SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
Download to read offline
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 1
แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบมี 4 ตัวเลือกให้เลือกเพียงคำตอบที่ถูกต้อง
เพียงคำตอบเดียว มีจำนวน 6 ข้อ คะแนน 6 คะแนน ใช้เวลำ 6 นำที
คาสั่ง ให้นักเรียนทำเครื่องหมำย (X)ทับหน้ำคำตอบที่เห็นว่ำถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
(ข้อละ 1 คะแนน)
1. กำรทำแต่ควำมดี งดเว้นกำรทำชั่วและทำจิตใจให้ผ่องใส เป็นหลักคำสอนของศำสนำใด
1. ฮินดู
2. พุทธ
3. คริสต์
4. อิสลำม
2. ข้อใดไม่มีควำมสัมพันธ์กัน
1. ศำสนำคริสต์ –กำรชำระบำป
2. ศำสนำพุทธ – กำรชำระบำป
3. ศำสนำพุทธ – กำรทำบุญตักบำตร
4. ศำสนำคริสต์ – กำรเคำรพรักในพระเจ้ำ
3. นักเรียนคิดว่ำเทศกำลใด ที่ไม่ใช่เทศกำลสำคัญทำงพระพุทธศำสนำดั้งเดิม
ของชำวอำเภอโกสัมพีนคร
1. ทอดกฐิน – ลอยกระทง
2. ลอยกระทง – เทศมหำชำติ
3. บุญบั้งไฟ – กำรแข่งเรือยำว
4. เทศมหำชำติ – ตักบำตรเทโว
4. ที่ตั้งศูนย์ส่งเสริมวัฒนธรรมไทยสำยใยชุมชนในอำเภอโกสัมพีนครคือ
1. วัดอมฤต
2. วัดไร่ลำปำง
3. วัดเกำะตำแย
4. วัดคลองเมือง
แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง วันสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร
คาชี้แจง
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 2
5. มีวัดจำนวนมำกในอำเภอโกสัมพีนคร ที่มีเนื้อที่มำกกว่ำ 10 ไร่เนื่องจำกมีคนบริจำคที่เพื่อสร้ำง
วัด กำรที่ผู้คนในอดีตบริจำคที่ดินของตนเพื่อสร้ำงวัด แสดงให้เห็นถึงสิ่งใดชัดเจนที่สุด
1. คนในอดีตเป็นผู้มีจิตใจงำมและมีควำมพอเพียง
2. ควำมศรัทธำในศำสนำและควำมเสียสละเพื่อส่วนรวม
3. ควำมเป็นอยู่ของคนในอดีตมีควำมมั่งคั่งร่ำรวยกว่ำคนปัจจุบัน
4. ควำมเจริญรุ่งเรืองของพุทธศำสนำและควำมเป็นอยู่ของคนในอดีต
6. ประเพณีตรุษไทย ตรงกับข้อใด
1. วันแรม 15 ค่ำ เดือน 6
2. วันแรม 8 ค่ำ เดือน 5
3. วันแรม 15 ค่ำ เดือน 4
4. วันแรม 8 ค่ำ เดือน 4
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 3
ศำสนำ วันสำคัญทำงศำสนำและเทศกำลสำคัญทำงศำสนำประเพณีและวัฒนธรรม
ที่สืบทอดต่อกันมำจำกบรรพบุรุษของชำวโกสัมพีนคร แสดงให้เห็นควำมเจริญในอดีตเป็นอย่ำงดี
ตลอดจนกำรผสมผสำนรักษำวัฒนธรรมทำงด้ำนจิตใจขนบธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิมที่เหมำะสม
ช่วยให้เอกลักษณ์ทำงวัฒนธรรมของอำเภอโกสัมพีนครโดดเด่นยิ่งขึ้น
ผลการเรียนรู้
อธิบำยเกี่ยวกับควำมแตกต่ำงของ ศำสนำ วันสำคัญและเทศกำลสำคัญทำงศำสนำของ
ประชำกรในอำเภอโกสัมพีนครได้
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกกำรนับถือศำสนำของชำวโกสัมพีนครได้
2. ยกตัวอย่ำงวันสำคัญและเทศกำลสำคัญทำงศำสนำ ของอำเภอโกสัมพีนครได้
สาระสาคัญ
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนา
ในอาเภอโกสัมพีนคร
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 4
1. พระพุทธศำสนำมีอิทธิพลอย่ำงมำกในกำรหล่อหลอม และขัดเกลำ
บุคลิกลักษณะหรือนิสัยจิตใจของคนไทยให้มีลักษณะเฉพำะ
กำรนับถือศำสนำประชำกรอำเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกำแพงเพชร ส่วน
ใหญ่นับถือศำสนำพุทธ ประมำณร้อยละ 99.05 ศำสนำอื่นประมำณร้อยละ 0.95 มี
สถำบันหรือองค์กำรศำสนำ 42 แห่ง วัด 21 แห่ง ที่พักสงฆ์ 21 แห่ง
1.1 ศาสนธรรม
หลักธรรมคำสอนของศำสนำต่ำงๆที่ศำสนิกชนชำวโกสัมพีนครยึดถือปฏิบัติสืบต่อมำ
เป็นหลักหรือเป็นแก่นของศำสนำแต่ละศำสนำ สรุปได้ดังนี้
1) ศาสนาพุทธ มีหลักของศำสนำ คือ
- กำรละเว้นจำกกำรทำชั่วทุกชนิด (ไม่กระทำบำปทั้งปวง)
- กำรยังกุศลให้ถึงพร้อม (กำรกระทำควำมดีให้ถึงพร้อม)
- กำรทำจิตใจให้ผ่องใส
ภำพที่ 5.4 พระพุทธรูปอันเป็นที่เคำรพของคนที่นับถือศำสนำพุทธ
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
ศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 5
ภำพที่ 5.5 ชำวอำเภอโกสัมพีนครร่วมกันทำบุญตักบำตรในวันตักบำตรเทโว
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
2) ศาสนาคริสต์ มีหลักของศำสนำ คือ
- รักพระเจ้ำเหนือสิ่งอื่นใด จงรักเพื่อนมนุษย์เหมือนรักตัวเอง โดยกำรรู้จัก
แบ่งปันให้กันและกัน เพรำะเห็นแก่ควำมรักของพระเจ้ำ
ภำพที่ 5.6 พระเยซู ศำสดำของศำสนำคริสต์
ที่มำ : www.ptcs.ac.th
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 6
1.2 ศาสนสถานของพุทธศาสนา
วัดสาคัญต่าง ๆ ในอาเภอโกสัมพีนคร
1) วัดสังฆานุภาพ
เป็นวัดรำษฎร์ ตั้งอยู่เลขที่ 999 หมู่ที่ 16 บ้ำนทุ่งธำรทอง
ตำบลโกสัมพี อำเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกำแพงเพชร สังกัดคณะสงฆ์มหำนิกำย
เขตปกครองคณะสงฆ์หนเหนือภำค 4
ปี พ.ศ.2530 พระอำจำรย์เชิด พร้อมด้วยชำวบ้ำนทุ่งธำรทอง จึง
ได้ขออนุญำตใช้พื้นที่ประมำณ 15 ไร่ กับสำนักงำนปฏิรูปที่ดินเพื่อกำร
เกษตรกรรม (ส.ป.ก. 4-31 ก.) เพื่อสร้ำงเป็นที่พักสงฆ์ทุ่งธำรทอง ได้รับอนุมัติให้
ตั้งวัด เมื่อวันที่ 22 ธันวำคม พ.ศ. 2554 ได้รับพระรำชทำนวิสุงคำมสีมำ เมื่อ
วันที่ 18 เมษำยน พ.ศ. 2555 เขตวิสุงคำมสีมำ กว้ำง 28 เมตร ยำว 40 เมตร
ภำพที่ 5.7 วัดสังฆำนุ
ภำพ
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
ภำพที่ 5.8 วัดสังฆำนุภำพ
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 7
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
2) วัดไร่ลาปาง
วัดไร่ลำปำง (วัดเทพรัตนศำสดำรำม) ได้ก่อตั้งขึ้นมำเมื่อวันที่ 3 พฤษภำคม 2502
แรม 9 ค่ำ ปีกุน ในขณะนั้น พ่อน้อย บำรุงจิตร ได้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยกำนัน ตำบลโกสัมพี อำเภอ
เมือง จังหวัดกำแพงเพชร เป็นผู้คิดริเริ่มก่อตั้งขึ้นมำพร้อมคณะศรัทธำชำวบ้ำนบ้ำนไร่ลำปำง จำนวน
18หลังคำเรือนได้ร่วมกันสร้ำงศำลำที่ทำบุญ และกุฎิของพระสงฆ์จนสำเร็จหลังจำกนั้นจึงได้เดินทำง
ไปนิมนต์ หลวงพ่อชื่อ จำกวัดนำคต ตำบลป่ำตัง อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปำง มำเป็นเจ้ำอำวำสได้
หนึ่งพรรษำ สำหรับที่ดินที่ใช้ตั้งวัดบ้ำนไร่ลำปำงได้รับบริจำคจำกพ่อหนำนพุฒิ เครือวงษ์ กับนำย
ขัน บุญใจวงษ์ ประมำณ 8ไร่ ต่อมำปี พ.ศ.2539 ได้มีนำงสำวสุมำลี เกียรติสุภำ ร่วมกับคณะศรัทธำ
มำจำกจังหวัดนนทบุรี ได้มำก่อสร้ำงโบสถ์ และศำลำกำรเปรียญ ซึ่งยังกำลังสร้ำงอยู่สร้ำงกุฏิจำนวน
1 หลัง หอระฆัง จำนวน 1 หลัง ศำลำกลำงน้ำ จำนวน 1 หลัง และโรงครัว 1 หลัง ใช้งบประมำณ
ก่อสร้ำงไปแล้ว 60 ล้ำน ปัจจุบันมีพระอธิกำรไม้ภิระจตฺโต เป็นเจ้ำอำวำสมีลูกวัดจำพรรษำอยู่ 18 รูป
สำมเณร 1 รูป นำยนำ ท้ำวสำร ได้บริจำคที่ดินเพิ่มเติมให้แก่วัด จำนวน 2 ไร่เศษ ชำวบ้ำนไร่ลำปำง
และคณะศรัทธำใช้วัดเป็นสถำนที่ตักบำตรทำบุญและประกอบพิธีทำงศำสนำสืบเนื่องมำจนถึงปัจจุบัน
ภำพที่ 5.9 วัดไร่ลำปำง
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 8
3) วัดอมฤต
ที่ตั้งศูนย์ส่งเสริมวัฒนธรรมไทยสำยใยชุมชน ตำบลลำนดอกไม้ตก อำเภอโกสัมพีนคร
วัดอมฤต เดิมชื่อว่ำ วัด ภุมมำลำ โดยขุนอำจอำสำ (อ่ำ) และชำวบ้ำนร่วมกันสร้ำง เมื่อสร้ำง
เสร็จได้ตั้งชื่อวัดว่ำ วัดภุมมำลำ ต่อมำเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกำยน ปี พ.ศ.2446 สมเด็จพระมหำ
สมณเจ้ำ กรมพระยำ วชิรญำณวโรรส สมเด็จพระสังฆรำชเจ้ำ เสด็จขึ้นมำตรวจกำรคณะสงฆ์
มณฑลฝ่ำยเหนือได้มำเยี่ยมวัด ซึ่งขณะนั้นมี พระกำง เป็นเจ้ำอำวำส ทรงเสด็จบิณฑบำต เสวย
ภัตตำหำรเช้ำที่ศำลำกำรเปรียญและทำสังฆกรรม (ลงอุโบสถ) ในเรือพระที่นั่งกลำงแม่น้ำปิง
หน้ำวัด แล้วเสด็จขึ้นมำในวัดประทำนธรรม และประทำนของแจกพวกชำวบ้ำนก่อนที่จะ
เสด็จต่อไปยังจังหวัดตำก พระองค์ได้ประทำนชื่อวัดภุมมำลำ ตำบลลำนดอกไม้ฝั่งตะวันตก
ว่ำ วัดอมฤต และต่อมำได้กลำยเป็น วัดอมฤต
ภำพที่ 5.10 วัดอมฤต
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
4) วัดเขาวังเจ้า
เนื่องด้วย พระครูนำควัชรำธร (หลวงพ่อวิชัย ปสนโน) อดีตเจ้ำอำวำสและผู้สร้ำง
วัดนำควัชรโสภณ (วัดช้ำง) เป็นเจ้ำคณะอำเภอ (ธ.) กำแพงเพชร-พิจิตร เห็นสถำนที่วัดเขำวังเจ้ำ
มีภูมิศำสตร์ดี สมควรที่จะสร้ำงวัด จึงได้เชิญชวนศิษยำนุศิษย์ ชำวบ้ำน และผู้มีจิตรศรัทธำดำเนินกำร
ก่อสร้ำงวัดบริเวณเชิงเขำวังเจ้ำ โดยมีนำยผอ เลำหพิบูลรัตนำ ซื้อที่ดินถวำยให้สร้ำงวัดและเป็น
ที่ตั้งวัด จำนวนที่ดินประมำณ 63 ไร่ 2 งำน 94 ตำรำงวำ และได้ดำเนินกำรออกเอกสำรสิทธิ์ที่ดิน
น.ส. 3 โดยใช้ชื่อ สุนทร เลำหพิบูลรัตนำ (ลูกชำย) เป็นผู้ยกที่ดิน (โอน) ให้กับวัดเขำวังเจ้ำ วันที่
10กันยำยน 2531 แต่ในกำรขออนุญำตสร้ำงวัดได้ใช้ชื่อ นำยสม ขลุ่ยทอง ซึ่งเป็นประชำชนในพื้นที่
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 9
เมื่อได้ที่สำหรับก่อสร้ำงวัดแล้ว ก็ได้ดำเนินกำรก่อสร้ำงศำลำไม้ขึ้น 1หลัง ไม่ใหญ่มำกนักและสร้ำง
กุฎิบริเวณเชิงเขำหลำยหลัง
ภำพที่ 5.11 วัดเขำวังเจ้ำ
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
5) วัดอรัญสถิตย์
ที่ตั้งหมู่ที่ 3บ้ำนเกำะพิมูลตำบลลำนดอกไม้ตกอำเภอโกสัมพีนครจังหวัดกำแพงเพชร
สร้ำงขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่วันที่7พฤษภำคมพ.ศ.2478โดยมีนำงทุเรียนบริจำคที่ดิน4ไร่ นำงทองหยอด
นำยเจิม บริจำคที่ดิน 4 ไร่ เจ้ำอำวำส มี 9 รูป รูปที่ 1 พระอำจำรย์แท่น รูปที่ 2 พระอำจำรย์สังเวียน
กตปุณโญรูปที่ 3 พระอำจำรย์สงัดธมมธโร รูปที่ 4พระอำจำรย์หนำยปญญำวโร รูปที่ 5พระอำจำรย์
ไลปญญสำโรรูปที่ 6 พระอำจำรย์สมควร ปริสุทโธ รูปที่ 7 พระอธิกำรทองอินทร์ ญำณสุโภ รูปที่ 8
พระปลัดณัฐพงศ์ เจตนำสุโก รูปที่ 9 ปัจจุบัน พระนำวิน สิปปวำทิโก รักษำกำรเจ้ำอำวำส
ภำพที่ 5.12 วัดอรัญสถิตย์
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 10
ภำพที่ 5.13 วัดอรัญสถิตย์
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
6) วัดคลองเมือง
ที่ตั้ง 231/1 บ้ำนคลองเมือง หมู่ที่ 3 ตำบลโกสัมพี อำเภอโกสัมพีนคร จังหวัด
กำแพงเพชร สังกัดคณะสงฆ์มหำนิกำย ที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 15ไร่ 50 ตำรำงวำ มีพื้นที่ธรณีสงฆ์ 4 ไร่
2 งำน 96 ตำรำงวำ
พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่รำบสูง ด้ำนหน้ำวัดทิศตะวันออก มีถนนซอยแยกมำจำกถนน
พหลโยธิน เข้ำสู่วัด กำรคมนำคมสะดวก อำคำรเสนำสนะต่ำงๆ มีศำลำกำรเปรียญ กว้ำง20 เมตร
ยำว 20 เมตร สร้ำง พ.ศ. 2510 เป็นศำลำวงกลม 16 มุข มียอดปรำสำท 5 ยอด สร้ำงด้วยไม้ยกพื้น
ชั้นเดียว กุฎิสงฆ์จำนวน 4 หลัง ปูชนียวัตถุ คือ พระประธำนที่ประดิษฐ์ในศำลำกำรเปรียญ 2 องค์
ภำพที่ 5.14 วัดคลอง
เมือง
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 11
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
7) วัดท่าคูณสามัคคีธรรม
ที่ตั้งตั้งอยู่ที่บ้ำนท่ำคูณ หมู่ที่ 1 ตำบลโกสัมพี อำเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกำแพงเพชร
สังกัดคณะสงฆ์มหำนิกำย ที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 8 ไร่ 19 ตำรำงวำ ปูชนียวัตถุ คือ พระประธำน และ
พระพุทธรูปต่ำง ๆ จำนวน 17 องค์
