และกำรหลุดพ้นจำก
อำนำจของคริสต์ศำสนจักร ทำให้ชำวตะวันตกกล้ำใช้เหตุผลเพื่อแสดงควำมคิดเห็นทำงสังคมและ
กำรเมืองมำกขึ้น และเชื่อมั่นว่ำควำมมีเหตุผลสำมำรถเปลี่ยนแปลงชีวิตและสังคมให้ดีขึ้นได้ กำรแสดง
ควำมคิดเห็นทำงสังคมและกำรเมือง ตลอดจนกำรเรียกร้องสิทธิเสรีภำพในกำรมีส่วนร่วมในกำร
ปกครองจึงเป็นลักษณะเด่นประกำรหนึ่งของคริสต์ศตวรรษที่ 18 กำรพัฒนำกำรด้ำนต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นใน
คริสต์ศตวรรษนี้จึงเปรียบเสมือนแสงสว่ำงที่ส่องนำทำงให้โลกตะวันตกเป็นสังคมที่รุ่งโรจน์ในวิชำกำร
ต่ำงๆ ทำให้ผู้มีควำมรู้ต่ำงๆ ทำให้ผู้มีควำมรู้ มีสติปัญญำและควำมคิด ตลอดจนควำมสำมำรถได้รับ
กำรยกย่องจำกสังคมมำกขึ้น และเป็นพื้นฐำนสำคัญที่ทำให้ชำติตะวันตกเข้ำสู่ควำมเจริญในยุคใหม่
ดังนั้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 จึงได้รับสมญำว่ำเป็น ยุคภูมิธรรม (The Age of
Enlightenment)
บุคคลสาคัญที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้นาในการปฏิวัตทางภูมปัญญา
                                                   ิ     ิ
1.พระเจ้าเฟรเดอริกมหาราชแห่งปรัสเซีย
(Frederick the Great : ค.ศ.1740-1786)
ทรงได้รับการยกย่องว่าเป็นตัวอย่างที่ดีของ
กษัตริย์ทรงภูมิธรรม (Enlightened Despotism)
ด้วยทรงใช้สติปัญญาและเหตุผลในการปกครอง
ส่งเสริมการอุตสาหกรรมและการค้าเพื่อให้
ประชาชนมีความเป็นอยู่ดีขึ้นทรงใช้หลักขันติ
ธรรมทางศาสนา (religious toleration) ให้
เสรีภาพแก่ประชาชนในการนับถือศาสนา และ
เปิดโอกาสให้ปัญญาชนสามารถแสดงความ
คิดเห็นได้อย่างกว้างขวาง
2.ธอมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes :
ค.ศ.1586-1679)
เป็นนักปรัชญาชาวอังกฤษ เขาได้เขียน
หนังสือเรื่อง Leviathan ซึ่งแสดงแนวคิด
ทางการเมืองว่าสังคมการเมืองที่อยู่อย่าง
สันติสุขต้องมอบอานาจให้ผู้ปกครองทา
หน้าที่ปกครองประชาชน ทั้งนี้ประชาชน
มีสิทธิเลือกการปกครองที่สอดคล้องกับ
ความต้องการของคนส่วนใหญ่
3. จอห์น ล็อค (John Locke
: ค.ศ. 1632-1704)
เป็นนักปรัชญาชาวอังกฤษ
เขาได้เขียนหนังสือเรื่อง Two
Treatises of Government
ซึ่งเสนอแนวคิดว่ารัฐบาลต้อง
จัดตั้งโดยความยินยอมของ
ประชาชนและต้องรับผิดชอบ
ความเป็นอยู่ของประชาชน
4. บารอน เดอ มองเตสกิเออ (Baron de
Montesquieu : ค.ศ. 1689-1755)
เป็นขุนนางชาวฝรั่งเศสซึ่งต่อมาเป็นราช
บัณฑิตของราชบัณฑิตยสถานของฝรั่งเศส
เขาได้เขียนหนังสือเรื่อง The Spirit of Laws
ซึ่งเสนอว่ากฎหมายที่รัฐบาลบัญญัติขึ้นต้อง
สอดคล้องกับสังคมนั้น (วัฒนธรรม ประเพณี
และประวัติศาสตร์ของแต่ละสังคม) เขาชื่นชม
ระบอบการปกครองของอังกฤษที่กษัตริย์อยู่ใต้
รัฐธรรมนูญ และแบ่งอานาจนิติบัญญัติ
บริหาร และตุลาการ ออกจากกัน
5. วอลแตร์ (Voltaire : ค.ศ.1694-1778)
นักปรัชญาชาวฝรั่งเศส ได้เขียนหนังสือเรื่อง
The Philosophical Letters หรือ Letters on
the English ซึ่งได้โจมตีสถาบันและ
กฎระเบียบต่างๆของฝรั่งเศส และเรียกร้อง
ให้มีการปฏิรูปในหนังสือเรื่อง Elements of
the Philosophy of Nation, Essay on
Universal History และ เรื่อง The Age of
Louis XIV เขาเสนอให้ใช้เหตุผลและ
สติปัญญาแก้ไขปัญหาสังคมและการเมือง
6. ชอง-ชาคส์ รุสโซ (Jean-Jacques
Rousseau : ค.ศ. 1712-1778)
นักปรัชญาชาวฝรั่งเศส หนังสือที่สาคัญคือ
เรื่อง สัญญาประชาคม (The Social Contract)
ซึ่งถือว่าเป็นการวางรากฐานแนวคิดเกี่ยวกับ
อานาจอธิปไตยของประชาชน เพราะมนุษย์
เป็นอิสระควรจัดตั้งรูปแบบการปกครองที่ให้
ประชาชนร่วมทา “เจตจานงร่วม”
(General Will) หรือสัญญาประชาคมขึ้นเป็น
อานาจสูงสุด รัฐบาลจึงควรเกิดจากความเห็น
ร่วมกันของประชาชน
7. อดัม สมิธ (Adam Smith : ค.ศ. 1723-1790)
เป็นนักปรัชญาชาวสก๊อต มีผลงานเขียนที่มีชื่อเสียง
คือหนังสือเรื่อง ความมั่งคั่งของชาติ (The Wealth of
the Nations) ใน ค.ศ.1776 ซึ่งมีอิทธิพลอย่างมากต่อ
แนว ความคิดทางการเมืองและเศรษฐกิจของยุโรปใน
คริสต์ศตวรรษ ที่ 18 และ 19 หนังสือเล่มนี้กล่าวถึง
ทฤษฎีการค้าเสรี โดยปล่อยให้การค้าเป็นไปตาม
กฎธรรมชาติที่จะสนองความต้องการในเรื่องของอุป
สงค์และอุปทาน (Demand and Supply) ซึ่งรัฐไม่ควร
เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับการค้าของเอกชนแต่รัฐมีหน้าที่ช่วย
ป้องกันไม่ให้เกิดการเอาเปรียบ จัดการศึกษาและบริการ
สาธารณสุข
    แนวคิดของนักปรัชญาเหล่านี้มุ่งที่จะปฏิรูปสังคม
และการเมือง ซึ่งเป็นผลมาจากการปฏิวัติทาง
วิทยาศาสตร์นั่นเอง
http://www.thaigoodview.com/node/19094
http://neoeu.blogspot.com/2009/11/6.html