ภำพที่ 5.15 วัดท่ำคูณสำมัคคีธรรม
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 12
ภำพที่ 5.16 วัดท่ำคูณสำมัคคีธรรม
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
8) วัดเกาะตาแย
วัดเกำะตำแย เริ่มสร้ำงเมื่อประมำณ ปี พ.ศ. 2493 โดยมีเจ้ำอำวำสรูปแรกจนถึงรูป
ปัจจุบัน ดังนี้ หลวงพ่อจำรัส เป็นผู้ก่อตั้งเริ่มสร้ำงวัดตั้งแต่ประมำณ 2493 – 2513 จำกนั้นท่ำนได้
ไปสร้ำงวัดใหม่ ซึ่งชื่อว่ำวัดโกสัมพี ห่ำงจำกวัดเกำะตำแย ประมำณ 600 เมตร เจ้ำอำวำสรูปที่ 2
พระอำจำรย์พรต เป็นเจ้ำอำวำสวัดเกำะตำแยตั้งแต่ พ.ศ. 2514 -2539 เจ้ำอำวำสรูปที่ 3 พระอธิกำร
ปัญญำ ทีปธัมโม เป็นเจ้ำอำวำสรูปที่ 3 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 – 2549 และได้มรณะภำพในปี 2549 และ
เจ้ำอำวำส รูปที่ 4พระมหำกำจร ปิยสีโล ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้ำอำวำส พ.ศ. 2551–ปัจจุบันสิ่งปลูกสร้ำง
ภำยในวัดได้แก่ โบสถ์ ศำลำกำรเปรียญ กุฎิ เมรุ
ภำพที่ 5.17 วัดเกำะตำแย
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 13
ภำพที่ 5.18 วัดเกำะตำแย
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
2. วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา วันธรรมสวนะ และเทศกาลสาคัญ
วันมาฆบูชา
ควำมสำคัญและประวัติของวันมำฆบูชำ
ควำมสำคัญของวันมำฆบูชำ คือเป็นวันที่พระสัมมำสัมพุทธเจ้ำทรงแสดง "โอวำทปำติโมกข์"
แก่พระสงฆ์เป็นครั้งแรก หลังจำกตรัสรู้มำแล้วเป็นเวลำ 9 เดือน ซึ่งหลักคำสอนนี้เป็นหลักกำร และวิธีกำร
ปฏิบัติต่ำงๆ หำกสรุปเป็นใจควำมสำคัญ จะมีเนื้อหำว่ำ "ทำควำมดี ละเว้นควำมชั่ว ทำจิตใจให้บริสุทธิ์"
ทั้งนี้ในวันมำฆบูชำได้เกิดเหตุอัศจรรย์ขึ้นพร้อมๆ กันถึง 4 ประกำร อันได้แก่
1. วันนั้นตรงกับวันเพ็ญ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 ซึ่งพระจันทร์เสวยมำฆฤกษ์
2. มีพระสงฆ์จำนวน 1,250 รูป มำประชุมพร้อมกันโดยมิได้นัดหมำย ณ วัดเวฬุวัน เมืองรำชคฤห์
แคว้นมคธ เพื่อสักกำระพระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ
3. พระสงฆ์ที่มำประชุมทั้งหมดล้วนแต่เป็นพระอรหันต์ ผู้ได้อภิญญำ 6
4. พระสงฆ์ทั้งหมดได้รับกำรอุปสมบทโดยตรงจำกพระพุทธเจ้ำ หรือ "เอหิภิกขุอุปสัมปทำ"
หลักธรรมที่เกี่ยวเนื่อง
ควำมหมำยของบุญกริยำวัตถุ 3
บุญกิริยำวัตถุ 3 หมำยถึง ที่ตั้งแห่งกำรทำควำมดี 3 ประกำร
1. กำรทำบุญด้วยกำรให้ ( ทำนมัย )
ทำน หมำยถึง กำรให้โดยไม่หวังผลตอบแทน มี 3 ประกำร คือ
1.1 อำมิสทำน กำรให้วัตถุสิ่งของแก่คนที่ควรให้
1.2 ธรรมทำน กำรให้ธรรม คือ คำแนะนำสั่งสอนให้รู้บำปบุญ คุณโทษ
1.3 อภัยทำน กำรให้อภัย คือ กำรให้ควำมปลอดภัย กำรไม่เอำโทษกำรลดโทษ
คุณประโยชน์ของกำรให้
1. เป็นกำรทำนุบำรุงพระศำสนำ
2. ช่วยให้สังคมร่มเย็นเป็นสุข
3. เป็นกำรชำระจิตใจของผู้ให้
4. เป็นที่นิยมชมชอบของคนทั่วไป
2. กำรทำบุญด้วยกำรรักษำศีล ( สีลมัย )
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 14
กำรรักษำศีล คือ กำรประพฤติแต่สิ่งที่ดีงำม คนเรำอย่ำงน้อยต้องรักษำศีลให้ได้ที่เรียกว่ำ ศีล 5
ศีล 8 สำหรับ อุบำสก อุบำสิกำ ผู้ใกล้ชิด พระพุทธศำสนำ ศีล 10 สำหรับ สำมเณร และศีล 227 สำหรับ
พระสงฆ์
คุณประโยชน์ของกำรรักษำศีล
1. ทำให้เกิดสันติสุขในสังคม
2. ทำให้เกิดสันติสุขในตัวเอง
3. ได้รับกำรยกย่องนับถือ
3. กำรทำบุญด้วยกำรภำวนำ ( ภำวนำมัย )
ภำวนำ หมำยถึง กำรฝึกฝนจิตใจให้สงบเยือกเย็น เพื่อเป็นพื้นฐำนให้เกิดปัญญำ รู้แจ้งในสัจ
ธรรมกำรภำวนำมี 2 ชนิด คือ
1. สมถภำวนำ กำรฝึกอบรมจิตใจเกิดควำมสงบ
2. วิปัสสนำภำวนำ กำรศึกษำอบรมปัญญำให้เกิดควำมรู้แจ้ง
คุณประโยชน์ของกำรภำวนำ
1. ส่งเสริมสุขภำพจิต
2. กำรทำงำนดีขึ้น
3. นำไปสู่เสรีภำพที่แท้จริง
วันวิสำขบูชำ
ควำมหมำย คำว่ำ "วิสำขบูชำ" หมำยถึงกำรบูชำในวันเพ็ญเดือน 6 วิสำขบูชำ ย่อมำจำก " วิสำขบุรณ-
มีบูชำ " แปลว่ำ " กำรบูชำในวันเพ็ญเดือนวิสำขะ " ถ้ำปีใดมีอธิกมำส คือ มีเดือน 8 สองหน ก็เลื่อนไปเป็น
กลำงเดือน 7 ควำมสำคัญ วันวิสำขบูชำ เป็นวันสำคัญยิ่งทำงพระพุทธศำสนำ เพรำะเป็นวันที่พระพุทธเจ้ำ
ประสูติ คือเกิด ได้ตรัสรู้ คือสำเร็จ ได้ปรินิพพำน คือ ดับ เกิดขึ้นตรงกันทั้ง 3 ครำวคือ
1. เมื่อเจ้ำชำยสิทธัตถะ ประสูติ ที่พระรำชอุทยำนลุมพินีวัน ระหว่ำงกรุงกบิลพัสดุ์กับเทวทหะ
เมื่อเช้ำวันศุกร์ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีจอ ก่อนพุทธศักรำช 80 ปี
2. เมื่อเจ้ำชำยสิทธัตถะตรัสรู้ เป็นพระพุทธเจ้ำเมื่อพระชนมำยุ 35 พรรษำ ณ ใต้ร่มไม้ศรีมหำ-
โพธิ์ ฝั่งแม่น้ำเนรัญชรำ ตำบลอุรุเวลำเสนำนิคม ในตอนเช้ำมืดวันพุธ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีระกำ ก่อน
พุทธศักรำช 45 ปี หลังจำกออกผนวชได้6 ปี ปัจจุบันสถำนที่ตรัสรู้แห่งนี้เรียกว่ำ พุทธคยำ เป็นตำบลหนึ่ง
ของเมืองคยำ แห่งรัฐพิหำรของอินเดีย
3. หลังจำกตรัสรู้แล้ว ได้ประกำศพระศำสนำ และโปรดเวไนยสัตว์ 45 ปี พระชนมำยุได้80
พรรษำ ก็เสด็จดับขันธปรินิพพำน เมื่อวันอังคำร ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีมะเส็ง ณ สำลวโนทยำน ของมัลล-
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 15
กษัตริย์เมืองกุสินำรำ แคว้นมัลละ (ปัจจุบันอยู่ในเมือง กุสีนคระ) แคว้นอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย
หลักธรรมที่เกี่ยวข้องพละ หรือ พละ 5 คือ กำลัง ห้ำ ประกำรได้แก่
1. ศรัทธำพละ ควำมเชื่อ กำลังกำรควบคุมควำมสงสัย
2. วิริยะพละ ควำมเพียร กำลังกำรควบคุมควำมเกียจคร้ำน
3. สติพละ ควำมระลึกได้กำลังกำรควบคุมควำมประมำท กำรไม่ใส่ใจ ใจลอย ไร้สติ
4. สมำธิพละ ควำมตั้งใจมั่น กำลังกำรควบคุมกำรวอกแวกเขว่ไขว่ ฟุ้งซ่ำน
5. ปัญญำพละ ควำมรอบรู้ กำลังกำรควบคุมเพิกเฉยไม่สนใจ หลงงมงำย
พละทั้งห้ำนี้ เป็นหลักธรรมที่ผู้เจริญวิปัสสนำพึงรู้ ศรัทธำต้องปรับให้สมดุลกับปัญญำ วิริยะต้องปรับ
ให้สมดุลกับสมำธิ ส่วนสติพึงเจริญให้มำกเนื่องเป็นหลักที่มีสภำวะปรับสมดุลของจิตภำยในตัวเองอยู่
แล้ว เป็นหลักธรรมที่คู่กับอินทรีย์5 คือศรัทธินทรีย์วิริยินทรีย์สตินทรีย์สมำธินทรีย์ปัญญินทรีย์โดยมี
ควำมเหมือนควำมแตกต่ำงและควำมเกี่ยวเนื่องคือ พละ5เป็นสภำวะที่เกิดขึ้นแก่จิตในปัจจุบันที่ทำให้เกิดมี
ขึ้น ส่วนอินทรีย์คือพละ5ที่สะสมจนตกผลึก เหมือนกับนิสัย หรือสันดำน เช่นผู้มีสมำธิทรีย์มำกก็อำจทำ
สมำธิได้ง่ำยกว่ำผู้มีน้อยกว่ำ ผู้มีปัญญินทรีย์มำกก็มีปกติเป็นคนฉลำด พละ5อำจเกิดขึ้นได้ดีและสั่งสมเป็น
อินทรีย์ได้ไวคือผู้ทีบวชรือประพฤติพรหมจรรย์และผู้ปฏิบัติโมเนยยะปฏิบัติ
วันอัฏฐมีบูชำ
ควำมสำคัญ วันอัฏฐมีคือวันแรม 8 ค่ำ เดือน 6 เป็นวันที่มีเหตุกำรณ์สำคัญทำงพระพุทธศำสนำ ถือ
เป็นวันที่ตรงกับวันถวำยพระเพลิงพระพุทธสรีระ เป็นวันที่ชำวพุทธต้องมีควำมเสียใจและสูญเสียพระบรม
สรีระแห่งองค์พระบรมศำสดำ ซึ่งเป็นที่เคำรพสักกำระอย่ำงสูง จึงเป็นวันควรแสดงธรรมสังเวชและระลึกถึง
พระพุทธคุณให้สำเร็จเป็นพุทธำนุสสติภำวนำมัยกุศล
หลักธรรมที่เกี่ยวข้อง
ควำมหมำยของสุจริต 3
สุจริต 3 แปลว่ำ ควำมประพฤติชอบ 3 ประกำร ได้แก่
1. กำยสุจริต ได้แก่ ควำมประพฤติชอบทำงกำย มี 3 ประกำร คือ เว้นจำกกำรฆ่ำ
สัตว์เว้นจำกกำรลักทรัพย์และเว้นจำกกำรประพฤติผิดในกำม
2. วจีสุจริต ได้แก่ ควำมประพฤติชอบทำงวำจำ มี 4 ประกำร คือ เว้นจำกกำรพูดเท็จ
เว้นจำกกำรพูดส่อเสียด เว้นจำกกำรพูดคำหยำบและเว้นจำกกำรพูดเพ้อเจ้อ
3. มโนสุจริต ได้แก่ ควำมประพฤติชอบทำงใจ มี 3 ประกำร คือ ไม่โลภ ไม่พยำบำท
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 16
และมีควำมเห็นถูกต้อง
คุณประโยชน์ของควำมสุจริต
1. พ้นจำกควำมเดือดร้อน
2. มีแต่คนสรรเสริญ
3. มีควำมสุขทำงโลก
4. มีควำมสุขทำงธรรม
วันอำสำฬหบูชำ
วันอำสำฬหบูชำมีเหตุกำรณ์สำคัญในทำงพระพุทธศำสนำอยู่ 3 ประกำรคือ
1. เป็นวันแรกที่พระพุทธเจ้ำทรงประกำศพระศำสนำ โดยทำงแสดงพระปฐมเทศนำ คือ
ธรรมจักกัปปวัตนสูตร ประกำศสัจธรรมอันเป็นองค์แห่งพระอนุตรสัมมำสัมโพธิญำณที่พระองค์ตรัสรู้ ให้
เป็นที่ประจักษ์แก่ สรรพสัตว์ทั้งหลำย
2. เป็นวันแรกที่บังเกิดพระอริยสงฆ์สำวกขึ้นในโลก คือ พระโกณฑัญญะ เมื่อได้ฟังพระ
ปฐมเทศนำจบ ได้ดวงตำเห็นธรรม ได้ทูลขออุปสมบท และพระพุทธเจ้ำได้ประทำนอุปสมบทให้ด้วยวิธี
เอหิภิกษุอุปสัมปทำ ในวันนั้น
3. เป็นวันแรกที่บังเกิดพระรัตนตรัย คือ พระพุทธรัตนะ พระธรรมรัตน และพระสังฆ
รัตนะ ขึ้นในโลกอย่ำงสมบูรณ์บริบูรณ์
หลักธรรมที่เกี่ยวข้อง
จักร 4 หลักธรรม 4 ประกำรที่นำบุคคลไปสู่ควำมเจริญประกอบด้วย
1. ปฏิรูปเทสวำสะ หมำยถึง กำรอยู่ในประเทศอันเหมำะสม
2. สัปปุริสูปสังเสวะ หมำยถึง กำรคบสัตบุรุษ กำรเข้ำไปคบกับคนดี ผู้มีสัปปุริสธรรม7
3. อัตตสัมมำปณิธิ หมำยถึง กำรตั้งตนไว้ชอบ ตั้งอยู่ในสุจริต 3 ได้แก่ กำยสุจริต วจีสุจริต
มโนสุจริต
4. ปุพเพกตปุญญตำ หมำยถึง ควำมเป็นผู้มีบุญได้กระทำไว้ก่อน
วันธรรมสวนะ
วันพระ หรือ วันธรรมสวนะ หรือ วันอุโบสถ หมำยถึง วันประชุมของพุทธศำสนิกชนเพื่อปฏิบัติ
กิจกรรมทำงศำสนำในพระพุทธศำสนำประจำสัปดำห์ หรือที่เรียกกันทั่วไปอีกคำหนึ่งว่ำ "วันธรรมสวนะ"
อันได้แก่วันถือศีลฟังธรรม (ธรรมสวนะ หมำยถึง กำรฟังธรรม) โดยวันพระเป็นวันที่มีกำหนดตำมปฏิทิน
จันทรคติ โดยมีเดือนละ 4 วัน ได้แก่ วันขึ้น 8 ค่ำ, วันขึ้น 15 ค่ำ (วันเพ็ญ), วันแรม 8 ค่ำ และวันแรม 15 ค่ำ
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 17
(หำกเดือนใดเป็นเดือนขำด ถือเอำวันแรม 14 ค่ำ)
ควำมสำคัญของวันพระ
จำกพุทธำนุญำตให้มีตัวแทนสงฆ์รูปหนึ่งสวดทบทวนสิกขำบท ที่ทรงบัญญัติไว้เป็นระเบียบ
ปฏิบัติเพื่อกำรอยู่ร่วมกันอย่ำงผำสุกและเพื่อควำมบริสุทธิ์ในเพศสมณะที่ต้องบริบูรณ์ด้วย ศีล สมำธิ และ
ปัญญำอันเป็นทำงหลุดพ้นจำกทุกข์ทั้งปวงตำมเส้นทำงของพระพุทธศำสนำ โดยมีภิกษุผู้สวดทบทวน เมื่อ
สวดถึงข้อใดแล้วมีภิกษุรูปใดรูปใดรูปหนึ่งประพฤติผิดข้อบังคับนั้น จะเปิดเผยท่ำมกลำงที่ประชุม หรือที่
เรียกว่ำแสดงอำบัติ ซึ่งถือปฏิบัติเช่นนี้สืบต่อๆ กันมำตั้งแต่ครั้งพุทธกำล ก่อให้เกิดผลดังนี้ คือ
1. เกิดควำมสำมัคคีเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันของคณะสงฆ์ ด้วยระเบียบปฏิบัติที่หมั่น
ทบทวนและเตือนตนด้วยกำรแสดงกำรยอมรับในสิ่งที่ตนละเมิด เพื่อแก้ไขต่อไป ในข้อนี้มีปรำกฏกำรณ์
เด่นชัดเมื่อครั้งพุทธกำล คือเมื่อครั้งพระภิกษุชำวเมืองโกสัมพีทะเลำะเบำะแว้งแตกควำมสำมัคคีกัน
ภำยหลังเมื่อกลับมีควำมสำมัคคีใหม่ พระพุทธองค์ทรงอนุญำตให้ประชุมทำอุโบสถสวดพระปำฏิโมกข์
เป็นกรณีพิเศษ ที่เรียกว่ำ วันสำมัคคีอุโบสถ
2. กำรหมั่นทบทวนอย่ำงสม่ำเสมอ ทำให้พระธรรมคำสอนไม่คลำดเคลื่อน เลือนหำยและ
ทำให้หมู่คณะจรรโลงพระพุทธศำสนำให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อกันมำจนถึงปัจจุบันนี้ วันอุโบสถนั้น
นอกเหนือจำกเป็นวันสำคัญของทำงคณะสงฆ์ดังกล่ำวแล้ว ยังเป็นวันประชุมฟังธรรมของเหล่ำ
พุทธศำสนิกชนตั้งแต่สมัยพุทธกำลจนถึงปัจจุบันนี้
หลักธรรมที่เกี่ยวข้อง
สังคหวัตถุ 4 หมำยถึง หลักธรรมที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจของผู้อื่น ผูกไมตรี เอื้อเฟื้อ เกื้อตรูล
หรือเป็นหลักกำรสงเครำะห์ซึ่งกันและกัน มีอยู่ 4 ประกำร ได้แก่
1. ทำน คือ กำรให้ กำรเสียสละ หรือกำรเอื้อเฟื้อแบ่งปันของๆตนเพื่อประโยชน์แก่บุคคล
อื่น ไม่ตระหนี่ถี่เหนียว ไม่เป็นคนเห็นแก่ได้ฝ่ำยเดียว คุณธรรมข้อนี้จะช่วยให้ไม่เป็นคนละโมบ ไม่เห็นแก่
ตัว เรำควรคำนึงอยู่เสมอว่ำ ทรัพย์สิ่งของที่เรำหำมำได้มิใช่สิ่งจีรังยั่งยืน เมื่อเรำสิ้นชีวิตไปแล้วก็ไม่
สำมำรถจะนำติดตัวเอำไปได้
2. ปิยวำจำ คือ กำรพูดจำด้วยถ้อยคำที่ไพเรำะอ่อนหวำน พูดด้วยควำมจริงใจ ไม่พูด
หยำบคำยก้ำวร้ำว พูดในสิ่งที่เป็นประโยชน์เหมำะสำหรับกำลเทศะ พระพุทธเจ้ำทรงให้ควำมสำคัญกับ
กำรพูดเป็นอย่ำงยิ่ง เพรำะกำรพูดเป็นบันไดขั้นแรกที่จะสร้ำงมนุษย์สัมพันธ์อันดีให้เกิดขึ้น วิธีกำรที่จะพูด
ให้เป็นปิยวำจำนั้น จะต้องพูดโดยยึดถือหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 18
เว้นจำกกำรพูดเท็จ
เว้นจำกกำรพูดส่อเสียด
เว้นจำกกำรพูดคำหยำบ
เว้นจำกกำรพูดเพ้อเจ้อ
3. อัตถจริยำ คือ กำรสงเครำะห์ทุกชนิดหรือกำรประพฤติในสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น
4. สมำนัตตำ คือ กำรเป็นผู้มีควำมสม่ำเสมอ หรือมีควำมประพฤติเสมอต้นเสมอปลำย
คุณธรรมข้อนี้จะช่วยให้เรำเป็นคนมีจิตใจหนักแน่นไม่โลเล รวมทั้งยังเป็นกำรสร้ำงควำมนิยม และ
ไว้วำงใจให้แก่ผู้อื่นอีกด้วย
เทศกำลสำคัญ
เทศกำลสงกรำนต์
หลักธรรมและคติธรรมที่เกี่ยวเนื่องในเทศกำลสงกรำนต์
1. กำรทำพิธีบังสุกุลอัฐิบรรพบุรุษ สะท้อนให้เห็นถึงหลักธรรม เรื่องควำม
กตัญญกตเวทีที่ลูกหลำนมีต่อ บรรพบุรุษ ที่ล่วงลับไปแล้ว
2. กำรรดน้ำญำติผู้ใหญ่และผู้ที่ตนเองนับถือ นอกจำกจะสะท้อนให้เห็นถึง
หลักธรรมเรื่องควำมกตัญญกตเวที ยังสะท้อนให้เห็นถึงควำมเคำรพและกำรมีสัมมำคำรวะต่อกันอีกด้วย
สังคมไทยถือว่ำกำรรู้จักเคำรพผู้ที่ควรเคำรพนั้นเป็นวัฒนธรรมไทยอย่ำงหนึ่ง ผู้ที่รู้จักเคำรพผู้ที่ควรเคำรพ
เรียกว่ำ เป็นคนมีสัมมำคำรวะ ซึ่งคนประเภทนี้ย่อมได้รับควำมยกย่องนับถือ และย่อมประสบควำมสำเร็จ
ในกำรทำงำนร่วมกับผู้อื่น
เทศกำลวันเข้ำพรรษำ
หลักธรรมที่เกี่ยวข้อง ควำมอดทน หมำยถึง กำรรักษำปกติภำวะของตนไว้ได้ไม่ว่ำจะ
ถูกกระทบกระทั่งด้วยสิ่งอันเป็นที่พึงปรำรถนำ หรือไม่พึงปรำรถนำก็ตำม มีควำมมั่นคงหนักแน่นเหมือน
แผ่นดิน ซึ่งไม่หวั่นไหว ไม่ว่ำจะมีคนเทอะไรลงไป ของเสีย ของหอม ของสกปรกหรือของดีงำมก็ตำม
ควำมเสียสละ หมำยถึง ควำมมีน้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน สำมำรถทำได้2 วิธี คือ
เสียสละวัตถุหรือสิ่งของ และเสียสละอำรมณ์หรือกิเลสที่เป็นเหตุให้จิตใจ
เศร้ำหมอง ควำมเสียสละเป็นหลักธรรมที่สำคัญข้อหนึ่งที่ช่วยให้เกิดควำมสงบสุขในสังคม
ควำมสำมัคคคี หมำยถึง ควำมพร้อมเพรียงกัน ควำมรักใคร่ปรองดองกัน เป็น
หลักธรรมสำคัญที่สำมำรถนำควำมสุขและควำมเจริญมำสู่หมู่คณะได้ด้วยเหตุนี้จึงมีคำกล่ำวว่ำ สุขำ-
สงฺฆสฺส สำมคฺคี (ควำมสำมัคคีนำควำมสุขมำสู่หมู่คณะ)
เทศกำลวันออกพรรษำ
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 19
คติธรรมที่เกี่ยวเนื่อง
ควำมกตัญญูกตเวที ควำมกตัญญู หมำยถึง ควำมรู้สึกนึกในกำรอุปกำระคุณ
หรือ บุญคุณที่ผู้อื่นหรือสิ่งอื่นมีต่อตนเอง กตเทวี หมำยถึง กำรแสดงออกเพื่อกำรตอบแทนบุญคุณ
ควำมกตัญญูกตเวที หมำยถึง กำรรู้บุญคุณและตอบแทนคุณต่อคนอื่นและสิ่งอื่นที่มีบุญคุณ
ควำมเสียสละ หมำยถึง ควำมมีน้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน สำมำรถทำได้
2 วิธี คือ เสียสละวัตถุหรือสิ่งของ และเสียสละอำรมณ์หรือกิเลสที่เป็นเหตุให้จิตใจเศร้ำหมอง ควำมเสียสละ
เป็นหลักธรรมที่สำคัญข้อหนึ่งที่ช่วยให้เกิดควำมสงบสุขในสังคม
ควำมสำมัคคคี หมำยถึง ควำมพร้อมเพรียงกัน ควำมรักใคร่ปรองดองกัน
เป็นหลักธรรมสำคัญที่สำมำรถนำควำมสุขและควำมเจริญมำสู่หมู่คณะได้ ด้วยเหตุนี้จึงมีคำกล่ำวว่ำ
สุขำ สงฺฆสฺส สำมคฺคี
แหล่งที่มำ : :http://www.fungdham.com/directory.html
วันสาคัญเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร
วันวิสำขบูชำตรงวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 6 เป็นวันคล้ำยวันที่พระพุทธเจ้ำประสูติ ตรัสรู้
และปรินิพพำน ในตอนเช้ำของวันนี้ประชำชนจะพร้อมใจกันไปทำบุญตักบำตรที่วัด ส่วนตอนค่ำที่
วัดทุกวัดมีพิธีเวียนเทียน ซึ่งประชำชนจะพร้อมใจกันไปร่วมพิธีเป็นจำนวนมำก
วันเข้ำพรรษำ ในเดือน 8มีวันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ2 วัน คือวันอำสำฬหบูชำ
ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 และวันเข้ำพรรษำ ตรงกับวันแรม 1ค่ำ เดือน 8ประชำชนจะร่วมใจกัน
หล่อเทียนเพื่อถวำยพระตำมวัดต่ำงๆ เพื่อพระสงฆ์จะได้ใช้จุดในระหว่ำงพรรษำเรียกว่ำ เทียนพรรษำ
โดยจะถวำยก่อนวันเข้ำพรรษำ ทั้งวันอำสำฬหบูชำและวันเข้ำพรรษำประชำชนจะทำบุญตักบำตรถวำย
ผ้ำอำบน้ำฝนแก่พระสงฆ์ นับเป็นประเพณีที่ปฏิบัติสืบทอดกันมำของพุทธศำสนิกชน
วันออกพรรษำ–กำรเทศน์มหำชำติ ตรงกับวันขึ้น 15ค่ำเดือน 11ของทุกปี ประชำชน
ทำบุญตักบำตรในตอนเช้ำ ตอนสำยนิมนต์พระสงฆ์บิณฑบำตข้ำวสำรอำหำรแห้ง เรียกว่ำ ตักบำตร
เทโว หลังวันออกพรรษำมีประเพณีกำรเทศน์มหำชำติ ก่อนถึงวันกำหนดเทศน์มหำชำติ 1วันประชำชน
จะร่วมแรงร่วมใจกันตกแต่งศำลำวัดด้วยต้นกล้วย ต้นอ้อย ต้นไม้ต่ำง ๆและนำดอกไม้มำร้อยเรียกว่ำ
“พวงมะโหด” ไปแขวนตกแต่งให้คล้ำยคลึงกับป่ำหิมพำนต์ในกำรเทศน์มหำชำตินั้นพระจะเทศน์ 2
วันวันแรกเดินคำถำพัน วันที่ 2 เทศน์เนื้อเรื่อง ชำวบ้ำนจะจัดดอกไม้ ธูปเทียนบูชำธรรมโดยขณะฟัง
เทศน์จะจุดธูปเทียนตลอดเวลำไม่ให้ธูปเทียนดับ กำรเทศน์มหำชำตินี้วัดทุกวัดอำจไม่ต้องจัดก็ได้ ทั้งนี้
แล้วแต่ควำมพร้อมของแต่ละวัด
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 20
ภำพที่ 5.21 ประชำชนมำร่วมทำบุญตักบำตรวันออกพรรษำที่วัดมะเดื่อชุมพร
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
ภำพที่ 5.22 ประชำชนมำร่วมกันจัดทอดผ้ำป่ำสำมัคคีที่วัดมะเดื่อชุมพร
ประเพณีออกพรรษำ – ตักบำตรเทโว
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 21
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
ภำพที่ 5.23 ประชำชนมำร่วมทำบุญตักบำตรข้ำวสำรอำหำรแห้ง
เรียกว่ำ ตักบำตรเทโว ที่วัดวังชมภู
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
ภำพที่ 5.24 ประชำชนมำร่วมทำบุญตักบำตรข้ำวสำรอำหำรแห้ง
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 22
ภำพที่ 5.25 ตักบำตรเท
โว
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
ภำพที่ 5.26 กลองยำวชำวบ้ำนวังชมภูร่วมงำนบุญตับำตรเทโว
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
ภำพที่ 5.27 กลองยำวชำวบ้ำนวังชมภูร่วมงำนบุญตักบำตรเทโว
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 23
ภำพที่ 5.28 เทศน์มหำชำติวัดเกำะตำแย
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
ภำพที่ 5.29 เทศน์มหำชำติวัดเกำะตำแย
ที่มำ: นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
ภำพที่ 5.30 เทศน์มหำชำติวัดเกำะตำแย
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
ประเพณีกำรทอดกฐิน ตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ถึงวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 12
ประชำชนที่มีศรัทธำในแต่ละวัดจะร่วมกันจัดให้มีประเพณีกำรทอดกฐิน ซึ่งอำจจะเป็นกฐินสำมัคคี
หรือกฐินที่มีคนใดคนหนึ่งขอเป็นเจ้ำภำพก็ได้ทั้งนี้แล้วแต่กำลังศรัทธำของประชำชนอันเนื่องด้วย
ควำมเชื่อเรื่องอำนิสงส์จำกกำรทอดกฐินนอกจำกนั้นพระภิกษุวัดใดยังไม่ได้รับกฐินแม้บวชครบพรรษำ
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 24
แล้ว ก็ยังลำสิกขำบทไม่ได้ ต้องได้รับกฐินเสียก่อนประชำชนจึงร่วมแรงร่วม
ใจกันจัดทอดกฐินขึ้นสำหรับวัดทุกวัด นับเป็นประเพณีที่ปฏิบัติสืบทอดกันมำ
จนถึงปัจจุบัน
ประเพณีที่คนในท้องถิ่นยึดถือปฏิบัติ
อำเภอโกสัมพีนครเป็นเมืองโบรำณสมัยก่อนประวัติศำสตร์
ตอนปลำย ประเพณีดั้งเดิมและประเพณีท้องถิ่นปัจจุบันยังไม่ทรำบแน่ชัดว่ำ สืบทอดกันมำอย่ำงไร
บ้ำงและเนื่องจำกเป็นอำเภอที่มีผู้อพยพมำก กลุ่มคนอพยพจำนวนมำกเหล่ำนี้ต่ำงมีวัฒนธรรมและ
ประเพณีของตนเองติดมำด้วยและคงถือปฏิบัติกันอยู่เหมือนกับอยู่ในท้องถิ่นเดิมของตน ด้วยเหตุผล
ดังกล่ำว ประเพณีต่ำง ๆ ของอำเภอโกสัมพีนครจึงมีทั้งที่เหมือนกันและแตกต่ำงกันไปตำมลักษณะ
ของท้องถิ่น
ประเพณีส่วนสังคม ประเพณีส่วนสังคมหรือส่วนชุมชนที่ชำวโกสัมพีนครยึดถือปฏิบัติสืบ
ทอดกันมำในแต่ละเดือนตลอดปี มีดังนี้
เดือน 4 ประเพณีตรุษไทย ตรงกับวันแรม 15 ค่ำ เดือน 4 หรือวันสิ้น
เดือน 4 ของทุกปี เมื่อถึงวันแรม 14 ค่ำ เดือน 4 ประชำชนจะร่วมกันทำบุญตัก
บำตรที่วัด กำรทำบุญวันตรุษจะทำกันเป็นเวลำ 3 วัน
เดือน 5 ประเพณีสงกรำนต์ ตรงกับวันที่ 13-15 เมษำยน ของทุกปี วันที่ 13 ถือเป็น
วันมหำสงกรำนต์ วันที่ 14 เป็นวันเนำ วันที่ 15 เป็นวันเถลิงศก ประชำชนมีกำรทำบุญตักบำตรขนม
ที่ทำ ได้แก่ ข้ำวเหนียวแดง ข้ำวเหนียวแก้ว ขนมกวน ขนมเทียน ฯลฯ นับเป็นงำนนักขัตฤกษ์ที่
ประชำชนจะรื่นเริงสนุกสนำนมำก เพรำะทำงสุริยคติกำหนดเป็นวันที่พระอำทิตย์เข้ำสู่รำศีเมษ
โบรำณนับเป็นวันขึ้นปีใหม่ จึงมีกิจกรรมและพิธีกรรมต่ำง ๆ ที่ปฏิบัติกันมำดังนี้
วันที่ 12 เมษำยน ประชำชนทำบุญตักบำตรในตอนเช้ำ ตอนเย็นประชำชนจะ
พร้อมใจกันไปขนทรำยเข้ำวัด และร่วมกันก่อพระเจดีย์ทรำย ซึ่งจะประดับตกแต่งด้วยดอกไม้ ธงทิว
พวงเต่ำรั้ง (ใช้กระดำษสีพับเป็นสำมเหลี่ยมแล้วตัดเป็นระย้ำ) บำงคนทำธงเล็ก ๆ เท่ำกับอำยุปักบน
กองทรำยเป็นกำรสะเดำะเครำะห์ให้ตัวเองด้วย เสร็จแล้วนิมนต์พระสงฆ์มำเจริญพระพุทธมนต์
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 25
ภำพที่ 5.19 รดน้ำดำหัวผู้สูงอำยุ ภำพที่ 5.20 รดน้ำหัวผู้สูงอำยุ
ที่มำ: นำงรุ่งภำณี ปิติยะ ที่มำ: นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
วันที่ 13 เมษำยน ถือเป็นวันมหำสงกรำนต์ตอนเช้ำมีกำรทำบุญตักบำตรที่วัด ถือ
เป็นกำรฉลองพระเจดีย์ทรำยด้วย
ในระหว่ำงวันสงกรำนต์ หนุ่มสำวเด็ก ผู้เฒ่ำผู้แก่ จะรดน้ำดำหัวกัน ผู้ที่เคำรพ
นับถือ บิดำมำรดำจะจัดขบวนไปอำบผู้ใหญ่ที่บ้ำน เพื่อเป็นกำรขอศีลขอพรจำกผู้ใหญ่ และในกำรนี้
จะจัดเสื้อผ้ำ น้ำอบ น้ำหอมเพื่อไปผลัดเปลี่ยนให้กำรอำบน้ำนี้บำงครั้งก็ไม่กำหนดเวลำแน่นอน
แล้วแต่ควำมสะดวก แต่อยู่ในขอบเขตของวันสงกรำนต์สิ่งที่ประชำชนปฏิบัติจนถือเป็นประเพณี
คือ กำรสรงน้ำพระพุทธตำมวัดต่ำง ๆ ส่วนผู้ใหญ่จะนำพระที่อยู่ในบ้ำนอำจเป็นพระพุทธรูปบูชำหรือ
พระเครื่องออกมำสรงน้ำเช่นเดียวกัน
วันที่ 14 เมษำยน ประชำชนจะมำรวมกันที่วัดใดวัดหนึ่งที่อยู่ในย่ำนชุมชนแล้ว
นิมนต์พระสงฆ์มำเพื่อทำพิธีสรงน้ำ
วันที่ 15 เมษำยน เป็นวัน “พญำวัน” เพรำะวันนี้ถือว่ำเป็นวันเถลิงศกผู้เฒ่ำผู้แก่
ในครอบครัวจะใช้ด้ำยสีแดงและขำว ผูกคอหรือมัดมือบุตรหลำน ตลอดจนภำชนะสิ่งของเครื่องใช้
สอยและสัตว์พำหนะต่ำง ๆ พร้อมทั้งกล่ำวคำอวยชัยให้พรเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ทุก ๆ คน และทุกสิ่ง