More Related Content

What's hot

เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามPloykarn Lamdual
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายenksodsoon
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 

What's hot (20)

สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 

Viewers also liked

ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยMild Jirachaya
 
ความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ
ความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ
ความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยmudmook11
 
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์+603+55t2his p06 f14-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์+603+55t2his p06 f14-1pageภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์+603+55t2his p06 f14-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์+603+55t2his p06 f14-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious ReformationWarinthorn Limpanakorn
 
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาRenaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาfuangfaa
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยMudmook Mvs
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมPloynaput Kritsornluk
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาJeeji Supadda Phokaew
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทยJulPcc CR
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 

Viewers also liked (20)

ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
สำรวจทะเล2
สำรวจทะเล2สำรวจทะเล2
สำรวจทะเล2
 
ความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ
ความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ
ความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ
 
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
 
ความขัดแย้งหลังสงครามเย็น
ความขัดแย้งหลังสงครามเย็นความขัดแย้งหลังสงครามเย็น
ความขัดแย้งหลังสงครามเย็น
 
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
 
เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
 
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์+603+55t2his p06 f14-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์+603+55t2his p06 f14-1pageภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์+603+55t2his p06 f14-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์+603+55t2his p06 f14-1page
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
 
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาRenaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนา
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
The Enlightenment Power Point.Ppt
The Enlightenment Power Point.PptThe Enlightenment Power Point.Ppt
The Enlightenment Power Point.Ppt
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