ในครอบครัว
เดือน 12 ประเพณีลอยกระทง -ทอดผ้ำป่ำแถว ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ของทุกปี
ประชำชนชำวอำเภอโกสัมพีนครมี ประเพณีลอยกระทง และถือเอำคืนวันเพ็ญเดียวกันนี้จัดประเพณี
กำรทอดผ้ำป่ำแถว กันก่อนที่จะไปลอยกระทงด้วยประชำชนจะนำชะลอม (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นถัง-
พลำสติกเป็นส่วนใหญ่)บรรจุสิ่งของต่ำง ๆเช่นกล้วย อ้อย ส้ม และผ้ำ 1ผืน ซึ่งเป็นสิ่งของที่ขำดไม่ได้
พอพลบค่ำจะนำเครื่องปัจจัยไทยทำนที่เตรียมไว้ไปยังวัดที่ตนเองตั้งใจไปทอดผ้ำป่ำ โดยนำไปวำง
เรียงรำยไว้เป็นแถวและเขียนหมำยเลขติดไว้แล้วเอำกิ่งไม้ปักไว้ที่กองผ้ำป่ำให้เหมือนกับป่ำ เมื่อถึง
เวลำอันสมควรจะจุดเทียนปักไว้ที่กองผ้ำป่ำ ส่วนพระสงฆ์ก็จะจับสลำก เมื่อได้หมำยเลขใดก็จะเดิน
ไปหำกองผ้ำป่ำที่ตรงกับหมำยเลขที่จับสลำกได้แล้วพิจำรณำเครื่องปัจจัยไทยทำนนั้น เรียกว่ำ “ชัก
ผ้ำป่ำ”เมื่อเสร็จจำกกำรทอดผ้ำป่ำแถวแล้ว ทุกคนจะมุ่งไปสู่ลำน้ำปิงเพื่อประกอบพิธีลอยกระทง
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 26
ภำพที่ 5.31ลอยกระทงที่วัดเกำะตำแย ภำพที่ 5.32ลอยกระทงที่วัดเกำะ
ตำแย
ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
ประเพณีบุญบั้งไฟ หมู่ที่ 12 บ้ำนโนนสมบูรณ์ ตำบลโกสัมพี อำเภอโกสัมพีนคร
จังหวัดกำแพงเพชร
วัฒนธรรมประเพณีที่สำคัญของชำวล้ำนนำ (ชำวเหนือ) ในอำเภอโกสัมพีนคร กลุ่ม
ที่อพยพมำจำกจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดลำปำง ตำมลำน้ำปิงคือ กำรสืบชะตำ เป็นประเพณีที่ผูกพันกับ
วิถีชีวิตของคนล้ำนนำอย่ำงแน่นแฟ้น สืบทอดมำตั้งแต่โบรำณกำล เพรำะมีควำมเชื่อมั่นว่ำพิธี
สืบชะตำของบ้ำนเมือง โดยจะนิมนต์เจริญพระปริตรและสวดคำถำ “อุณหิสสะวิชะยะ คำถำ”
นิยมทำในวันครบรอบอำยุ พิธีขึ้นบ้ำนใหม่ แต่งงำน เพื่อเป็นกำรต่ออำยุของตนเอง และญำติพี่
น้อง หรือชะตำเมืองให้อำยุยืนยำวสืบไป ให้เกิดควำมสุขควำมเจริญ เป็นกำรขจัดภัยอันตรำยต่ำงๆ
ที่เกิดขึ้นให้เกิดขวัญและกำลังใจในกำรดำรงชีวิตอยู่ในสังคม
บทสรุปวัฒนธรรมด้ำนจิตใจด้ำนศำสนำ วันสำคัญและเทศกำรสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ
เกิดจำกกระบวนกำรอันซับซ้อนทำงสังคมหรือกลุ่มชน เป็นเอกลักษณ์ของสังคมนั้น ๆ วัฒนธรรม
ด้ำนจิตใจมีควำมสำคัญ ในฐำนะที่เป็นเครื่องสร้ำงระเบียบแก่สังคม ทำให้เกิดเอกภำพ เป็น
เครื่องมือช่วยแก้ปัญหำและสนองควำมต้องกำรของมนุษย์ ช่วยให้ประเทศชำติเจริญก้ำวหน้ำ
และเป็นเครื่องแสดงเอกลักษณ์ของชำติ ดังนั้น คนไทยทุกคนจะต้องช่วยกันรักษำคุณค่ำวัฒนธรรม
ด้ำนจิตใจด้ำนศำสนำ วันสำคัญและเทศกำรสำคัญทำงพระพุทธศำสนำที่ดีนี้ไว้ ด้วยกำรเรียนรู้
วัฒนธรรมด้ำนจิตใจด้ำนศำสนำ วันสำคัญและเทศกำรสำคัญทำงพระพุทธศำสนำของท้องถิ่น
เพื่อให้เกิดควำมเข้ำใจในคุณค่ำที่แท้จริงของวัฒนธรรมด้ำนจิตใจ มีทักษะ ทัศนคติ และพฤติกรรม
ที่ดีงำม สำมำรถสร้ำงสรรค์และเลือกสรร นำวัฒนธรรมด้ำนจิตใจด้ำนศำสนำ วันสำคัญและเทศกำร
สำคัญทำงพระพุทธศำสนำไปประยุกต์ใช้ในกำรดำเนินชีวิตได้อย่ำงเหมำะสม
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 27
กิจกรรม เรื่อง วันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำในอำเภอโกสัมพีนคร
มีจำนวน 3 ตอน (คะแนน 25 คะแนน)
คาสั่ง ให้นักเรียนเติมคำตอบลงในช่องว่ำงให้ได้ใจควำมสมบูรณ์
(คะแนน 8 คะแนน) (ข้อละ 1 คะแนน)
1. ชำวอำเภอโกสัมพีนครส่วนใหญ่นับถือศำสนำใด
2. ศำสนำพุทธ มีหลักของศำสนำ คือ
3. ผู้ที่ประทำนชื่อวัด ภุมมำลำ ให้เป็นชื่อว่ำ วัด อมฤต คือ
4. ประเพณีใดของชำวอำเภอโกสัมพีนคร ที่ทำให้ลูกหลำนจะมีโอกำสแสดงมุทิตำจิตต่อญำติผู้ใหญ่
5. ประเพณีบุญบั้งไฟในอำเภอโกสัมพีนครเป็นประเพณีที่ได้รับกำรสืบทอดมำของชนกลุ่มใด
6. ประเพณีตรุษไทย ตรงกับวัน ค่ำ
เดือน
7. วัฒนธรรมประเพณีกำรสืบชะตำเป็นวัฒนธรรมประเพณีที่สำคัญของชำว
กิจกรรม
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร
คาชี้แจง
ตอนที่ 1
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 28
8. ผู้เฒ่ำผู้แก่ในครอบครัวจะใช้ด้ำยสีแดงและขำว ผูกคอหรือมัดมือบุตรหลำน ตลอดจนภำชนะ
สิ่งของเครื่องใช้สอยและสัตว์พำหนะต่ำง ๆ ในวัน
แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบมี 4 ตัวเลือกให้เลือกเพียงคำตอบที่ถูกต้อง
เพียงคำตอบเดียว มีจำนวน 6 ข้อ คะแนน 6 คะแนน ใช้เวลำ 6 นำที
คาสั่ง ให้นักเรียนทำเครื่องหมำย (X)ทับหน้ำคำตอบที่เห็นว่ำถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
(ข้อละ 1 คะแนน)
1. กำรทำแต่ควำมดี งดเว้นกำรทำชั่วและทำจิตใจให้ผ่องใส เป็นหลักคำสอนของศำสนำใด
1. ฮินดู
2. พุทธ
3. คริสต์
4. อิสลำม
2. ที่ตั้งศูนย์ส่งเสริมวัฒนธรรมไทยสำยใยชุมชนในอำเภอโกสัมพีนครคือ
1. วัดอมฤต
2. วัดไร่ลำปำง
3. วัดเกำะตำแย
4. คลองเมือง
3. มีวัดจำนวนมำกในอำเภอโกสัมพีนคร ที่มีเนื้อที่มำกกว่ำ 10 ไร่เนื่องจำกมีคนบริจำคที่เพื่อสร้ำงวัด
กำรที่ผู้คนในอดีตบริจำคที่ของตนเพื่อสร้ำงวัด แสดงให้เห็นถึงสิ่งใดชัดเจนที่สุด
1. คนในอดีตเป็นผู้มีจิตใจงำมและมีควำมพอเพียง
2. ควำมศรัทธำในศำสนำและควำมเสียสละเพื่อส่วนรวม
3. ควำมเป็นอยู่ของคนในอดีตมีควำมมั่งคั่งร่ำรวยกว่ำคนปัจจุบัน
4. ควำมเจริญรุ่งเรืองของพุทธศำสนำและควำมเป็นอยู่ของคนในอดีต
แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร
คาชี้แจง
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 29
4. ประเพณีตรุษไทย ตรงกับข้อใด
1. วันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๖
2. วันแรม ๘ ค่ำ เดือน ๕
3. วันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๔
4. วันแรม ๘ ค่ำ เดือน ๔
5. นักเรียนคิดว่ำประเพณีใด ที่ไม่ใช่ประเพณีดั้งเดิมของชำวอำเภอโกสัมพีนคร
1. ทอดกฐิน – ลอยกระทง
2. ลอยกระทง – เทศมหำชำติ
3. บุญบั้งไฟ – กำรแข่งเรือยำว
4. เทศมหำชำติ – ตักบำตรเทโว
6. ข้อใดไม่มีควำมสัมพันธ์กัน
1. ศำสนำคริสต์ –กำรชำระบำป
2. ศำสนำพุทธ – กำรชำระบำป
3. ศำสนำพุทธ – กำรทำบุญตักบำตร
4. ศำสนำคริสต์ – กำรเคำรพรักในพระเจ้ำ
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 30
บรรณานุกรม
กรมส่งเสริมกำรเกษตร. แผนพัฒนาการเกษตรระดับตาบล ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี
การเกษตร ประจาตาบลเพชรชมภู จ.กาแพงเพชร. 2555. (อัดสำเนำ)
กรมส่งเสริมกำรเกษตร. แผนพัฒนาการเกษตรระดับตาบล ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี
การเกษตร ประจาตาบลลานดอกไม้ตก จ.กาแพงเพชร. 2555. (อัดสำเนำ)
กลุ่มโรงเรียนมัธยมศึกษำจังหวัดกำแพงเพชร. เอกสารประกอบการสอนวิชาสังคมศึกษา รหัสวิชา
ส 071 ท้องถิ่นของเรา จังหวัดกาแพงเพชร. 2535. (อัดสำเนำ)
คณะกรรมกำรฝ่ำยประมวลเอกสำรและจดหมำยเหตุ. (2544). หนังสือวัฒนธรรม พัฒนาการทาง
ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และ ภูมิ ปัญญา จังหวัดกาแพงเพชร. พิมพ์ครั้งที่ 1.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภำลำดพร้ำว.
โชติรสำ บุญโท. เจ้ำหน้ำที่วิเครำะห์นโยบำยและแผน. (2555). แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. 2558 –
2560) [แผ่นซีดี]. กำแพงเพชร : องค์กำรบริหำรส่วนตำบลลำนดอกไม้ตก.
ธวัช ทันโตภำส และคณะ. (ม.ป.ป.). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม
และการดาเนินชีวิตในสังคม ม. 4-6 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วัฒนำพำนิช.
ไพศำล เรียนทัพ. เอกสารประกอบการเรียน ส 071ท้องถิ่นของเรา 1 ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น .
ม.ป.ป. (อัดสำเนำ)
ศูนย์กำรศึกษำพระบำลี สมเด็จพระรำชมังคลำจำรย์. (2556). ประวัติวัดสังฆานุภาพ ตาบลโกสัมพี
อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร. กรุงเทพฯ : เอกพิมพ์ไท.
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ที่ 8 บ้ำนอมฤต ตำบลลำนดอกไม้ตก. (2554). [แผ่นพับ]. ม.ป.ท.
สถำบันพัฒนำคุณภำพวิชำกำร (พว.). (2550). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พิ้นฐาน : ภูมิศาสตร์ :
เศรษฐศาสตร์ : หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม กลุ่มสาระการ
เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาละวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพฯ : พัฒนำคุณภำพวิชำกำร (พว.).
สถำบันพัฒนำคุณภำพวิชำกำร (พว.). (2550). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน หน้าที่พลเมือง
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 31
วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม ม.6. กรุงเทพฯ : พัฒนำคุณภำพวิชำกำร (พว.).
สมนึก อภัยรำช. (ม.ป.ป.). แผนที่ปฏิบัติการ วิชาเพิ่มเติม (วิชาเลือก) ระดับชั้นมัธยมศึกษา 1-3
ท้องถิ่นศึกษา (จังหวัดกาแพงเพชร). พิมพ์ครั้งที่ 3. กำแพงเพชร : ศรีสวัสดิ์กำรพิมพ์.
สำนักงำนโบรำณคดีและพิพิธภัณฑ์สถำนแห่งชำติ กรมศิลปำกรม กระทรวงศึกษำธิกำร. (2540).
พิพิธภัณสถานแห่งชาติ กาแพงเพชร. กรุงเทพฯ : รุ่งศิลป์กำรพิมพ์.
1994.
องค์กำรบริหำรส่วนตำบลโกสัมพี จังหวัดกำแพงเพชร. แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. 2555–2557).
2555. (อัดสำเนำ)
องค์กำรบริหำรส่วนตำบลโกสัมพี จังหวัดกำแพงเพชร. (2553). รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจาปี
2553. กำแพงเพชร : ปริญญำกำรพิมพ์.
องค์กำรบริหำรส่วนตำบลเพชรชมพู จังหวัดกำแพงเพชร. รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจาปี 2555.
2555. (อัดสำเนำ)
เอกรินทร์ สี่มหำศำล และปรีชำ นุ่นสุข. (2537). คู่มือการเรียนการสอน สังคมศึกษา รายวิชา
ส 071 ท้องถิ่นของเรา 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น
พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533). พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ :
อักษรเจริญทัศน์ อจท.
พระเยซู ศำสดำของศำสนำคริสต์ [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก www.ptcs.ac.th (สืบค้นข้อมูลวันที่
10 ตุลำคม 2558)
พิธีละหมำดในศำสนำอิสลำม [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก http://goo.gl/307Z7Q (สืบค้นข้อมูลวันที่
10 ตุลำคม 2558)
พิธีสำรภำพบำปในคริสต์ศำสนำ [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก https://www.google.co.Closing
Catholic Mass for the 2014 Academic Year» (สืบค้นข้อมูลวันที่ 10 ตุลำคม 2558)
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 32
ภาคผนวก
- เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
- เฉลยกิจกรรม เรื่อง วันสำคัญและเทศกำลสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ ตอนที่ 1
- เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
- กระดำษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
- แบบบันทึกคะแนน
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 33
ข้อ คาตอบ
1 2
2 2
3 3
4 1
5 2
6 3
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf

More Related Content

Similar to นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf

วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์ไนซ์ ไนซ์
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์ไนซ์ ไนซ์
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษาniralai
 
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔Tongsamut vorasan
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong14
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์ไนซ์ ไนซ์
 
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔r2d2ek
 
สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9
สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9
สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9ไนซ์ ไนซ์
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 

Similar to นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf (20)

วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
 
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
 
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
 
สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9
สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9
สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
วิชา ฉันทลักษณ์
วิชา ฉันทลักษณ์วิชา ฉันทลักษณ์
วิชา ฉันทลักษณ์
 

More from ssuser6a0d4f

แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfssuser6a0d4f
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxssuser6a0d4f
 
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docxนวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docxssuser6a0d4f
 
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfแผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfssuser6a0d4f
 
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdf
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdfการสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdf
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdfssuser6a0d4f
 
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdfกิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdfssuser6a0d4f
 

More from ssuser6a0d4f (6)

แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
 
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docxนวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
 
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfแผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
 
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdf
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdfการสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdf
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdf
 
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdfกิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
 

นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 1 แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบมี 4 ตัวเลือกให้เลือกเพียงคำตอบที่ถูกต้อง เพียงคำตอบเดียว มีจำนวน 6 ข้อ คะแนน 6 คะแนน ใช้เวลำ 6 นำที คาสั่ง ให้นักเรียนทำเครื่องหมำย (X)ทับหน้ำคำตอบที่เห็นว่ำถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว (ข้อละ 1 คะแนน) 1. กำรทำแต่ควำมดี งดเว้นกำรทำชั่วและทำจิตใจให้ผ่องใส เป็นหลักคำสอนของศำสนำใด 1. ฮินดู 2. พุทธ 3. คริสต์ 4. อิสลำม 2. ข้อใดไม่มีควำมสัมพันธ์กัน 1. ศำสนำคริสต์ –กำรชำระบำป 2. ศำสนำพุทธ – กำรชำระบำป 3. ศำสนำพุทธ – กำรทำบุญตักบำตร 4. ศำสนำคริสต์ – กำรเคำรพรักในพระเจ้ำ 3. นักเรียนคิดว่ำเทศกำลใด ที่ไม่ใช่เทศกำลสำคัญทำงพระพุทธศำสนำดั้งเดิม ของชำวอำเภอโกสัมพีนคร 1. ทอดกฐิน – ลอยกระทง 2. ลอยกระทง – เทศมหำชำติ 3. บุญบั้งไฟ – กำรแข่งเรือยำว 4. เทศมหำชำติ – ตักบำตรเทโว 4. ที่ตั้งศูนย์ส่งเสริมวัฒนธรรมไทยสำยใยชุมชนในอำเภอโกสัมพีนครคือ 1. วัดอมฤต 2. วัดไร่ลำปำง 3. วัดเกำะตำแย 4. วัดคลองเมือง แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง วันสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร คาชี้แจง
  • 2. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 2 5. มีวัดจำนวนมำกในอำเภอโกสัมพีนคร ที่มีเนื้อที่มำกกว่ำ 10 ไร่เนื่องจำกมีคนบริจำคที่เพื่อสร้ำง วัด กำรที่ผู้คนในอดีตบริจำคที่ดินของตนเพื่อสร้ำงวัด แสดงให้เห็นถึงสิ่งใดชัดเจนที่สุด 1. คนในอดีตเป็นผู้มีจิตใจงำมและมีควำมพอเพียง 2. ควำมศรัทธำในศำสนำและควำมเสียสละเพื่อส่วนรวม 3. ควำมเป็นอยู่ของคนในอดีตมีควำมมั่งคั่งร่ำรวยกว่ำคนปัจจุบัน 4. ควำมเจริญรุ่งเรืองของพุทธศำสนำและควำมเป็นอยู่ของคนในอดีต 6. ประเพณีตรุษไทย ตรงกับข้อใด 1. วันแรม 15 ค่ำ เดือน 6 2. วันแรม 8 ค่ำ เดือน 5 3. วันแรม 15 ค่ำ เดือน 4 4. วันแรม 8 ค่ำ เดือน 4
  • 3. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 3 ศำสนำ วันสำคัญทำงศำสนำและเทศกำลสำคัญทำงศำสนำประเพณีและวัฒนธรรม ที่สืบทอดต่อกันมำจำกบรรพบุรุษของชำวโกสัมพีนคร แสดงให้เห็นควำมเจริญในอดีตเป็นอย่ำงดี ตลอดจนกำรผสมผสำนรักษำวัฒนธรรมทำงด้ำนจิตใจขนบธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิมที่เหมำะสม ช่วยให้เอกลักษณ์ทำงวัฒนธรรมของอำเภอโกสัมพีนครโดดเด่นยิ่งขึ้น ผลการเรียนรู้ อธิบำยเกี่ยวกับควำมแตกต่ำงของ ศำสนำ วันสำคัญและเทศกำลสำคัญทำงศำสนำของ ประชำกรในอำเภอโกสัมพีนครได้ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกกำรนับถือศำสนำของชำวโกสัมพีนครได้ 2. ยกตัวอย่ำงวันสำคัญและเทศกำลสำคัญทำงศำสนำ ของอำเภอโกสัมพีนครได้ สาระสาคัญ เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนา ในอาเภอโกสัมพีนคร
  • 4. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 4 1. พระพุทธศำสนำมีอิทธิพลอย่ำงมำกในกำรหล่อหลอม และขัดเกลำ บุคลิกลักษณะหรือนิสัยจิตใจของคนไทยให้มีลักษณะเฉพำะ กำรนับถือศำสนำประชำกรอำเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกำแพงเพชร ส่วน ใหญ่นับถือศำสนำพุทธ ประมำณร้อยละ 99.05 ศำสนำอื่นประมำณร้อยละ 0.95 มี สถำบันหรือองค์กำรศำสนำ 42 แห่ง วัด 21 แห่ง ที่พักสงฆ์ 21 แห่ง 1.1 ศาสนธรรม หลักธรรมคำสอนของศำสนำต่ำงๆที่ศำสนิกชนชำวโกสัมพีนครยึดถือปฏิบัติสืบต่อมำ เป็นหลักหรือเป็นแก่นของศำสนำแต่ละศำสนำ สรุปได้ดังนี้ 1) ศาสนาพุทธ มีหลักของศำสนำ คือ - กำรละเว้นจำกกำรทำชั่วทุกชนิด (ไม่กระทำบำปทั้งปวง) - กำรยังกุศลให้ถึงพร้อม (กำรกระทำควำมดีให้ถึงพร้อม) - กำรทำจิตใจให้ผ่องใส ภำพที่ 5.4 พระพุทธรูปอันเป็นที่เคำรพของคนที่นับถือศำสนำพุทธ ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ ศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร
  • 5. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 5 ภำพที่ 5.5 ชำวอำเภอโกสัมพีนครร่วมกันทำบุญตักบำตรในวันตักบำตรเทโว ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ 2) ศาสนาคริสต์ มีหลักของศำสนำ คือ - รักพระเจ้ำเหนือสิ่งอื่นใด จงรักเพื่อนมนุษย์เหมือนรักตัวเอง โดยกำรรู้จัก แบ่งปันให้กันและกัน เพรำะเห็นแก่ควำมรักของพระเจ้ำ ภำพที่ 5.6 พระเยซู ศำสดำของศำสนำคริสต์ ที่มำ : www.ptcs.ac.th
  • 6. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 6 1.2 ศาสนสถานของพุทธศาสนา วัดสาคัญต่าง ๆ ในอาเภอโกสัมพีนคร 1) วัดสังฆานุภาพ เป็นวัดรำษฎร์ ตั้งอยู่เลขที่ 999 หมู่ที่ 16 บ้ำนทุ่งธำรทอง ตำบลโกสัมพี อำเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกำแพงเพชร สังกัดคณะสงฆ์มหำนิกำย เขตปกครองคณะสงฆ์หนเหนือภำค 4 ปี พ.ศ.2530 พระอำจำรย์เชิด พร้อมด้วยชำวบ้ำนทุ่งธำรทอง จึง ได้ขออนุญำตใช้พื้นที่ประมำณ 15 ไร่ กับสำนักงำนปฏิรูปที่ดินเพื่อกำร เกษตรกรรม (ส.ป.ก. 4-31 ก.) เพื่อสร้ำงเป็นที่พักสงฆ์ทุ่งธำรทอง ได้รับอนุมัติให้ ตั้งวัด เมื่อวันที่ 22 ธันวำคม พ.ศ. 2554 ได้รับพระรำชทำนวิสุงคำมสีมำ เมื่อ วันที่ 18 เมษำยน พ.ศ. 2555 เขตวิสุงคำมสีมำ กว้ำง 28 เมตร ยำว 40 เมตร ภำพที่ 5.7 วัดสังฆำนุ ภำพ ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ ภำพที่ 5.8 วัดสังฆำนุภำพ
  • 7. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 7 ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ 2) วัดไร่ลาปาง วัดไร่ลำปำง (วัดเทพรัตนศำสดำรำม) ได้ก่อตั้งขึ้นมำเมื่อวันที่ 3 พฤษภำคม 2502 แรม 9 ค่ำ ปีกุน ในขณะนั้น พ่อน้อย บำรุงจิตร ได้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยกำนัน ตำบลโกสัมพี อำเภอ เมือง จังหวัดกำแพงเพชร เป็นผู้คิดริเริ่มก่อตั้งขึ้นมำพร้อมคณะศรัทธำชำวบ้ำนบ้ำนไร่ลำปำง จำนวน 18หลังคำเรือนได้ร่วมกันสร้ำงศำลำที่ทำบุญ และกุฎิของพระสงฆ์จนสำเร็จหลังจำกนั้นจึงได้เดินทำง ไปนิมนต์ หลวงพ่อชื่อ จำกวัดนำคต ตำบลป่ำตัง อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปำง มำเป็นเจ้ำอำวำสได้ หนึ่งพรรษำ สำหรับที่ดินที่ใช้ตั้งวัดบ้ำนไร่ลำปำงได้รับบริจำคจำกพ่อหนำนพุฒิ เครือวงษ์ กับนำย ขัน บุญใจวงษ์ ประมำณ 8ไร่ ต่อมำปี พ.ศ.2539 ได้มีนำงสำวสุมำลี เกียรติสุภำ ร่วมกับคณะศรัทธำ มำจำกจังหวัดนนทบุรี ได้มำก่อสร้ำงโบสถ์ และศำลำกำรเปรียญ ซึ่งยังกำลังสร้ำงอยู่สร้ำงกุฏิจำนวน 1 หลัง หอระฆัง จำนวน 1 หลัง ศำลำกลำงน้ำ จำนวน 1 หลัง และโรงครัว 1 หลัง ใช้งบประมำณ ก่อสร้ำงไปแล้ว 60 ล้ำน ปัจจุบันมีพระอธิกำรไม้ภิระจตฺโต เป็นเจ้ำอำวำสมีลูกวัดจำพรรษำอยู่ 18 รูป สำมเณร 1 รูป นำยนำ ท้ำวสำร ได้บริจำคที่ดินเพิ่มเติมให้แก่วัด จำนวน 2 ไร่เศษ ชำวบ้ำนไร่ลำปำง และคณะศรัทธำใช้วัดเป็นสถำนที่ตักบำตรทำบุญและประกอบพิธีทำงศำสนำสืบเนื่องมำจนถึงปัจจุบัน ภำพที่ 5.9 วัดไร่ลำปำง ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
  • 8. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 8 3) วัดอมฤต ที่ตั้งศูนย์ส่งเสริมวัฒนธรรมไทยสำยใยชุมชน ตำบลลำนดอกไม้ตก อำเภอโกสัมพีนคร วัดอมฤต เดิมชื่อว่ำ วัด ภุมมำลำ โดยขุนอำจอำสำ (อ่ำ) และชำวบ้ำนร่วมกันสร้ำง เมื่อสร้ำง เสร็จได้ตั้งชื่อวัดว่ำ วัดภุมมำลำ ต่อมำเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกำยน ปี พ.ศ.2446 สมเด็จพระมหำ สมณเจ้ำ กรมพระยำ วชิรญำณวโรรส สมเด็จพระสังฆรำชเจ้ำ เสด็จขึ้นมำตรวจกำรคณะสงฆ์ มณฑลฝ่ำยเหนือได้มำเยี่ยมวัด ซึ่งขณะนั้นมี พระกำง เป็นเจ้ำอำวำส ทรงเสด็จบิณฑบำต เสวย ภัตตำหำรเช้ำที่ศำลำกำรเปรียญและทำสังฆกรรม (ลงอุโบสถ) ในเรือพระที่นั่งกลำงแม่น้ำปิง หน้ำวัด แล้วเสด็จขึ้นมำในวัดประทำนธรรม และประทำนของแจกพวกชำวบ้ำนก่อนที่จะ เสด็จต่อไปยังจังหวัดตำก พระองค์ได้ประทำนชื่อวัดภุมมำลำ ตำบลลำนดอกไม้ฝั่งตะวันตก ว่ำ วัดอมฤต และต่อมำได้กลำยเป็น วัดอมฤต ภำพที่ 5.10 วัดอมฤต ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ 4) วัดเขาวังเจ้า เนื่องด้วย พระครูนำควัชรำธร (หลวงพ่อวิชัย ปสนโน) อดีตเจ้ำอำวำสและผู้สร้ำง วัดนำควัชรโสภณ (วัดช้ำง) เป็นเจ้ำคณะอำเภอ (ธ.) กำแพงเพชร-พิจิตร เห็นสถำนที่วัดเขำวังเจ้ำ มีภูมิศำสตร์ดี สมควรที่จะสร้ำงวัด จึงได้เชิญชวนศิษยำนุศิษย์ ชำวบ้ำน และผู้มีจิตรศรัทธำดำเนินกำร ก่อสร้ำงวัดบริเวณเชิงเขำวังเจ้ำ โดยมีนำยผอ เลำหพิบูลรัตนำ ซื้อที่ดินถวำยให้สร้ำงวัดและเป็น ที่ตั้งวัด จำนวนที่ดินประมำณ 63 ไร่ 2 งำน 94 ตำรำงวำ และได้ดำเนินกำรออกเอกสำรสิทธิ์ที่ดิน น.ส. 3 โดยใช้ชื่อ สุนทร เลำหพิบูลรัตนำ (ลูกชำย) เป็นผู้ยกที่ดิน (โอน) ให้กับวัดเขำวังเจ้ำ วันที่ 10กันยำยน 2531 แต่ในกำรขออนุญำตสร้ำงวัดได้ใช้ชื่อ นำยสม ขลุ่ยทอง ซึ่งเป็นประชำชนในพื้นที่