การปฏิวัติทางภูมิปัญญา

  • 1. ผู้จัดทำ นำยภูฟ้ำ ยะมงคล เลขที่ 4 นำยธนดล ไชยเสน เลขที่ 9 นำงสำวรอยพิมพ์ ธนำนุศักดิ์ เลขที่ 16 นำงสำวสุนันทำ หอมนำน เลขที่ 21
  • 2. การปฏิวัติทางภูมิปัญญา  การปฏิวัติทางภูมิปัญญาเป็นผลสืบเนื่องจากการฟื้นฟูศิลปวิทยาการซึ่ง กระตุ้นให้ชาวยุโรปสนใจศึกษาหาความรู้และค้นหาความจริงทาให้ยุโรปพ้นจาก ยุคมืดมีโอกาสแสวงหาความรู้วิทยาการแขนงใหม่ที่มีอิสรภาพ และเสรีภาพมาก ขึ้นส่งผลให้ชาวยุโรปมีความคิดก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองเกิดนัก คิดนักปรัชญาขึ้นมากมายซึ่งอยู่ในช่วงศตวรรษที่ 17-18
  • 3. สมัยปฏิวัติทางปัญญา  ยุคภูมิธรรม (ยุครูแจ้ง) ้ The Enlightenment - ควำมแน่นอน โลกแท้จริง คือโลกที่มนุษย์สัมผัสและเข้ำใจได้ - กำรมองโลกในแง่ดี ควำมเข้ำใจกลไกของโลก - เชื่อในเหตุผล และควำมก้ำวหน้ำ หลีกเลี่ยงไม่ได้ และไม่หยุดยั้ง * นักคิดที่สำคัญ เช่น ชำลส์ ดำร์วิน (1809 – 1882) - Law of Natural selection กำรเลือกสรรโดยธรรมชำติ - Survival of the fittest กำรดำรงอยู่ของผู้เหมำะสมที่สุด - ผลกระทบต่อปรัชญำ ควำมเชื่อ Creation ของศำสนำคริสต์
  • 4. ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย  นตกในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ไม่เพียงก่อให้เกิด กำรปฏิวัติทำงวิทยำศำสตร์ที่เริ่มขึ้นในสังคมตะวั ควำมเจริญก้ำวหน้ำทำงวิทยำกำรและเทคนิค ตลอดจนสิ่งประดิษฐ์ที่เป็นประโยชน์ต่อกำรพัฒนำ คุณภำพชีวิตให้ดีขึ้นเท่ำนั้น แต่ยังนำไปสู่กำรปฏิวัติทำงภูมิปัญญำ (Intellectual Revolution) ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 อีกด้วย วิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์และกำรหลุดพ้นจำก อำนำจของคริสต์ศำสนจักร ทำให้ชำวตะวันตกกล้ำใช้เหตุผลเพื่อแสดงควำมคิดเห็นทำงสังคมและ กำรเมืองมำกขึ้น และเชื่อมั่นว่ำควำมมีเหตุผลสำมำรถเปลี่ยนแปลงชีวิตและสังคมให้ดีขึ้นได้ กำรแสดง ควำมคิดเห็นทำงสังคมและกำรเมือง ตลอดจนกำรเรียกร้องสิทธิเสรีภำพในกำรมีส่วนร่วมในกำร ปกครองจึงเป็นลักษณะเด่นประกำรหนึ่งของคริสต์ศตวรรษที่ 18 กำรพัฒนำกำรด้ำนต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นใน คริสต์ศตวรรษนี้จึงเปรียบเสมือนแสงสว่ำงที่ส่องนำทำงให้โลกตะวันตกเป็นสังคมที่รุ่งโรจน์ในวิชำกำร ต่ำงๆ ทำให้ผู้มีควำมรู้ต่ำงๆ ทำให้ผู้มีควำมรู้ มีสติปัญญำและควำมคิด ตลอดจนควำมสำมำรถได้รับ กำรยกย่องจำกสังคมมำกขึ้น และเป็นพื้นฐำนสำคัญที่ทำให้ชำติตะวันตกเข้ำสู่ควำมเจริญในยุคใหม่ ดังนั้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 จึงได้รับสมญำว่ำเป็น ยุคภูมิธรรม (The Age of Enlightenment)
  • 6. 1.พระเจ้าเฟรเดอริกมหาราชแห่งปรัสเซีย (Frederick the Great : ค.ศ.1740-1786) ทรงได้รับการยกย่องว่าเป็นตัวอย่างที่ดีของ กษัตริย์ทรงภูมิธรรม (Enlightened Despotism) ด้วยทรงใช้สติปัญญาและเหตุผลในการปกครอง ส่งเสริมการอุตสาหกรรมและการค้าเพื่อให้ ประชาชนมีความเป็นอยู่ดีขึ้นทรงใช้หลักขันติ ธรรมทางศาสนา (religious toleration) ให้ เสรีภาพแก่ประชาชนในการนับถือศาสนา และ เปิดโอกาสให้ปัญญาชนสามารถแสดงความ คิดเห็นได้อย่างกว้างขวาง