  • 9. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 9 เมื่อได้ที่สำหรับก่อสร้ำงวัดแล้ว ก็ได้ดำเนินกำรก่อสร้ำงศำลำไม้ขึ้น 1หลัง ไม่ใหญ่มำกนักและสร้ำง กุฎิบริเวณเชิงเขำหลำยหลัง ภำพที่ 5.11 วัดเขำวังเจ้ำ ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ 5) วัดอรัญสถิตย์ ที่ตั้งหมู่ที่ 3บ้ำนเกำะพิมูลตำบลลำนดอกไม้ตกอำเภอโกสัมพีนครจังหวัดกำแพงเพชร สร้ำงขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่วันที่7พฤษภำคมพ.ศ.2478โดยมีนำงทุเรียนบริจำคที่ดิน4ไร่ นำงทองหยอด นำยเจิม บริจำคที่ดิน 4 ไร่ เจ้ำอำวำส มี 9 รูป รูปที่ 1 พระอำจำรย์แท่น รูปที่ 2 พระอำจำรย์สังเวียน กตปุณโญรูปที่ 3 พระอำจำรย์สงัดธมมธโร รูปที่ 4พระอำจำรย์หนำยปญญำวโร รูปที่ 5พระอำจำรย์ ไลปญญสำโรรูปที่ 6 พระอำจำรย์สมควร ปริสุทโธ รูปที่ 7 พระอธิกำรทองอินทร์ ญำณสุโภ รูปที่ 8 พระปลัดณัฐพงศ์ เจตนำสุโก รูปที่ 9 ปัจจุบัน พระนำวิน สิปปวำทิโก รักษำกำรเจ้ำอำวำส ภำพที่ 5.12 วัดอรัญสถิตย์ ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
  • 10. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 10 ภำพที่ 5.13 วัดอรัญสถิตย์ ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ 6) วัดคลองเมือง ที่ตั้ง 231/1 บ้ำนคลองเมือง หมู่ที่ 3 ตำบลโกสัมพี อำเภอโกสัมพีนคร จังหวัด กำแพงเพชร สังกัดคณะสงฆ์มหำนิกำย ที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 15ไร่ 50 ตำรำงวำ มีพื้นที่ธรณีสงฆ์ 4 ไร่ 2 งำน 96 ตำรำงวำ พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่รำบสูง ด้ำนหน้ำวัดทิศตะวันออก มีถนนซอยแยกมำจำกถนน พหลโยธิน เข้ำสู่วัด กำรคมนำคมสะดวก อำคำรเสนำสนะต่ำงๆ มีศำลำกำรเปรียญ กว้ำง20 เมตร ยำว 20 เมตร สร้ำง พ.ศ. 2510 เป็นศำลำวงกลม 16 มุข มียอดปรำสำท 5 ยอด สร้ำงด้วยไม้ยกพื้น ชั้นเดียว กุฎิสงฆ์จำนวน 4 หลัง ปูชนียวัตถุ คือ พระประธำนที่ประดิษฐ์ในศำลำกำรเปรียญ 2 องค์ ภำพที่ 5.14 วัดคลอง เมือง
  • 11. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 11 ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ 7) วัดท่าคูณสามัคคีธรรม ที่ตั้งตั้งอยู่ที่บ้ำนท่ำคูณ หมู่ที่ 1 ตำบลโกสัมพี อำเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกำแพงเพชร สังกัดคณะสงฆ์มหำนิกำย ที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 8 ไร่ 19 ตำรำงวำ ปูชนียวัตถุ คือ พระประธำน และ พระพุทธรูปต่ำง ๆ จำนวน 17 องค์ ภำพที่ 5.15 วัดท่ำคูณสำมัคคีธรรม ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
  • 12. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 12 ภำพที่ 5.16 วัดท่ำคูณสำมัคคีธรรม ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ 8) วัดเกาะตาแย วัดเกำะตำแย เริ่มสร้ำงเมื่อประมำณ ปี พ.ศ. 2493 โดยมีเจ้ำอำวำสรูปแรกจนถึงรูป ปัจจุบัน ดังนี้ หลวงพ่อจำรัส เป็นผู้ก่อตั้งเริ่มสร้ำงวัดตั้งแต่ประมำณ 2493 – 2513 จำกนั้นท่ำนได้ ไปสร้ำงวัดใหม่ ซึ่งชื่อว่ำวัดโกสัมพี ห่ำงจำกวัดเกำะตำแย ประมำณ 600 เมตร เจ้ำอำวำสรูปที่ 2 พระอำจำรย์พรต เป็นเจ้ำอำวำสวัดเกำะตำแยตั้งแต่ พ.ศ. 2514 -2539 เจ้ำอำวำสรูปที่ 3 พระอธิกำร ปัญญำ ทีปธัมโม เป็นเจ้ำอำวำสรูปที่ 3 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 – 2549 และได้มรณะภำพในปี 2549 และ เจ้ำอำวำส รูปที่ 4พระมหำกำจร ปิยสีโล ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้ำอำวำส พ.ศ. 2551–ปัจจุบันสิ่งปลูกสร้ำง ภำยในวัดได้แก่ โบสถ์ ศำลำกำรเปรียญ กุฎิ เมรุ ภำพที่ 5.17 วัดเกำะตำแย ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
  • 13. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 13 ภำพที่ 5.18 วัดเกำะตำแย ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ 2. วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา วันธรรมสวนะ และเทศกาลสาคัญ วันมาฆบูชา ควำมสำคัญและประวัติของวันมำฆบูชำ ควำมสำคัญของวันมำฆบูชำ คือเป็นวันที่พระสัมมำสัมพุทธเจ้ำทรงแสดง "โอวำทปำติโมกข์" แก่พระสงฆ์เป็นครั้งแรก หลังจำกตรัสรู้มำแล้วเป็นเวลำ 9 เดือน ซึ่งหลักคำสอนนี้เป็นหลักกำร และวิธีกำร ปฏิบัติต่ำงๆ หำกสรุปเป็นใจควำมสำคัญ จะมีเนื้อหำว่ำ "ทำควำมดี ละเว้นควำมชั่ว ทำจิตใจให้บริสุทธิ์" ทั้งนี้ในวันมำฆบูชำได้เกิดเหตุอัศจรรย์ขึ้นพร้อมๆ กันถึง 4 ประกำร อันได้แก่ 1. วันนั้นตรงกับวันเพ็ญ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 ซึ่งพระจันทร์เสวยมำฆฤกษ์ 2. มีพระสงฆ์จำนวน 1,250 รูป มำประชุมพร้อมกันโดยมิได้นัดหมำย ณ วัดเวฬุวัน เมืองรำชคฤห์ แคว้นมคธ เพื่อสักกำระพระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ 3. พระสงฆ์ที่มำประชุมทั้งหมดล้วนแต่เป็นพระอรหันต์ ผู้ได้อภิญญำ 6 4. พระสงฆ์ทั้งหมดได้รับกำรอุปสมบทโดยตรงจำกพระพุทธเจ้ำ หรือ "เอหิภิกขุอุปสัมปทำ" หลักธรรมที่เกี่ยวเนื่อง ควำมหมำยของบุญกริยำวัตถุ 3 บุญกิริยำวัตถุ 3 หมำยถึง ที่ตั้งแห่งกำรทำควำมดี 3 ประกำร 1. กำรทำบุญด้วยกำรให้ ( ทำนมัย ) ทำน หมำยถึง กำรให้โดยไม่หวังผลตอบแทน มี 3 ประกำร คือ 1.1 อำมิสทำน กำรให้วัตถุสิ่งของแก่คนที่ควรให้ 1.2 ธรรมทำน กำรให้ธรรม คือ คำแนะนำสั่งสอนให้รู้บำปบุญ คุณโทษ 1.3 อภัยทำน กำรให้อภัย คือ กำรให้ควำมปลอดภัย กำรไม่เอำโทษกำรลดโทษ คุณประโยชน์ของกำรให้ 1. เป็นกำรทำนุบำรุงพระศำสนำ 2. ช่วยให้สังคมร่มเย็นเป็นสุข 3. เป็นกำรชำระจิตใจของผู้ให้ 4. เป็นที่นิยมชมชอบของคนทั่วไป 2. กำรทำบุญด้วยกำรรักษำศีล ( สีลมัย )
  • 14. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 14 กำรรักษำศีล คือ กำรประพฤติแต่สิ่งที่ดีงำม คนเรำอย่ำงน้อยต้องรักษำศีลให้ได้ที่เรียกว่ำ ศีล 5 ศีล 8 สำหรับ อุบำสก อุบำสิกำ ผู้ใกล้ชิด พระพุทธศำสนำ ศีล 10 สำหรับ สำมเณร และศีล 227 สำหรับ พระสงฆ์ คุณประโยชน์ของกำรรักษำศีล 1. ทำให้เกิดสันติสุขในสังคม 2. ทำให้เกิดสันติสุขในตัวเอง 3. ได้รับกำรยกย่องนับถือ 3. กำรทำบุญด้วยกำรภำวนำ ( ภำวนำมัย ) ภำวนำ หมำยถึง กำรฝึกฝนจิตใจให้สงบเยือกเย็น เพื่อเป็นพื้นฐำนให้เกิดปัญญำ รู้แจ้งในสัจ ธรรมกำรภำวนำมี 2 ชนิด คือ 1. สมถภำวนำ กำรฝึกอบรมจิตใจเกิดควำมสงบ 2. วิปัสสนำภำวนำ กำรศึกษำอบรมปัญญำให้เกิดควำมรู้แจ้ง คุณประโยชน์ของกำรภำวนำ 1. ส่งเสริมสุขภำพจิต 2. กำรทำงำนดีขึ้น 3. นำไปสู่เสรีภำพที่แท้จริง วันวิสำขบูชำ ควำมหมำย คำว่ำ "วิสำขบูชำ" หมำยถึงกำรบูชำในวันเพ็ญเดือน 6 วิสำขบูชำ ย่อมำจำก " วิสำขบุรณ- มีบูชำ " แปลว่ำ " กำรบูชำในวันเพ็ญเดือนวิสำขะ " ถ้ำปีใดมีอธิกมำส คือ มีเดือน 8 สองหน ก็เลื่อนไปเป็น กลำงเดือน 7 ควำมสำคัญ วันวิสำขบูชำ เป็นวันสำคัญยิ่งทำงพระพุทธศำสนำ เพรำะเป็นวันที่พระพุทธเจ้ำ ประสูติ คือเกิด ได้ตรัสรู้ คือสำเร็จ ได้ปรินิพพำน คือ ดับ เกิดขึ้นตรงกันทั้ง 3 ครำวคือ 1. เมื่อเจ้ำชำยสิทธัตถะ ประสูติ ที่พระรำชอุทยำนลุมพินีวัน ระหว่ำงกรุงกบิลพัสดุ์กับเทวทหะ เมื่อเช้ำวันศุกร์ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีจอ ก่อนพุทธศักรำช 80 ปี 2. เมื่อเจ้ำชำยสิทธัตถะตรัสรู้ เป็นพระพุทธเจ้ำเมื่อพระชนมำยุ 35 พรรษำ ณ ใต้ร่มไม้ศรีมหำ- โพธิ์ ฝั่งแม่น้ำเนรัญชรำ ตำบลอุรุเวลำเสนำนิคม ในตอนเช้ำมืดวันพุธ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีระกำ ก่อน พุทธศักรำช 45 ปี หลังจำกออกผนวชได้6 ปี ปัจจุบันสถำนที่ตรัสรู้แห่งนี้เรียกว่ำ พุทธคยำ เป็นตำบลหนึ่ง ของเมืองคยำ แห่งรัฐพิหำรของอินเดีย 3. หลังจำกตรัสรู้แล้ว ได้ประกำศพระศำสนำ และโปรดเวไนยสัตว์ 45 ปี พระชนมำยุได้80 พรรษำ ก็เสด็จดับขันธปรินิพพำน เมื่อวันอังคำร ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีมะเส็ง ณ สำลวโนทยำน ของมัลล-
  • 15. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 15 กษัตริย์เมืองกุสินำรำ แคว้นมัลละ (ปัจจุบันอยู่ในเมือง กุสีนคระ) แคว้นอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย หลักธรรมที่เกี่ยวข้องพละ หรือ พละ 5 คือ กำลัง ห้ำ ประกำรได้แก่ 1. ศรัทธำพละ ควำมเชื่อ กำลังกำรควบคุมควำมสงสัย 2. วิริยะพละ ควำมเพียร กำลังกำรควบคุมควำมเกียจคร้ำน 3. สติพละ ควำมระลึกได้กำลังกำรควบคุมควำมประมำท กำรไม่ใส่ใจ ใจลอย ไร้สติ 4. สมำธิพละ ควำมตั้งใจมั่น กำลังกำรควบคุมกำรวอกแวกเขว่ไขว่ ฟุ้งซ่ำน 5. ปัญญำพละ ควำมรอบรู้ กำลังกำรควบคุมเพิกเฉยไม่สนใจ หลงงมงำย พละทั้งห้ำนี้ เป็นหลักธรรมที่ผู้เจริญวิปัสสนำพึงรู้ ศรัทธำต้องปรับให้สมดุลกับปัญญำ วิริยะต้องปรับ ให้สมดุลกับสมำธิ ส่วนสติพึงเจริญให้มำกเนื่องเป็นหลักที่มีสภำวะปรับสมดุลของจิตภำยในตัวเองอยู่ แล้ว เป็นหลักธรรมที่คู่กับอินทรีย์5 คือศรัทธินทรีย์วิริยินทรีย์สตินทรีย์สมำธินทรีย์ปัญญินทรีย์โดยมี ควำมเหมือนควำมแตกต่ำงและควำมเกี่ยวเนื่องคือ พละ5เป็นสภำวะที่เกิดขึ้นแก่จิตในปัจจุบันที่ทำให้เกิดมี ขึ้น ส่วนอินทรีย์คือพละ5ที่สะสมจนตกผลึก เหมือนกับนิสัย หรือสันดำน เช่นผู้มีสมำธิทรีย์มำกก็อำจทำ สมำธิได้ง่ำยกว่ำผู้มีน้อยกว่ำ ผู้มีปัญญินทรีย์มำกก็มีปกติเป็นคนฉลำด พละ5อำจเกิดขึ้นได้ดีและสั่งสมเป็น อินทรีย์ได้ไวคือผู้ทีบวชรือประพฤติพรหมจรรย์และผู้ปฏิบัติโมเนยยะปฏิบัติ วันอัฏฐมีบูชำ ควำมสำคัญ วันอัฏฐมีคือวันแรม 8 ค่ำ เดือน 6 เป็นวันที่มีเหตุกำรณ์สำคัญทำงพระพุทธศำสนำ ถือ เป็นวันที่ตรงกับวันถวำยพระเพลิงพระพุทธสรีระ เป็นวันที่ชำวพุทธต้องมีควำมเสียใจและสูญเสียพระบรม สรีระแห่งองค์พระบรมศำสดำ ซึ่งเป็นที่เคำรพสักกำระอย่ำงสูง จึงเป็นวันควรแสดงธรรมสังเวชและระลึกถึง พระพุทธคุณให้สำเร็จเป็นพุทธำนุสสติภำวนำมัยกุศล หลักธรรมที่เกี่ยวข้อง ควำมหมำยของสุจริต 3 สุจริต 3 แปลว่ำ ควำมประพฤติชอบ 3 ประกำร ได้แก่ 1. กำยสุจริต ได้แก่ ควำมประพฤติชอบทำงกำย มี 3 ประกำร คือ เว้นจำกกำรฆ่ำ สัตว์เว้นจำกกำรลักทรัพย์และเว้นจำกกำรประพฤติผิดในกำม 2. วจีสุจริต ได้แก่ ควำมประพฤติชอบทำงวำจำ มี 4 ประกำร คือ เว้นจำกกำรพูดเท็จ เว้นจำกกำรพูดส่อเสียด เว้นจำกกำรพูดคำหยำบและเว้นจำกกำรพูดเพ้อเจ้อ 3. มโนสุจริต ได้แก่ ควำมประพฤติชอบทำงใจ มี 3 ประกำร คือ ไม่โลภ ไม่พยำบำท
  • 16. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 16 และมีควำมเห็นถูกต้อง คุณประโยชน์ของควำมสุจริต 1. พ้นจำกควำมเดือดร้อน 2. มีแต่คนสรรเสริญ 3. มีควำมสุขทำงโลก 4. มีควำมสุขทำงธรรม วันอำสำฬหบูชำ วันอำสำฬหบูชำมีเหตุกำรณ์สำคัญในทำงพระพุทธศำสนำอยู่ 3 ประกำรคือ 1. เป็นวันแรกที่พระพุทธเจ้ำทรงประกำศพระศำสนำ โดยทำงแสดงพระปฐมเทศนำ คือ ธรรมจักกัปปวัตนสูตร ประกำศสัจธรรมอันเป็นองค์แห่งพระอนุตรสัมมำสัมโพธิญำณที่พระองค์ตรัสรู้ ให้ เป็นที่ประจักษ์แก่ สรรพสัตว์ทั้งหลำย 2. เป็นวันแรกที่บังเกิดพระอริยสงฆ์สำวกขึ้นในโลก คือ พระโกณฑัญญะ เมื่อได้ฟังพระ ปฐมเทศนำจบ ได้ดวงตำเห็นธรรม ได้ทูลขออุปสมบท และพระพุทธเจ้ำได้ประทำนอุปสมบทให้ด้วยวิธี เอหิภิกษุอุปสัมปทำ ในวันนั้น 3. เป็นวันแรกที่บังเกิดพระรัตนตรัย คือ พระพุทธรัตนะ พระธรรมรัตน และพระสังฆ รัตนะ ขึ้นในโลกอย่ำงสมบูรณ์บริบูรณ์ หลักธรรมที่เกี่ยวข้อง จักร 4 หลักธรรม 4 ประกำรที่นำบุคคลไปสู่ควำมเจริญประกอบด้วย 1. ปฏิรูปเทสวำสะ หมำยถึง กำรอยู่ในประเทศอันเหมำะสม 2. สัปปุริสูปสังเสวะ หมำยถึง กำรคบสัตบุรุษ กำรเข้ำไปคบกับคนดี ผู้มีสัปปุริสธรรม7 3. อัตตสัมมำปณิธิ หมำยถึง กำรตั้งตนไว้ชอบ ตั้งอยู่ในสุจริต 3 ได้แก่ กำยสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต 4. ปุพเพกตปุญญตำ หมำยถึง ควำมเป็นผู้มีบุญได้กระทำไว้ก่อน วันธรรมสวนะ วันพระ หรือ วันธรรมสวนะ หรือ วันอุโบสถ หมำยถึง วันประชุมของพุทธศำสนิกชนเพื่อปฏิบัติ กิจกรรมทำงศำสนำในพระพุทธศำสนำประจำสัปดำห์ หรือที่เรียกกันทั่วไปอีกคำหนึ่งว่ำ "วันธรรมสวนะ" อันได้แก่วันถือศีลฟังธรรม (ธรรมสวนะ หมำยถึง กำรฟังธรรม) โดยวันพระเป็นวันที่มีกำหนดตำมปฏิทิน จันทรคติ โดยมีเดือนละ 4 วัน ได้แก่ วันขึ้น 8 ค่ำ, วันขึ้น 15 ค่ำ (วันเพ็ญ), วันแรม 8 ค่ำ และวันแรม 15 ค่ำ