  • 7. 2.ธอมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes : ค.ศ.1586-1679) เป็นนักปรัชญาชาวอังกฤษ เขาได้เขียน หนังสือเรื่อง Leviathan ซึ่งแสดงแนวคิด ทางการเมืองว่าสังคมการเมืองที่อยู่อย่าง สันติสุขต้องมอบอานาจให้ผู้ปกครองทา หน้าที่ปกครองประชาชน ทั้งนี้ประชาชน มีสิทธิเลือกการปกครองที่สอดคล้องกับ ความต้องการของคนส่วนใหญ่
  • 8. 3. จอห์น ล็อค (John Locke : ค.ศ. 1632-1704) เป็นนักปรัชญาชาวอังกฤษ เขาได้เขียนหนังสือเรื่อง Two Treatises of Government ซึ่งเสนอแนวคิดว่ารัฐบาลต้อง จัดตั้งโดยความยินยอมของ ประชาชนและต้องรับผิดชอบ ความเป็นอยู่ของประชาชน
  • 9. 4. บารอน เดอ มองเตสกิเออ (Baron de Montesquieu : ค.ศ. 1689-1755) เป็นขุนนางชาวฝรั่งเศสซึ่งต่อมาเป็นราช บัณฑิตของราชบัณฑิตยสถานของฝรั่งเศส เขาได้เขียนหนังสือเรื่อง The Spirit of Laws ซึ่งเสนอว่ากฎหมายที่รัฐบาลบัญญัติขึ้นต้อง สอดคล้องกับสังคมนั้น (วัฒนธรรม ประเพณี และประวัติศาสตร์ของแต่ละสังคม) เขาชื่นชม ระบอบการปกครองของอังกฤษที่กษัตริย์อยู่ใต้ รัฐธรรมนูญ และแบ่งอานาจนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ ออกจากกัน
  • 10. 5. วอลแตร์ (Voltaire : ค.ศ.1694-1778) นักปรัชญาชาวฝรั่งเศส ได้เขียนหนังสือเรื่อง The Philosophical Letters หรือ Letters on the English ซึ่งได้โจมตีสถาบันและ กฎระเบียบต่างๆของฝรั่งเศส และเรียกร้อง ให้มีการปฏิรูปในหนังสือเรื่อง Elements of the Philosophy of Nation, Essay on Universal History และ เรื่อง The Age of Louis XIV เขาเสนอให้ใช้เหตุผลและ สติปัญญาแก้ไขปัญหาสังคมและการเมือง
  • 11. 6. ชอง-ชาคส์ รุสโซ (Jean-Jacques Rousseau : ค.ศ. 1712-1778) นักปรัชญาชาวฝรั่งเศส หนังสือที่สาคัญคือ เรื่อง สัญญาประชาคม (The Social Contract) ซึ่งถือว่าเป็นการวางรากฐานแนวคิดเกี่ยวกับ อานาจอธิปไตยของประชาชน เพราะมนุษย์ เป็นอิสระควรจัดตั้งรูปแบบการปกครองที่ให้ ประชาชนร่วมทา “เจตจานงร่วม” (General Will) หรือสัญญาประชาคมขึ้นเป็น อานาจสูงสุด รัฐบาลจึงควรเกิดจากความเห็น ร่วมกันของประชาชน
  • 12. 7. อดัม สมิธ (Adam Smith : ค.ศ. 1723-1790) เป็นนักปรัชญาชาวสก๊อต มีผลงานเขียนที่มีชื่อเสียง คือหนังสือเรื่อง ความมั่งคั่งของชาติ (The Wealth of the Nations) ใน ค.ศ.1776 ซึ่งมีอิทธิพลอย่างมากต่อ แนว ความคิดทางการเมืองและเศรษฐกิจของยุโรปใน คริสต์ศตวรรษ ที่ 18 และ 19 หนังสือเล่มนี้กล่าวถึง ทฤษฎีการค้าเสรี โดยปล่อยให้การค้าเป็นไปตาม กฎธรรมชาติที่จะสนองความต้องการในเรื่องของอุป สงค์และอุปทาน (Demand and Supply) ซึ่งรัฐไม่ควร เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับการค้าของเอกชนแต่รัฐมีหน้าที่ช่วย ป้องกันไม่ให้เกิดการเอาเปรียบ จัดการศึกษาและบริการ สาธารณสุข แนวคิดของนักปรัชญาเหล่านี้มุ่งที่จะปฏิรูปสังคม และการเมือง ซึ่งเป็นผลมาจากการปฏิวัติทาง วิทยาศาสตร์นั่นเอง