  • 17. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 17 (หำกเดือนใดเป็นเดือนขำด ถือเอำวันแรม 14 ค่ำ) ควำมสำคัญของวันพระ จำกพุทธำนุญำตให้มีตัวแทนสงฆ์รูปหนึ่งสวดทบทวนสิกขำบท ที่ทรงบัญญัติไว้เป็นระเบียบ ปฏิบัติเพื่อกำรอยู่ร่วมกันอย่ำงผำสุกและเพื่อควำมบริสุทธิ์ในเพศสมณะที่ต้องบริบูรณ์ด้วย ศีล สมำธิ และ ปัญญำอันเป็นทำงหลุดพ้นจำกทุกข์ทั้งปวงตำมเส้นทำงของพระพุทธศำสนำ โดยมีภิกษุผู้สวดทบทวน เมื่อ สวดถึงข้อใดแล้วมีภิกษุรูปใดรูปใดรูปหนึ่งประพฤติผิดข้อบังคับนั้น จะเปิดเผยท่ำมกลำงที่ประชุม หรือที่ เรียกว่ำแสดงอำบัติ ซึ่งถือปฏิบัติเช่นนี้สืบต่อๆ กันมำตั้งแต่ครั้งพุทธกำล ก่อให้เกิดผลดังนี้ คือ 1. เกิดควำมสำมัคคีเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันของคณะสงฆ์ ด้วยระเบียบปฏิบัติที่หมั่น ทบทวนและเตือนตนด้วยกำรแสดงกำรยอมรับในสิ่งที่ตนละเมิด เพื่อแก้ไขต่อไป ในข้อนี้มีปรำกฏกำรณ์ เด่นชัดเมื่อครั้งพุทธกำล คือเมื่อครั้งพระภิกษุชำวเมืองโกสัมพีทะเลำะเบำะแว้งแตกควำมสำมัคคีกัน ภำยหลังเมื่อกลับมีควำมสำมัคคีใหม่ พระพุทธองค์ทรงอนุญำตให้ประชุมทำอุโบสถสวดพระปำฏิโมกข์ เป็นกรณีพิเศษ ที่เรียกว่ำ วันสำมัคคีอุโบสถ 2. กำรหมั่นทบทวนอย่ำงสม่ำเสมอ ทำให้พระธรรมคำสอนไม่คลำดเคลื่อน เลือนหำยและ ทำให้หมู่คณะจรรโลงพระพุทธศำสนำให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อกันมำจนถึงปัจจุบันนี้ วันอุโบสถนั้น นอกเหนือจำกเป็นวันสำคัญของทำงคณะสงฆ์ดังกล่ำวแล้ว ยังเป็นวันประชุมฟังธรรมของเหล่ำ พุทธศำสนิกชนตั้งแต่สมัยพุทธกำลจนถึงปัจจุบันนี้ หลักธรรมที่เกี่ยวข้อง สังคหวัตถุ 4 หมำยถึง หลักธรรมที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจของผู้อื่น ผูกไมตรี เอื้อเฟื้อ เกื้อตรูล หรือเป็นหลักกำรสงเครำะห์ซึ่งกันและกัน มีอยู่ 4 ประกำร ได้แก่ 1. ทำน คือ กำรให้ กำรเสียสละ หรือกำรเอื้อเฟื้อแบ่งปันของๆตนเพื่อประโยชน์แก่บุคคล อื่น ไม่ตระหนี่ถี่เหนียว ไม่เป็นคนเห็นแก่ได้ฝ่ำยเดียว คุณธรรมข้อนี้จะช่วยให้ไม่เป็นคนละโมบ ไม่เห็นแก่ ตัว เรำควรคำนึงอยู่เสมอว่ำ ทรัพย์สิ่งของที่เรำหำมำได้มิใช่สิ่งจีรังยั่งยืน เมื่อเรำสิ้นชีวิตไปแล้วก็ไม่ สำมำรถจะนำติดตัวเอำไปได้ 2. ปิยวำจำ คือ กำรพูดจำด้วยถ้อยคำที่ไพเรำะอ่อนหวำน พูดด้วยควำมจริงใจ ไม่พูด หยำบคำยก้ำวร้ำว พูดในสิ่งที่เป็นประโยชน์เหมำะสำหรับกำลเทศะ พระพุทธเจ้ำทรงให้ควำมสำคัญกับ กำรพูดเป็นอย่ำงยิ่ง เพรำะกำรพูดเป็นบันไดขั้นแรกที่จะสร้ำงมนุษย์สัมพันธ์อันดีให้เกิดขึ้น วิธีกำรที่จะพูด ให้เป็นปิยวำจำนั้น จะต้องพูดโดยยึดถือหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
  • 18. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 18 เว้นจำกกำรพูดเท็จ เว้นจำกกำรพูดส่อเสียด เว้นจำกกำรพูดคำหยำบ เว้นจำกกำรพูดเพ้อเจ้อ 3. อัตถจริยำ คือ กำรสงเครำะห์ทุกชนิดหรือกำรประพฤติในสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น 4. สมำนัตตำ คือ กำรเป็นผู้มีควำมสม่ำเสมอ หรือมีควำมประพฤติเสมอต้นเสมอปลำย คุณธรรมข้อนี้จะช่วยให้เรำเป็นคนมีจิตใจหนักแน่นไม่โลเล รวมทั้งยังเป็นกำรสร้ำงควำมนิยม และ ไว้วำงใจให้แก่ผู้อื่นอีกด้วย เทศกำลสำคัญ เทศกำลสงกรำนต์ หลักธรรมและคติธรรมที่เกี่ยวเนื่องในเทศกำลสงกรำนต์ 1. กำรทำพิธีบังสุกุลอัฐิบรรพบุรุษ สะท้อนให้เห็นถึงหลักธรรม เรื่องควำม กตัญญกตเวทีที่ลูกหลำนมีต่อ บรรพบุรุษ ที่ล่วงลับไปแล้ว 2. กำรรดน้ำญำติผู้ใหญ่และผู้ที่ตนเองนับถือ นอกจำกจะสะท้อนให้เห็นถึง หลักธรรมเรื่องควำมกตัญญกตเวที ยังสะท้อนให้เห็นถึงควำมเคำรพและกำรมีสัมมำคำรวะต่อกันอีกด้วย สังคมไทยถือว่ำกำรรู้จักเคำรพผู้ที่ควรเคำรพนั้นเป็นวัฒนธรรมไทยอย่ำงหนึ่ง ผู้ที่รู้จักเคำรพผู้ที่ควรเคำรพ เรียกว่ำ เป็นคนมีสัมมำคำรวะ ซึ่งคนประเภทนี้ย่อมได้รับควำมยกย่องนับถือ และย่อมประสบควำมสำเร็จ ในกำรทำงำนร่วมกับผู้อื่น เทศกำลวันเข้ำพรรษำ หลักธรรมที่เกี่ยวข้อง ควำมอดทน หมำยถึง กำรรักษำปกติภำวะของตนไว้ได้ไม่ว่ำจะ ถูกกระทบกระทั่งด้วยสิ่งอันเป็นที่พึงปรำรถนำ หรือไม่พึงปรำรถนำก็ตำม มีควำมมั่นคงหนักแน่นเหมือน แผ่นดิน ซึ่งไม่หวั่นไหว ไม่ว่ำจะมีคนเทอะไรลงไป ของเสีย ของหอม ของสกปรกหรือของดีงำมก็ตำม ควำมเสียสละ หมำยถึง ควำมมีน้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน สำมำรถทำได้2 วิธี คือ เสียสละวัตถุหรือสิ่งของ และเสียสละอำรมณ์หรือกิเลสที่เป็นเหตุให้จิตใจ เศร้ำหมอง ควำมเสียสละเป็นหลักธรรมที่สำคัญข้อหนึ่งที่ช่วยให้เกิดควำมสงบสุขในสังคม ควำมสำมัคคคี หมำยถึง ควำมพร้อมเพรียงกัน ควำมรักใคร่ปรองดองกัน เป็น หลักธรรมสำคัญที่สำมำรถนำควำมสุขและควำมเจริญมำสู่หมู่คณะได้ด้วยเหตุนี้จึงมีคำกล่ำวว่ำ สุขำ- สงฺฆสฺส สำมคฺคี (ควำมสำมัคคีนำควำมสุขมำสู่หมู่คณะ) เทศกำลวันออกพรรษำ
  • 19. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 19 คติธรรมที่เกี่ยวเนื่อง ควำมกตัญญูกตเวที ควำมกตัญญู หมำยถึง ควำมรู้สึกนึกในกำรอุปกำระคุณ หรือ บุญคุณที่ผู้อื่นหรือสิ่งอื่นมีต่อตนเอง กตเทวี หมำยถึง กำรแสดงออกเพื่อกำรตอบแทนบุญคุณ ควำมกตัญญูกตเวที หมำยถึง กำรรู้บุญคุณและตอบแทนคุณต่อคนอื่นและสิ่งอื่นที่มีบุญคุณ ควำมเสียสละ หมำยถึง ควำมมีน้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน สำมำรถทำได้ 2 วิธี คือ เสียสละวัตถุหรือสิ่งของ และเสียสละอำรมณ์หรือกิเลสที่เป็นเหตุให้จิตใจเศร้ำหมอง ควำมเสียสละ เป็นหลักธรรมที่สำคัญข้อหนึ่งที่ช่วยให้เกิดควำมสงบสุขในสังคม ควำมสำมัคคคี หมำยถึง ควำมพร้อมเพรียงกัน ควำมรักใคร่ปรองดองกัน เป็นหลักธรรมสำคัญที่สำมำรถนำควำมสุขและควำมเจริญมำสู่หมู่คณะได้ ด้วยเหตุนี้จึงมีคำกล่ำวว่ำ สุขำ สงฺฆสฺส สำมคฺคี แหล่งที่มำ : :http://www.fungdham.com/directory.html วันสาคัญเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร วันวิสำขบูชำตรงวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 6 เป็นวันคล้ำยวันที่พระพุทธเจ้ำประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพำน ในตอนเช้ำของวันนี้ประชำชนจะพร้อมใจกันไปทำบุญตักบำตรที่วัด ส่วนตอนค่ำที่ วัดทุกวัดมีพิธีเวียนเทียน ซึ่งประชำชนจะพร้อมใจกันไปร่วมพิธีเป็นจำนวนมำก วันเข้ำพรรษำ ในเดือน 8มีวันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ2 วัน คือวันอำสำฬหบูชำ ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 และวันเข้ำพรรษำ ตรงกับวันแรม 1ค่ำ เดือน 8ประชำชนจะร่วมใจกัน หล่อเทียนเพื่อถวำยพระตำมวัดต่ำงๆ เพื่อพระสงฆ์จะได้ใช้จุดในระหว่ำงพรรษำเรียกว่ำ เทียนพรรษำ โดยจะถวำยก่อนวันเข้ำพรรษำ ทั้งวันอำสำฬหบูชำและวันเข้ำพรรษำประชำชนจะทำบุญตักบำตรถวำย ผ้ำอำบน้ำฝนแก่พระสงฆ์ นับเป็นประเพณีที่ปฏิบัติสืบทอดกันมำของพุทธศำสนิกชน วันออกพรรษำ–กำรเทศน์มหำชำติ ตรงกับวันขึ้น 15ค่ำเดือน 11ของทุกปี ประชำชน ทำบุญตักบำตรในตอนเช้ำ ตอนสำยนิมนต์พระสงฆ์บิณฑบำตข้ำวสำรอำหำรแห้ง เรียกว่ำ ตักบำตร เทโว หลังวันออกพรรษำมีประเพณีกำรเทศน์มหำชำติ ก่อนถึงวันกำหนดเทศน์มหำชำติ 1วันประชำชน จะร่วมแรงร่วมใจกันตกแต่งศำลำวัดด้วยต้นกล้วย ต้นอ้อย ต้นไม้ต่ำง ๆและนำดอกไม้มำร้อยเรียกว่ำ “พวงมะโหด” ไปแขวนตกแต่งให้คล้ำยคลึงกับป่ำหิมพำนต์ในกำรเทศน์มหำชำตินั้นพระจะเทศน์ 2 วันวันแรกเดินคำถำพัน วันที่ 2 เทศน์เนื้อเรื่อง ชำวบ้ำนจะจัดดอกไม้ ธูปเทียนบูชำธรรมโดยขณะฟัง เทศน์จะจุดธูปเทียนตลอดเวลำไม่ให้ธูปเทียนดับ กำรเทศน์มหำชำตินี้วัดทุกวัดอำจไม่ต้องจัดก็ได้ ทั้งนี้ แล้วแต่ควำมพร้อมของแต่ละวัด
  • 20. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 20 ภำพที่ 5.21 ประชำชนมำร่วมทำบุญตักบำตรวันออกพรรษำที่วัดมะเดื่อชุมพร ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ ภำพที่ 5.22 ประชำชนมำร่วมกันจัดทอดผ้ำป่ำสำมัคคีที่วัดมะเดื่อชุมพร ประเพณีออกพรรษำ – ตักบำตรเทโว
  • 21. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 21 ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ ภำพที่ 5.23 ประชำชนมำร่วมทำบุญตักบำตรข้ำวสำรอำหำรแห้ง เรียกว่ำ ตักบำตรเทโว ที่วัดวังชมภู ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ ภำพที่ 5.24 ประชำชนมำร่วมทำบุญตักบำตรข้ำวสำรอำหำรแห้ง ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
  • 22. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 22 ภำพที่ 5.25 ตักบำตรเท โว ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ ภำพที่ 5.26 กลองยำวชำวบ้ำนวังชมภูร่วมงำนบุญตับำตรเทโว ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ ภำพที่ 5.27 กลองยำวชำวบ้ำนวังชมภูร่วมงำนบุญตักบำตรเทโว ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ
  • 23. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 23 ภำพที่ 5.28 เทศน์มหำชำติวัดเกำะตำแย ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ ภำพที่ 5.29 เทศน์มหำชำติวัดเกำะตำแย ที่มำ: นำงรุ่งภำณี ปิติยะ ภำพที่ 5.30 เทศน์มหำชำติวัดเกำะตำแย ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ ประเพณีกำรทอดกฐิน ตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ถึงวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 12 ประชำชนที่มีศรัทธำในแต่ละวัดจะร่วมกันจัดให้มีประเพณีกำรทอดกฐิน ซึ่งอำจจะเป็นกฐินสำมัคคี หรือกฐินที่มีคนใดคนหนึ่งขอเป็นเจ้ำภำพก็ได้ทั้งนี้แล้วแต่กำลังศรัทธำของประชำชนอันเนื่องด้วย ควำมเชื่อเรื่องอำนิสงส์จำกกำรทอดกฐินนอกจำกนั้นพระภิกษุวัดใดยังไม่ได้รับกฐินแม้บวชครบพรรษำ
  • 24. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 24 แล้ว ก็ยังลำสิกขำบทไม่ได้ ต้องได้รับกฐินเสียก่อนประชำชนจึงร่วมแรงร่วม ใจกันจัดทอดกฐินขึ้นสำหรับวัดทุกวัด นับเป็นประเพณีที่ปฏิบัติสืบทอดกันมำ จนถึงปัจจุบัน ประเพณีที่คนในท้องถิ่นยึดถือปฏิบัติ อำเภอโกสัมพีนครเป็นเมืองโบรำณสมัยก่อนประวัติศำสตร์ ตอนปลำย ประเพณีดั้งเดิมและประเพณีท้องถิ่นปัจจุบันยังไม่ทรำบแน่ชัดว่ำ สืบทอดกันมำอย่ำงไร บ้ำงและเนื่องจำกเป็นอำเภอที่มีผู้อพยพมำก กลุ่มคนอพยพจำนวนมำกเหล่ำนี้ต่ำงมีวัฒนธรรมและ ประเพณีของตนเองติดมำด้วยและคงถือปฏิบัติกันอยู่เหมือนกับอยู่ในท้องถิ่นเดิมของตน ด้วยเหตุผล ดังกล่ำว ประเพณีต่ำง ๆ ของอำเภอโกสัมพีนครจึงมีทั้งที่เหมือนกันและแตกต่ำงกันไปตำมลักษณะ ของท้องถิ่น ประเพณีส่วนสังคม ประเพณีส่วนสังคมหรือส่วนชุมชนที่ชำวโกสัมพีนครยึดถือปฏิบัติสืบ ทอดกันมำในแต่ละเดือนตลอดปี มีดังนี้ เดือน 4 ประเพณีตรุษไทย ตรงกับวันแรม 15 ค่ำ เดือน 4 หรือวันสิ้น เดือน 4 ของทุกปี เมื่อถึงวันแรม 14 ค่ำ เดือน 4 ประชำชนจะร่วมกันทำบุญตัก บำตรที่วัด กำรทำบุญวันตรุษจะทำกันเป็นเวลำ 3 วัน เดือน 5 ประเพณีสงกรำนต์ ตรงกับวันที่ 13-15 เมษำยน ของทุกปี วันที่ 13 ถือเป็น วันมหำสงกรำนต์ วันที่ 14 เป็นวันเนำ วันที่ 15 เป็นวันเถลิงศก ประชำชนมีกำรทำบุญตักบำตรขนม ที่ทำ ได้แก่ ข้ำวเหนียวแดง ข้ำวเหนียวแก้ว ขนมกวน ขนมเทียน ฯลฯ นับเป็นงำนนักขัตฤกษ์ที่ ประชำชนจะรื่นเริงสนุกสนำนมำก เพรำะทำงสุริยคติกำหนดเป็นวันที่พระอำทิตย์เข้ำสู่รำศีเมษ โบรำณนับเป็นวันขึ้นปีใหม่ จึงมีกิจกรรมและพิธีกรรมต่ำง ๆ ที่ปฏิบัติกันมำดังนี้ วันที่ 12 เมษำยน ประชำชนทำบุญตักบำตรในตอนเช้ำ ตอนเย็นประชำชนจะ พร้อมใจกันไปขนทรำยเข้ำวัด และร่วมกันก่อพระเจดีย์ทรำย ซึ่งจะประดับตกแต่งด้วยดอกไม้ ธงทิว พวงเต่ำรั้ง (ใช้กระดำษสีพับเป็นสำมเหลี่ยมแล้วตัดเป็นระย้ำ) บำงคนทำธงเล็ก ๆ เท่ำกับอำยุปักบน กองทรำยเป็นกำรสะเดำะเครำะห์ให้ตัวเองด้วย เสร็จแล้วนิมนต์พระสงฆ์มำเจริญพระพุทธมนต์
  • 25. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 25 ภำพที่ 5.19 รดน้ำดำหัวผู้สูงอำยุ ภำพที่ 5.20 รดน้ำหัวผู้สูงอำยุ ที่มำ: นำงรุ่งภำณี ปิติยะ ที่มำ: นำงรุ่งภำณี ปิติยะ วันที่ 13 เมษำยน ถือเป็นวันมหำสงกรำนต์ตอนเช้ำมีกำรทำบุญตักบำตรที่วัด ถือ เป็นกำรฉลองพระเจดีย์ทรำยด้วย ในระหว่ำงวันสงกรำนต์ หนุ่มสำวเด็ก ผู้เฒ่ำผู้แก่ จะรดน้ำดำหัวกัน ผู้ที่เคำรพ นับถือ บิดำมำรดำจะจัดขบวนไปอำบผู้ใหญ่ที่บ้ำน เพื่อเป็นกำรขอศีลขอพรจำกผู้ใหญ่ และในกำรนี้ จะจัดเสื้อผ้ำ น้ำอบ น้ำหอมเพื่อไปผลัดเปลี่ยนให้กำรอำบน้ำนี้บำงครั้งก็ไม่กำหนดเวลำแน่นอน แล้วแต่ควำมสะดวก แต่อยู่ในขอบเขตของวันสงกรำนต์สิ่งที่ประชำชนปฏิบัติจนถือเป็นประเพณี คือ กำรสรงน้ำพระพุทธตำมวัดต่ำง ๆ ส่วนผู้ใหญ่จะนำพระที่อยู่ในบ้ำนอำจเป็นพระพุทธรูปบูชำหรือ พระเครื่องออกมำสรงน้ำเช่นเดียวกัน วันที่ 14 เมษำยน ประชำชนจะมำรวมกันที่วัดใดวัดหนึ่งที่อยู่ในย่ำนชุมชนแล้ว นิมนต์พระสงฆ์มำเพื่อทำพิธีสรงน้ำ วันที่ 15 เมษำยน เป็นวัน “พญำวัน” เพรำะวันนี้ถือว่ำเป็นวันเถลิงศกผู้เฒ่ำผู้แก่ ในครอบครัวจะใช้ด้ำยสีแดงและขำว ผูกคอหรือมัดมือบุตรหลำน ตลอดจนภำชนะสิ่งของเครื่องใช้ สอยและสัตว์พำหนะต่ำง ๆ พร้อมทั้งกล่ำวคำอวยชัยให้พรเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ทุก ๆ คน และทุกสิ่ง ในครอบครัว เดือน 12 ประเพณีลอยกระทง -ทอดผ้ำป่ำแถว ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ของทุกปี ประชำชนชำวอำเภอโกสัมพีนครมี ประเพณีลอยกระทง และถือเอำคืนวันเพ็ญเดียวกันนี้จัดประเพณี กำรทอดผ้ำป่ำแถว กันก่อนที่จะไปลอยกระทงด้วยประชำชนจะนำชะลอม (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นถัง- พลำสติกเป็นส่วนใหญ่)บรรจุสิ่งของต่ำง ๆเช่นกล้วย อ้อย ส้ม และผ้ำ 1ผืน ซึ่งเป็นสิ่งของที่ขำดไม่ได้ พอพลบค่ำจะนำเครื่องปัจจัยไทยทำนที่เตรียมไว้ไปยังวัดที่ตนเองตั้งใจไปทอดผ้ำป่ำ โดยนำไปวำง เรียงรำยไว้เป็นแถวและเขียนหมำยเลขติดไว้แล้วเอำกิ่งไม้ปักไว้ที่กองผ้ำป่ำให้เหมือนกับป่ำ เมื่อถึง เวลำอันสมควรจะจุดเทียนปักไว้ที่กองผ้ำป่ำ ส่วนพระสงฆ์ก็จะจับสลำก เมื่อได้หมำยเลขใดก็จะเดิน ไปหำกองผ้ำป่ำที่ตรงกับหมำยเลขที่จับสลำกได้แล้วพิจำรณำเครื่องปัจจัยไทยทำนนั้น เรียกว่ำ “ชัก ผ้ำป่ำ”เมื่อเสร็จจำกกำรทอดผ้ำป่ำแถวแล้ว ทุกคนจะมุ่งไปสู่ลำน้ำปิงเพื่อประกอบพิธีลอยกระทง
  • 26. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 26 ภำพที่ 5.31ลอยกระทงที่วัดเกำะตำแย ภำพที่ 5.32ลอยกระทงที่วัดเกำะ ตำแย ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ ที่มำ : นำงรุ่งภำณี ปิติยะ ประเพณีบุญบั้งไฟ หมู่ที่ 12 บ้ำนโนนสมบูรณ์ ตำบลโกสัมพี อำเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกำแพงเพชร วัฒนธรรมประเพณีที่สำคัญของชำวล้ำนนำ (ชำวเหนือ) ในอำเภอโกสัมพีนคร กลุ่ม ที่อพยพมำจำกจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดลำปำง ตำมลำน้ำปิงคือ กำรสืบชะตำ เป็นประเพณีที่ผูกพันกับ วิถีชีวิตของคนล้ำนนำอย่ำงแน่นแฟ้น สืบทอดมำตั้งแต่โบรำณกำล เพรำะมีควำมเชื่อมั่นว่ำพิธี สืบชะตำของบ้ำนเมือง โดยจะนิมนต์เจริญพระปริตรและสวดคำถำ “อุณหิสสะวิชะยะ คำถำ” นิยมทำในวันครบรอบอำยุ พิธีขึ้นบ้ำนใหม่ แต่งงำน เพื่อเป็นกำรต่ออำยุของตนเอง และญำติพี่ น้อง หรือชะตำเมืองให้อำยุยืนยำวสืบไป ให้เกิดควำมสุขควำมเจริญ เป็นกำรขจัดภัยอันตรำยต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นให้เกิดขวัญและกำลังใจในกำรดำรงชีวิตอยู่ในสังคม บทสรุปวัฒนธรรมด้ำนจิตใจด้ำนศำสนำ วันสำคัญและเทศกำรสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ เกิดจำกกระบวนกำรอันซับซ้อนทำงสังคมหรือกลุ่มชน เป็นเอกลักษณ์ของสังคมนั้น ๆ วัฒนธรรม ด้ำนจิตใจมีควำมสำคัญ ในฐำนะที่เป็นเครื่องสร้ำงระเบียบแก่สังคม ทำให้เกิดเอกภำพ เป็น เครื่องมือช่วยแก้ปัญหำและสนองควำมต้องกำรของมนุษย์ ช่วยให้ประเทศชำติเจริญก้ำวหน้ำ และเป็นเครื่องแสดงเอกลักษณ์ของชำติ ดังนั้น คนไทยทุกคนจะต้องช่วยกันรักษำคุณค่ำวัฒนธรรม ด้ำนจิตใจด้ำนศำสนำ วันสำคัญและเทศกำรสำคัญทำงพระพุทธศำสนำที่ดีนี้ไว้ ด้วยกำรเรียนรู้ วัฒนธรรมด้ำนจิตใจด้ำนศำสนำ วันสำคัญและเทศกำรสำคัญทำงพระพุทธศำสนำของท้องถิ่น เพื่อให้เกิดควำมเข้ำใจในคุณค่ำที่แท้จริงของวัฒนธรรมด้ำนจิตใจ มีทักษะ ทัศนคติ และพฤติกรรม ที่ดีงำม สำมำรถสร้ำงสรรค์และเลือกสรร นำวัฒนธรรมด้ำนจิตใจด้ำนศำสนำ วันสำคัญและเทศกำร สำคัญทำงพระพุทธศำสนำไปประยุกต์ใช้ในกำรดำเนินชีวิตได้อย่ำงเหมำะสม
  • 27. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 27 กิจกรรม เรื่อง วันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำในอำเภอโกสัมพีนคร มีจำนวน 3 ตอน (คะแนน 25 คะแนน) คาสั่ง ให้นักเรียนเติมคำตอบลงในช่องว่ำงให้ได้ใจควำมสมบูรณ์ (คะแนน 8 คะแนน) (ข้อละ 1 คะแนน) 1. ชำวอำเภอโกสัมพีนครส่วนใหญ่นับถือศำสนำใด 2. ศำสนำพุทธ มีหลักของศำสนำ คือ 3. ผู้ที่ประทำนชื่อวัด ภุมมำลำ ให้เป็นชื่อว่ำ วัด อมฤต คือ 4. ประเพณีใดของชำวอำเภอโกสัมพีนคร ที่ทำให้ลูกหลำนจะมีโอกำสแสดงมุทิตำจิตต่อญำติผู้ใหญ่ 5. ประเพณีบุญบั้งไฟในอำเภอโกสัมพีนครเป็นประเพณีที่ได้รับกำรสืบทอดมำของชนกลุ่มใด 6. ประเพณีตรุษไทย ตรงกับวัน ค่ำ เดือน 7. วัฒนธรรมประเพณีกำรสืบชะตำเป็นวัฒนธรรมประเพณีที่สำคัญของชำว กิจกรรม เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร คาชี้แจง ตอนที่ 1
  • 28. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 28 8. ผู้เฒ่ำผู้แก่ในครอบครัวจะใช้ด้ำยสีแดงและขำว ผูกคอหรือมัดมือบุตรหลำน ตลอดจนภำชนะ สิ่งของเครื่องใช้สอยและสัตว์พำหนะต่ำง ๆ ในวัน แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบมี 4 ตัวเลือกให้เลือกเพียงคำตอบที่ถูกต้อง เพียงคำตอบเดียว มีจำนวน 6 ข้อ คะแนน 6 คะแนน ใช้เวลำ 6 นำที คาสั่ง ให้นักเรียนทำเครื่องหมำย (X)ทับหน้ำคำตอบที่เห็นว่ำถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว (ข้อละ 1 คะแนน) 1. กำรทำแต่ควำมดี งดเว้นกำรทำชั่วและทำจิตใจให้ผ่องใส เป็นหลักคำสอนของศำสนำใด 1. ฮินดู 2. พุทธ 3. คริสต์ 4. อิสลำม 2. ที่ตั้งศูนย์ส่งเสริมวัฒนธรรมไทยสำยใยชุมชนในอำเภอโกสัมพีนครคือ 1. วัดอมฤต 2. วัดไร่ลำปำง 3. วัดเกำะตำแย 4. คลองเมือง 3. มีวัดจำนวนมำกในอำเภอโกสัมพีนคร ที่มีเนื้อที่มำกกว่ำ 10 ไร่เนื่องจำกมีคนบริจำคที่เพื่อสร้ำงวัด กำรที่ผู้คนในอดีตบริจำคที่ของตนเพื่อสร้ำงวัด แสดงให้เห็นถึงสิ่งใดชัดเจนที่สุด 1. คนในอดีตเป็นผู้มีจิตใจงำมและมีควำมพอเพียง 2. ควำมศรัทธำในศำสนำและควำมเสียสละเพื่อส่วนรวม 3. ควำมเป็นอยู่ของคนในอดีตมีควำมมั่งคั่งร่ำรวยกว่ำคนปัจจุบัน 4. ควำมเจริญรุ่งเรืองของพุทธศำสนำและควำมเป็นอยู่ของคนในอดีต แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร คาชี้แจง
  • 29. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 29 4. ประเพณีตรุษไทย ตรงกับข้อใด 1. วันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ 2. วันแรม ๘ ค่ำ เดือน ๕ 3. วันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ 4. วันแรม ๘ ค่ำ เดือน ๔ 5. นักเรียนคิดว่ำประเพณีใด ที่ไม่ใช่ประเพณีดั้งเดิมของชำวอำเภอโกสัมพีนคร 1. ทอดกฐิน – ลอยกระทง 2. ลอยกระทง – เทศมหำชำติ 3. บุญบั้งไฟ – กำรแข่งเรือยำว 4. เทศมหำชำติ – ตักบำตรเทโว 6. ข้อใดไม่มีควำมสัมพันธ์กัน 1. ศำสนำคริสต์ –กำรชำระบำป 2. ศำสนำพุทธ – กำรชำระบำป 3. ศำสนำพุทธ – กำรทำบุญตักบำตร 4. ศำสนำคริสต์ – กำรเคำรพรักในพระเจ้ำ
  • 30. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 30 บรรณานุกรม กรมส่งเสริมกำรเกษตร. แผนพัฒนาการเกษตรระดับตาบล ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี การเกษตร ประจาตาบลเพชรชมภู จ.กาแพงเพชร. 2555. (อัดสำเนำ) กรมส่งเสริมกำรเกษตร. แผนพัฒนาการเกษตรระดับตาบล ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี การเกษตร ประจาตาบลลานดอกไม้ตก จ.กาแพงเพชร. 2555. (อัดสำเนำ) กลุ่มโรงเรียนมัธยมศึกษำจังหวัดกำแพงเพชร. เอกสารประกอบการสอนวิชาสังคมศึกษา รหัสวิชา ส 071 ท้องถิ่นของเรา จังหวัดกาแพงเพชร. 2535. (อัดสำเนำ) คณะกรรมกำรฝ่ำยประมวลเอกสำรและจดหมำยเหตุ. (2544). หนังสือวัฒนธรรม พัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และ ภูมิ ปัญญา จังหวัดกาแพงเพชร. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภำลำดพร้ำว. โชติรสำ บุญโท. เจ้ำหน้ำที่วิเครำะห์นโยบำยและแผน. (2555). แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. 2558 – 2560) [แผ่นซีดี]. กำแพงเพชร : องค์กำรบริหำรส่วนตำบลลำนดอกไม้ตก. ธวัช ทันโตภำส และคณะ. (ม.ป.ป.). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม ม. 4-6 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วัฒนำพำนิช. ไพศำล เรียนทัพ. เอกสารประกอบการเรียน ส 071ท้องถิ่นของเรา 1 ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น . ม.ป.ป. (อัดสำเนำ) ศูนย์กำรศึกษำพระบำลี สมเด็จพระรำชมังคลำจำรย์. (2556). ประวัติวัดสังฆานุภาพ ตาบลโกสัมพี อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร. กรุงเทพฯ : เอกพิมพ์ไท. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ที่ 8 บ้ำนอมฤต ตำบลลำนดอกไม้ตก. (2554). [แผ่นพับ]. ม.ป.ท. สถำบันพัฒนำคุณภำพวิชำกำร (พว.). (2550). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พิ้นฐาน : ภูมิศาสตร์ : เศรษฐศาสตร์ : หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม กลุ่มสาระการ เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาละวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : พัฒนำคุณภำพวิชำกำร (พว.). สถำบันพัฒนำคุณภำพวิชำกำร (พว.). (2550). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน หน้าที่พลเมือง
  • 31. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 31 วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม ม.6. กรุงเทพฯ : พัฒนำคุณภำพวิชำกำร (พว.). สมนึก อภัยรำช. (ม.ป.ป.). แผนที่ปฏิบัติการ วิชาเพิ่มเติม (วิชาเลือก) ระดับชั้นมัธยมศึกษา 1-3 ท้องถิ่นศึกษา (จังหวัดกาแพงเพชร). พิมพ์ครั้งที่ 3. กำแพงเพชร : ศรีสวัสดิ์กำรพิมพ์. สำนักงำนโบรำณคดีและพิพิธภัณฑ์สถำนแห่งชำติ กรมศิลปำกรม กระทรวงศึกษำธิกำร. (2540). พิพิธภัณสถานแห่งชาติ กาแพงเพชร. กรุงเทพฯ : รุ่งศิลป์กำรพิมพ์. 1994. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลโกสัมพี จังหวัดกำแพงเพชร. แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. 2555–2557). 2555. (อัดสำเนำ) องค์กำรบริหำรส่วนตำบลโกสัมพี จังหวัดกำแพงเพชร. (2553). รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจาปี 2553. กำแพงเพชร : ปริญญำกำรพิมพ์. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลเพชรชมพู จังหวัดกำแพงเพชร. รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจาปี 2555. 2555. (อัดสำเนำ) เอกรินทร์ สี่มหำศำล และปรีชำ นุ่นสุข. (2537). คู่มือการเรียนการสอน สังคมศึกษา รายวิชา ส 071 ท้องถิ่นของเรา 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533). พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์ อจท. พระเยซู ศำสดำของศำสนำคริสต์ [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก www.ptcs.ac.th (สืบค้นข้อมูลวันที่ 10 ตุลำคม 2558) พิธีละหมำดในศำสนำอิสลำม [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก http://goo.gl/307Z7Q (สืบค้นข้อมูลวันที่ 10 ตุลำคม 2558) พิธีสำรภำพบำปในคริสต์ศำสนำ [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก https://www.google.co.Closing Catholic Mass for the 2014 Academic Year» (สืบค้นข้อมูลวันที่ 10 ตุลำคม 2558)
  • 32. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 32 ภาคผนวก - เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - เฉลยกิจกรรม เรื่อง วันสำคัญและเทศกำลสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ ตอนที่ 1 - เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน - กระดำษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน - แบบบันทึกคะแนน
  • 33. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 33 ข้อ คาตอบ 1 2 2 2 3 3 4 1 5 2 6 3 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง วันสาคัญและเทศกาลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในอาเภอโกสัมพีนคร