SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 1
แบบทดสอบเป็ นแบบเลือกตอบมี 4
ตัวเลือกให้เลือกเพียงคาตอบที่ถูกต้อง
เพียงคาตอบเดียว มีจานวน 10 ข้อ คะแนน 10 คะแนน
ใช้เวลา 10 นาที
คาสั่ง ให้นักเรียนทาเครื่อง ( X )
ทับหน้าคาตอบที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
1. N 70 เป็ นส่วนผสมของการทาสิ่งใด
1. การทากล้วยฉาบ
2. การทาน้ายาล้างจาน
3. การทากระทงจากเปลือกข้าวโพด
4. การทากระถางดอกไม้จากเศษไม้
2. ภูมิปัญญาในข้อใดที่แตกต่างจากข้ออื่น
1. การทากระยาสารท
2. การตัดเย็บชุดชั้นใน
3. การทาดอกไม้จันทน์
4. การทาดอกไม้จากผ้าใยบัว
3. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรมคือข้อใด
1. การเพาะเห็ด
2. การทากล้วยฉาบ
3. การนวดแผนไทย
4. การทาดอกไม้ประดิษฐ ์
4. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านโภชนาการ คือข้อใด
1. การเพาะเห็ด
2. การเปลจากเศษผ้า
3. การทากระยาสารท
4. การทาดอกไม้ประดิษฐ ์
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
คาชี้แ
จง
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 2
5. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านเกษตรกรรม คือข้อใด
1. การเพาะเห็ด
2. การทากล้วยฉาบ
3. การทาโต๊ะไม้สัก
4. การทาดอกไม้ประดิษฐ ์
6. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการแพทย์แผนไทย คือข้อใด
1. การทากล้วยฉาบ
2. การนวดแผนไทย
3. การทาดอกไม้จันทร ์
4. การทากระถางดอกไม้จากเศษไม้
7. บ้านเกาะพิมูลพัฒนา มีผลิตภัณฑ์ใดที่ขึ้นชื่อ
1. ชุดชั้นใน
2. เตาไร ้ควัน
3. กระยาสารท
4. เฟอร ์นิเจอร ์ไม้สัก
8. นักเรียนคิดว่าอาชีพใดที่น่าจะมีการลงทุนต่าสุด
1. การนวดแผนไทย
2. การทากระยาสารท
3. การเพาะเห็ดนางฟ้ า
4. การทาดอกไม้จันทน์
9. ที่บ้านลานดอกไม้ตกมีผลิตภัณฑ์ใดที่ขึ้นชื่อ
1. น้ายาล้างจาน
2. การเพาะเห็ดนางฟ้ า
3. การทากระทงจากเปลือกข้าวโพด
4. การทากระถางดอกไม้จากเศษไม้
10. ข้อใดไม่ใช่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวโกสัมพีนคร
1. การทากล้วยฉาบ
2. การทากุนเชียงปลา
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 3
3. การทากระยาสารท
4. การทาดอกไม้จันทน์
ภ ูม ิป ัญ ญ า เ ป ็ น อ ง ค ์ค ว า ม รู ้ที ่ม ีก า ร พ ัฒ น า
แ ล ะ ถ ่า ย ท อ ด ส ืบ ต ่อ ก ัน ม า อ ย ่า ง ส ม ด ุล ก ับ ส ภ า พ - แ ว ด ล ้อ ม
และเหมาะสมกับยุคสมัย จะมีลักษณะแตกต่างกันไปตามภูมิภาคต่าง ๆ
ภูมิปัญญาไม่ว่าจะด้านใดหรือระดับใดย่อมมีคุณค่าและความสาคัญต่อก
า ร ด า เ น ิน ช ีว ิต ด ัง นั ้น จ ึง ค ว ร ศ ึก ษ า ถ ึง ภ ูม ิ-
ปั ญ ญ า อั น เ ป็ น ค ว า ม รู้ที่ ถู ก ถ่ า ย ท อ ด เ พื่ อ อ นุ รั ก ษ์
และปรับใช ้ให้ถูกต้องเหมาะสม
ผลการเรียนรู ้
บอกความหมาย
ความสาคัญและยกตัวอย่างภูมิปัญญาท้องถิ่นของอาเภอโกสัมพีนครได้
จุดประสงค์การเรียนรู ้
1. บอกความหมายและความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นได้
2. ยกตัวอย่างภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านต่าง ๆ
ของอาเภอโกสัมพีนครได้
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สาระสา
คัญ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 4
ภู มิ ปั ญ ญ า ท้อ ง ถิ่ น ห รือ ภู มิ ปั ญ ญ า ช า ว บ้า น คื อ
ภูมิปัญญาที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู ้ด้วยตนเองหรือได้รับการถ่ายทอดต่อ ๆ
กันมาจากบรรพบุ รุษ ซึ่งเป็ นภู มิปั ญญาเฉพาะท้องถิ่นนั้ น ๆ
ได้คิดค้นขึ้นมาสาหรับใช ้แก ้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นได ้แก่
ภูมิปัญญาที่เกิดขึ้นที่ภาคเหนือ ภาคใต ้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
และภาคกลาง ภูมิปัญญาเหล่านี้ถือเป็ นภูมิปัญญาชาวบ้าน
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาจเป็ นที่มาขององค์ความรู ้ที่งอกงามขึ้นใหม่
ที ่จ ะ ช ่ว ย ใ น ก า ร เ ร ีย น รู ้ ก า ร แ ก ้ป ัญ ห า ก า ร จ ัด ก า ร
และการปรับตัวในการดาเนินวิถีชีวิตของคนไทย ลักษณะองค์รวมของ
ภูมิปัญญามีความเด่นชัด สามารถแบ่งออกได้เป็ น 9 ด้าน คือ
ด้า น เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ด้า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ หั ต ถ ก ร ร ม
ด้ า น ก า ร แ พ ท ย์ แ ผ น ไ ท ย
ด้า น ก า ร จั ด ก า ร ท รัพ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้อ ม
ด้านกองทุนและธุรกิจชุมชน ด้านภาษาและวรรณกรรม ด้านปรัชญา
ศาสนา และประเพณี ด้านโภชนาการ และด้านศิลปกรรม
ภู มิ ปั ญ ญ า ไ ด้ ช่ ว ย ส ร ้า ง ช า ติ ใ ห้ เ ป็ น ปึ ก แ ผ่ น
ส ร ้ า ง ศั ก ดิ์ ศ รี แ ล ะ เ กี ย ร ติ ภู มิ แ ก่ ค น ใ น ช า ติ
ทาให้บรรพชนของเราได้ดารงชีวิตอยู่บนแผ่นดินนี้มาอย่างสงบสุขเป็ นเว
ล า ย า ว น า น แ ม้ ว่ า ภู มิ ปั ญ ญ า ส่ ว น ห นึ่ ง จ ะ สู ญ ห า ย ไ ป
แต่ยังมีบางส่วนหลงเหลือเป็ นมรดกล้าค่าอยู่คู่กับชาวอาเภอโกสัมพีนครมา
โดยตลอดในที่นี้ขอกล่าวถึงภูมิปัญญาในอาเภอโกสัมพีนคร ซึ่งมีดังนี้
ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 5
1. ด้ า น เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ห ม า ย ถึ ง
ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ผ ส ม ผ ส า น อ ง ค์ ค ว า ม รู้
ทั ก ษ ะ แ ล ะ เ ท ค นิ ค ด้ า น เ ก ษ ต ร ก ร ร ม กั บ เ ท ค โ น โ ล ยี
โ ด ย ก า ร พั ฒ น า บ น พื้ น ฐ า น คุ ณ ค่ า ดั้ ง เ ดิ ม
ซึ่งคนสามารถพึ่งพาตนเองได้ในสภาวการณ์ต่าง ๆ ได้แก่
กลุ่มเพาะเห็ดนางฟ
้ า
ตาบลเพชรชมภู อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร
มีกลุ่มแม่บ้านเกาะรากเสียดใน โดยนางประสพพร จงสว ัสดิ ์
ได้รวบรวมผู้ที่สนใจประกอบอาชีพเพาะเห็ดนางฟ้ าทาการร่วมหุ้นเพาะเ
ห็ดนางฟ้ าในหมู่บ้านเกาะรากเสียดในตาบลเพชรชมภูอาเภอโกสัมพีนค
ร จังหวัดกาแพงเพชรเพื่อแก้ปัญหาคนว่างงาน เริ่มแรกปี พ.ศ. 2542
มีสมาชิกตาบลเพชรชมภูสนใจนาเงินมาร่วมหุ้น จานวน 7 คน
ขั้ น ต อ น ก า ร เ พ า ะ เ ห็ ด น า ง ฟ้ า
ช่วงระยะแรกใช ้ขี้เลื่อยไม้ยูคาลิปตัสเพาะเชื้อเห็ดทาให้เกิดปัญหาเส้นใยเ
ดิ น ช ้ า ไ ด้ ผ ล ผ ลิ ต ต่ า
ต่อมาจึงเปลี่ยนมาใช ้ขี้เลื่อยจากไม้ยางพาราปรากฏว่าได้ผลดีขึ้นจึงสั่งซื้
อขี้เลื่อยไม้ยางพาราจากจังหวัดสุราษฏร ์ธานีทาให้ผลผลิตดีมีกาไรมีเงิน
ปั น ผ ล หุ้น ส่ ว น ม า ก ขึ้น ปั จ จุ บั น น า ง ป ร ะ ส พ พ ร จ ง ส วั ส ดิ์
ได้มอบการจัดการด้านการเพาะเห็ดนางฟ้ าให้กับ นางอณุรัตน์ บัวพรม
เ ป็ น ผู้ ดู แ ล ก า ร เ พ า ะ เ ห็ ด น า ง ฟ้ า
โ ด ย มี ผู้ ซื้ อ ม า ซื้ อ ที่ ส ถ า น ที่ เ พ า ะ เ ห็ ด เ ป็ น ป ร ะ จ า
ซื้อก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้ าครั้งละ 500 – 1,000 ก้อน ราคาก้อนละ 8 บาท
ถ ้านาไปขายตาม งานแสดงส ินค ้าของกลุ่มองค ์กร สตร ีของ
แต่ละอาเภอในจังหวัดกาแพงเพชรขายราคาก้อนละ 10 บาท
ส า ห รั บ ด อ ก เ ห็ ด ข า ย กิ โ ล ก รั ม ล ะ 60 บ า ท
เฉลี่ยแล้วสมาชิกมีรายได้ประมาณเดือนละ 10,000 - 15,000 บาท
ขั้นตอนการเพาะเห็ดนางฟ้ า
1. อัดก้อนขี้เลื่อยไม้ยางโดยการใช ้เครื่องบรรจุก้อนขี้เลื่อย
2. นาขี้เลื่อยไม้ยางที่อัดก้อนแล้วไปนึ่งฆ่าเชื้อประมาณ 5
ชั่วโมง เมื่อนึ่งเสร็จแล้วนาเข้าห้องหยอดน้าเชื้อประมาณ 1 เดือน
เพื่อให้ได้ก้อนเชื้อที่เลี้ยงให้เต็มก้อนพร ้อมจะออกดอก
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 6
3.
นาก้อนเชื้อที่พร ้อมจะออกดอกเปิดเพื่อให้เห็ดนางฟ้ าออกดอก ประมาณ 1
สัปดาห์ จึงเก็บดอกเห็ดนางฟ้ าได้ก้อนเชื้อเห็ดจะออกดอกได้ประมาณ 5
– 6 เดือน ขึ้นอยู่กับการดูแลของคนเพาะเห็ด
ภาพที่ 6.1
การบรรจุก้อนขี้เลื่อยไม้ยางพาราเพื่อเพาะเห็ดนางฟ้ า
ของนางอณุรัตน์ บัวพรม
ที่มา: นางรุ่งภาณี ปิติยะ
ภาพที่ 6.2 เห็ดนางฟ้ า
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
2. ด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรม หมายถึง
การรู้จักประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการแปรรูปผลผลิต
เ พื่ อ ก า ร บ ริโ ภ ค อ ย่ า ง ป ล อ ด ภัย ป ร ะ ห ยัด แ ล ะ เ ป็ น ธ ร ร ม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 7
อันเป็ นกระบวนการให้ชุมชนในท้องถิ่นสามารถพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจไ
ด้ ตลอดจนทั้งการผลิตและการจาหน่ายผลผลิตทางหัตถกรรม ได้แก่
2.1 ผลิตภัณฑ์เฟอร ์นิเจอร ์ไม้สัก
ช า ว บ ้า น ว ัง ใ ห ม ่ ห มู ่ที ่ 19ต า บ ล โ ก ส ัม พ ี
อา เ ภ อโ กส ัม พ ีนค ร จ ัง ห ว ัด กา แพ ง เพ ชร เป็ นช ุมชนที่ผลิต
ผลิตภ ัณฑ ์ประเภทเฟอร ์นิเจอร ์ไม ้ส ักส่งออกเป็ นจานวนมาก
ผลิตภัณฑ์ประเภทเฟอร ์นิเจอร ์ร ้านสุทินเฟอร ์นิเจอร ์เลขที่ 39 หมู่ที่ 19
ต า บ ล โ ก ส ัม พ ี อ า เ ภ อ โ ก ส ัม พ ีน ค ร จ ัง ห ว ัด ก า แพ ง เพ ชร
ได้รับการคัดสรรให้เป็ นผลิตภัณฑ์ระดับ 2ดาวประจาปี พ.ศ. 2547
ตามโครงการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย พ.ศ. 2547
ภาพที่ 6.3 เฟอร ์นิเจอร ์ไม้สักร ้านสุทินเฟอร ์นิเจอร ์หมู่ที่ 19
บ้านวังใหม่
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
ภาพที่ 6.4 เฟอร ์นิเจอร ์ไม้สักร ้านสุทินเฟอร ์นิเจอร ์หมู่ที่ 19
บ้านวังใหม่
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 8
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
2.2 กลุ่มแกะสลักไม้บ้านวังใหม่
กลุ่มแกะสลักไม้บ้านวังใหม่ ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 90/1
บ้านวังใหม่ หมู่ที่ 19 ตาบลโกสัมพี อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร
ประธานกลุ่มชื่อ นางภัทรภรธีระธาดา ผลิตกระถางและกระเช ้ากล้วยไม้
ที่ทามาจากการนาเศษไม้ที่เหลือใช ้มาดัดแปลงเป็ นกระถางและกระเช ้าก
ล้วยไม้เนื่องจากชาวบ้านวังใหม่ ตาบลโกสัมพี อาเภอโกสัมพีนคร
จ ัง ห ว ัด ก า แ พ ง เ พ ช ร
เป็ น ช ุม ช น ที่ผ ล ิต เ ค รื่อ ง เฟอร ์นิ เจอร ์ส่งออกเป็ นจานวนมาก
นอกจากนั้นยังรับแกะสลักไม้เช่นป้ ายร ้านค้าป้ ายชื่อติดหน้าบ้านและแกะ
สลักตู้โบราณ ซึ่งสามารถประกอบเป็ นอาชีพหลักและอาชีพเสริมได้
ภาพที่ 6.5 กระถางและกระเช้าใส่กล้วยไม้
กลุ่มแกะสลักไม้บ้านวังใหม่
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
2.3 กลุ่มผลิตภัณฑ์ตัดเย็บชุดชั้นใน
บ้านคลองแตงโม
บ้านเลขที่5หมู่ที่20 ตาบลโกสัมพี อาเภอโกสัมพีนคร
จังหวัดกาแพงเพชรมีกลุ่มตัดเย็บประเภทชุดชั้นใน โดยนางระเบียบ
บุ ญ แ ม ะ เ ป็ น ป ร ะ ธ า น ก ลุ่ ม ตั ด เ ย็ บ ชุ ด ชั้น ใ น พ . ศ . 2535
ป้ า ร ะ เ บี ย บ เ ริ่ ม ตั ด เ ย็ บ ชุ ด ชั้ น ใ น
โดยการคิดแบบขึ้นเองและได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบให้ทันสมัยอยู่เสมอ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 9
แ ล ะ เ ป็ น ก า ร ช่ ว ย ใ ห้ค น ใ น ชุ ม ช น อ า เ ภ อ โ ก สั ม พี น ค ร
จังหวัดกาแพงเพชรมีอาชีพและมีรายได้ด้วยการรับผ้าที่ป้ าระเบียบออกแ
บบและตัดไปเย็บที่บ้านตนเองแล้วนามาส่งป้ าระเบียบ พ.ศ. 2547
ไ ด้ รั บ ก า ร คั ด ส ร ร ใ ห้ เ ป็ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ร ะ ดั บ 4 ด า ว
ตามโครงการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย พ.ศ. 2547
ทิศทางแนวโน้มการตลาด สินค้าหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์บางประเภท
เ ช่ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ด ชั้ น ใ น
มีการส่งออกไปจาหน่ายยังต่างประเทศและกระจายการจาหน่ายไปสู่ภาค
อื่น ๆ ทั่วประเทศ
ภาพที่ 6.6 กลุ่มตัดเย็บชุดชั้นบ้านคลองแตงโม
ที่บ้านป้ าระเบียบ
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 10
ภาพที่ 6.7 กลุ่มตัดเย็บชุดชั้นในป้ าระเบียบ ที่บ้านนางเล็ก
มณีสุข
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
2.4 การทาเปลจากเศษผ้า
สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุ ษย์
จังหวัดกาแพงเพชร ให้ความรู้แก่กลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร
จั ง ห วั ด ก า แ พ ง เ พ ช ร
โดยมีเจ้าหน้าที่มาให้ความรู ้เกี่ยวกับการทาเปลจากเศษผ้าเมื่อสมาชิกกลุ่
มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนครสามารถทาเปลจากเศษผ้าได้แล้วจึงเ
ป็ นวิทยากรสอนการทาเปลจากเศษผ้าขยายเครือข่ายแก่ชาวบ้านหมู่บ้า
น ห น อ ง บ ง ห มู่ ที่ 21ต า บ ล โ ก สั ม พี อ า เ ภ อ โ ก สั ม พี น ค ร
จังหวัดกาแพงเพชรและชาวบ้านบ้านท่าคูณ หมู่ที่ 1ตาบลโกสัมพี
อ า เ ภ อ โ ก สั ม พี น ค ร
จังหวัดกาแพงเพชรการเป็ นวิทยากรได้ค่าตอบแทนวันละ 1,000 บาท
การจาหน่ายเปล จาหน่ายทั้งส่งและปลีก ขายส่งราคาผืนละ 80 บาท
ข า ย ป ลีก ร า ค า ผืน ล ะ 100 บ า ท ข า ย ที่ห มู่ บ้า น ข อ ง ต น เ อ ง
ห มู ่บ ้า น ใ ก ล ้เ ค ีย ง แ ล ะ ง า น จ ัง ห ว ัด ส ัญ จ ร
บางครั้งมีคนมาซื้อเพื่อนาไปขายบริเวณข้างถนนพหลโยธิน
วัสดุอุปกรณ์
- เศษผ้า ถักเปล จานวน 1 ผืนใช้เศษผ้า 1 กิโลกรัม
ราคากิโลกรัมละ 50 บาท
วิธีทา
1. ขึ้นหูเปลโดยวิธีใช ้เศษผ้าจานวน 14 เส้น
พันให้เป็ นวงกลมใช ้สาหรับมัดเพื่อ
แขวนเปลทั้งสองข้างและปล่อยผ้าจากหูเปลยาวประมาณ 0.5 เมตร
2.
ถักเศษผ้าต่อจากผ้าที่ปล่อยไว้โดยวิธีเหมือนกับการเย็บแหเป็ นตารางยา
ว 16 หรือ 17 ตารางได้เปล 1ผืนใช้เวลา 1 วัน
สามารถถักเปลได้จานวน 3-4 ผืน
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 11
ภาพที่ 6.8 เปลจากเศษผ้า
กลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนครจังหวัดกาแพงเพชร
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
ภาพที่ 6.9 เปลจากเศษผ้ากลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร
จังหวัดกาแพงเพชร
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
2.5 กลุ่มสานกระเป๋ าและตระกร้าด้วยเส้นพลาสติก
เนื่ องด้วยกลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร
( เ ดิม คือ ก ลุ่ ม แ ม่ บ้า น ม ะ เ ดื่อ ชุม พ ร ห มู่ ที่ 4 ต า บ ล โ ก สัม พี
อ า เ ภ อ โ ก สั ม พี น ค ร จั ง ห วั ด ก า แ พ ง เ พ ช ร )
ได้รับการฝึ กสอนการสานตระกร ้าและกระเป๋ าจากเส้นพลาสติก
ผู้ฝึกสอนคือเจ้าหน้าที่ของสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุ
ษ ย์ จัง ห วัด ก า แ พ ง เ พ ช ร ก ร ม แ ร ง ง า น เ มื่ อ ปี พ . ศ . 2555
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 12
โดยกลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร
เป็ นผู้เขียนโครงการฝึกอาชีพกลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร
จ ัง ห ว ัด กาแพงเพชร เพื่อขอวัสดุอุปกรณ์ และครูผู้ฝึ กส อน
เ พื่ อ ส อ น ท า ก ร ะ เ ป๋ า แ ล ะ ต ร ะ ก ร ้า จ า ก เ ส้ น พ ล า ส ติ ก
ประธานกลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร คือนางสุวภัทร ์
พั น ธ์ ส ม พ ง ษ์ แ ล ะ ส ม า ชิ ก ก ลุ่ ม จ า น ว น 20 ค น
จึงฝึกหัดจนสามารถสานตระกร ้าและกระเป๋ าจากเส ้นพลาสติกได ้
และจาหน่ายโดยนาไปจาหน่ายเวลาไปร่วมประชุมที่จังหวัดหรือไปประชุม
ต่างจังหวัด และจาหน่ายทั่วไปในชุมชนใบใหญ่ราคาใบละ 250 บาท
ใบ เล็ กใบ ล ะ 100 บ า ท ได้กา ไรใบ ล ะ 65 บ า ท เว ล า 1 วัน
สามารถสานตระกร ้าได้จานวน 2 ใบ
วัสดุอุปกรณ์
- เส้นพลาสติก
วิธีทา
1. ขึ้นก้นตระกร ้าโดยนับเส้นตามขวาง จานวน 7 เส้น
และ ตามยาว จานวน 17 เส้น แล้วสานตาสะก๊อตสี่เหลี่ยมขึ้น 16 เส้น
2. สายขึ้นข้างตระกร ้าโดยพับจับให้เป็ นก้นตะกร ้า
และพับขึ้นให้เป็ นข้างตะกร ้าอีก 16 เส้น
3. ทาขอบโดยใช ้เส้นพลาสติกใส่เป็ นขอบเพิ่มอีก 2 เส้น
4. ทาหูตะกร ้าโดยวิธีสานเปีย 4
ข้างนอกแล้วนามาสอดเข้ากับตัวตะกร ้าเพื่อสาหรับเป็ นหูนาสายยางระดั
บน้ามาใส่สวมหูตะกร ้าความยาวตามความพอใจ
5. ทาลูกตะกร ้อและหูเพื่อสาหรับปิดตะกร ้า
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 13
ภาพที่ 6.10 ประธานกลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร
จังหวัดกาแพงเพชร
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
ภาพที่ 6.11
การสานกระเป๋ าและตระกร ้าจากเส้นพลาสติกของกลุ่มองค์กรสตรี
ของอาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
ภาพที่ 6.12
กลุ่มสานกระเป๋ าและสานตระกร ้าด้วยเส้นพลาสติก
หมู่ที่ 21 บ้านหนองบง
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 14
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
2.6 การทาดอกไม้จันทน์
ก ลุ่ ม อ ง ค์ก ร ส ต รี ข อ ง อ า เ ภ อ โ ก สั ม พี น ค ร
จัง ห วัด ก า แ พ ง เ พ ช ร ซึ่ง เ ดิม คือ ก ลุ่ ม แ ม่ บ้า น ม ะ เ ดื่อ ชุม พ ร
ประธานกลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร คือ นางสุวภัทร ์
พัน ธ์ส ม พ ง ษ์ อ ยู่ บ้า น เ ล ข ที่ 246 ห มู่ ที่ 4 ต า บ ล โ ก สัม พี
อ า เ ภ อ โ ก สั ม พี น ค ร จั ง ห วั ด ก า แ พ ง เ พ ช ร
ได้ร่วมกับสมาชิกของกลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร
ทาดอกไม้จันทน์ขายเพื่อเป็ นอาชีพเสริมหารายได้ ดอกไม้จันทน์ จานวน
100 ดอก ขายราคา 150 บาท ดอกไม ้จันทน์ จานวน 1,000 ดอก
ใช ้เวลาทา 5 วัน ใช ้ต้นทุน จานวน 340 บาท ขายได้ จานวน 1,500
บ า ท ข า ย ส่ ง ที่ ร ้ า น จั ด ด อ ก ไ ม้ ส ด ต ล า ด วั ง เ จ้ า
และขายตามการสั่งซื้อของเจ้าภาพที่จัดงานศพในหมู่บ้านและหมู่บ้านใก
ล้เคียง
วัสดุอุปกรณ์
1. กระดาษที่อัดกลีบแล้ว ถุงละ 1 กิโลกรัม ราคา 270
บาท ทาดอกไม้จันทน์ได้จานวน 1,000 ดอก
2. กระดาษ A 4 ที่ใช ้แล้ว
3. ไม้จิ้มฟัน กล่องละ 10 บาท
4. ผ้าเทปพันสายไฟสีดา ราคาม้วนละ 5 บาท
5. เทียนไข ขนาดเล็ก ราคาห่อละ 7 บาท
6. ธูป ราคาห่อละ 35 บาท
7. ถุงพลาสติกใส
วิธีทาดอกไม้จันทน์
1. ตัดกระดาษ A 4 ที่ใช ้แล้วกว้างประมาณ 2 ซม.
นาไปพันไม้จิ้มฟันโดยพับเป็ นเหลี่ยมซ ้ายทับขวาสลับไปมาจนไม้จิ้มฟันเ
ป็ นแท่งสี่เหลี่ยมผืนผ้าจึงทาด้วยกาวลาเท็กซ ์
2. นาเทียนไขขนาดเล็กมาตัดขนาด 2 เซนติเมตร
และนาธูปมาตัดเป็ นขนาด 2
เซนติเมตร
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 15
3.
นาธูปและเทียนที่ตัดแล้วไปติดที่ปลายก้านไม้จิ้มฟันที่พันด้วยกระดาษ A
4 เป็ น
แท่งสี่เหลี่ยมพื้นผ้า
4. ตัดกระดาษ A 4 ที่ใช ้แล้วเป็ นฝอย ๆ ยาวประมาณ
1.5 นิ้ว พับครึ่งกระดาษฝอย นามารวมกันเพื่อทาเกสร
ขนาดตามความเหมาะสมและนามามัดติดกับปลายก้านไม้จิ้มฟันที่พันด้ว
ยกระดาษ A 4 เป็ นสี่เหลี่ยมพื้นผ้าไว้แล้วและมัดด้วยด้ายเย็บผ้า
5. นากระดาษอัดกลีบสีหลากสีตามต้องการ จานวน 4
กลีบ มาจับกลีบเพื่อทาดอกรอบเกสรและมัดด้วยด้ายเย็บผ้า
6. นามาบรรจุใส่ถุงพลาสติกเพื่อจาหน่าย
ภาพที่ 6.13
การทาดอกไม้จันทน์กลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร
จังหวัดกาแพงเพชร
ที่มา :นางรุ่งภาณี ปิติยะ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 16
ภาพที่ 6.14 การทาดอกไม้จันทน์
กลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร
จังหวัดกาแพงเพชร
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
ภาพที่ 6.15 การทาดอกไม้จันทน์
กลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร
จังหวัดกาแพงเพชร
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
2.7 กลุ่มทากระทงจากเปลือกข้าวโพด
กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร บ้านเกาะพิมูล สถานที่ตั้ง 52/2 หมู่ที่
3 ตาบลลานดอกไม้ตก อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร
ป ร ะ ธ า น ก ลุ ่ม น า ง ส น อ ง พุ ่ม น ้อ ย ก ่อ ตั ้ง ม า 5 ปีแ ล ้ว
ร า ย ไ ด ้ต่ อ ปี ร ว ม ทั้ ง ห มู่ บ้ า น 5,000,000 บ า ท
ต่ อ ปี ตั้ ง ต้ น เ ริ่ ม จ า ก ก า ร ก ว น ก ร ะ ย า ส า ร ท
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 17
แล้วหารายได้เพิ่มจากการทากระทงจากเปลือกข ้าวโพดเลี้ยงสัตว ์
ปลูกกันเองในไร่ในนาของตัวเอง และมีคนนามาขาย กิโลกรัมละ 50
บ า ท ส่ ว น ด อ ก ห ญ้ า ต้ อ ง ไ ป เ ก็ บ ต า ม ทุ่ ง น า
แต่ส่วนมากจะมีในฤดูฝนบางครั้งซื้อจากคนที่เก็บมาขายด้วย
ก า บ ม ะ พ ร ้ า ว มี ค น ป า ด ข า ย ลู ก ล ะ 5
บาทรูปแบบกระทงมีแนวคิดมาจากใบตอง อย่างเช่นรูปพระยานาค
น ก ยู ง แ ล ะ คิ ด รู ป แ บ บ ใ ห ม่ ๆ
อ ยู่ เ ส ม อ ต ล า ด ข า ย ก ร ะ ท ง คื อ ต ล า ด ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย
ตลาดหลักคือตลาดไทและลูกค้าส่วนใหญ่จะนาไปขายตามวัดปัจจุบันเริ่
ม ต ิด ต ่อ ส ่ง ข า ย อ อ ก น อ ก ป ร ะ เ ท ศ เ ช่น ข า ย ที่ป ร ะ เ ท ศ ล า ว
และรับเป็ นวิทยากรสอนทากระทงด้วย
วิธีทากระทงจากเปลือกข้าวโพด
1. นาเปลือกข้าวโพดตากให้แห้ง
2. นาเปลือกข้าวโพดที่แห้งแล้วมาย้อมสี ใช่สีเคมี
3.
นาเปลือกข้าวโพดที่ย้อมสีแล้วมาตากเพื่อให้สีที่ย้อมแห้ง
4.
นาเปลือกข้าวโพดที่ย้อมสีแห้งแล้วมาตัดเป็ นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
5. นาน้ามาฉีดเรื่อย ๆ
เพื่อให้เปลือกข้าวโพดที่ตัดเป็ นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแล้วไม่แห้งขณะจับเป็ น
กลีบโดยใช ้ที่เย็บกระดาษเย็บให้เป็ นกลีบตามต้องการ
6.
นากลีบที่ได้มาเข้ารูปเพื่อให้สวยงามและนามาสลับสีเป็ นลายต่าง ๆ
7.
นากาบมะพร ้าวที่เตรียมไว้มาเข้ารูปกระทงโดยใช ้ตะปูขั้นตอนสุดท้ายนา
ดอกหญ้าที่ย้อมเป็ นสีต่าง ๆ มาตกแต่ง
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 18
ภาพที่ 6.16 กระทงจากเปลือกข้าวโพด
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
2.8 การทาดอกไม้จากผ้าใยบัว
การทาดอกไม้จากผ้าใยบัวเริ่มแรกเกิดจากความดิดของนาง
สุ ว ภั ท ร ์
พันธ์สมพงษ์ซึ่งมีความคิดว่าการมอบดอกไม้เพื่อแสดงความยินดีในโอกา
ส ต่ า ง ๆ
ถ้ามอบดอกไม้ที่เป็ นดอกไม้สดเมื่อเวลาผ่านไปนานดอกไม้ก็เหี่ยวแห้งแล
ะ ทิ ้ง ใ น ที ่ส ุด
จึงเกิดความคิดจะประดิษฐ ์ดอกไม้แห้งเพื่อมอบเป็ นของขวัญในโอกาสต่
า ง ๆ
โดยเริ่มไปศึกษาเกี่ยวกับวิธีทาดอกไม้แห้งจากผู้ที่ทาดอกไม้แห้งที่หมู่บ้า
น เ พ ช ร ช ม ภู ต า บ ล เ พ ช ร ช ม ภู อ า เ ภ อ โ ก สั ม พี น ค ร
จังหวัดกาแพงเพชรจึงกลับมาฝึ กทาเองจนสามารถทาดอกไม้แห้งได้
แ ล ะ ค ิด อ อ ก แ บ บ ด อ ก ไ ม ้ด ้ว ย ต น เ อ ง ใ น ร ูป แ บ บ ต ่า ง ๆ เ ช ่น
ทา เ ป็ น แ จ ก ัน ดอกไม้จากผ้าใยบัว ช่อดอกไม้จากผ้าใย บัว
กระเช้าดอกไม้จากผ้าใยบัว กระถางดอกไม้จากผ้าใยบัว ปี พ.ศ.
2554ได้ทาแจกันดอกไม้จากผ้าใยบัวส่งประกวดสินค้าOTOPระดับอาเภอ
โ ก สั ม พี น ค ร จั ง ห วั ด ก า แ พ ง เ พ ช ร
และได้รับคัดสรรไปประกวดระดับจังหวัดกาแพงเพชร ได้รับคัดสรร ระดับ
3 ด า ว แ ล ะ เ ป็ น วิ ท ย า ก ร ใ ห้ ศู น ย์ ก า ร ศึ ก ษ า น
อกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอโกสัมพีนครเพื่อสอนการทาด
อกไม้ให้แก่สมาชิกกลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร
จังหวัดกาแพงเพชร หมู่ที่ 22 ตาบลโกสัมพี อาเภอโกสัมพีนคร
จังหวัดกาแพงเพชร ค่าตอบแทน วิทยากรวันละ 3,000 บาท
สาหรับดอกไม้จากผ้าใยบัว เช่น แจกันดอกโอเลี่ยมแบบกระถาง
ข า ย ร า ค า 299 บ า ท ข า ย ต า ม ก า ร สั่ ง ข อ ง ลู ก ค้ า
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 19
ข า ย ใ น ง า น น พ พ ร ะ เ ล่ น เ พ ล ง จั ง ห วั ด ก า แ พ ง เ พ ช ร
และในงานสารทไทยกล้วยไข่กาแพงเพชร เป็ นต้น
วัสดุอุปกรณ์
1. ผ้าใยบัว 1 ผืน (ยาวผืนละ 80
เซนติเมตร)ราคา 30 บาท
2. ลวด 1 เส้น ราคาเส้นละ 1 บาท
3. ก้านดอกไม้ 1 ก้านราคาก้านละ 2 บาท
4. ลูกโฟม 1 ลูกราคา ลูกละ 5 บาท
5. กระถาง 1 กระถาง ราคา 35 บาท
6. โฟมจัดดอกไม้(โอเอซิสแห้ง) 1 ก้อน ราคาก้อนละ
25 บาท
7. อุปกรณ์แต่งกระถาง 1 ห่อ ราคาห่อละ 20 บาท
วิธีทาดอกไม้แห้ง (ดอกโอเลี่ยม)
1. นาลูกโฟมมาทาสีให้เข้ากับสีผ้าที่ใช ้ทาดอกขดลวด 5
ครั้ง จับให้ได้ 5 แฉกทาดอกทั้งหมดจานวน 52 ดอก
2. นาผ้าใยบัวหุ้มลวดเพื่อทาเป็ นดอก
โดยมีก้านลวดเหลือยาวไว้สาหรับเสียบลูกโฟม
3.
นาลูกโฟมเสียบกับก้านโดยนาก้านไปจุ่มกับกาวลาเท็กซ ์ก่อนเพื่อจะได้ติ
ดไม่หลุด
4. นาดอกที่ทาไว้ 52 ดอกมาเสียบรอบลูกโฟม
5.
ทาใบสองใบโดยใช ้ลวดโค้งทาตามลักษณะใบที่เราต้องการและใช ้ผ้าใยบั
วคลุม
6.
ลวดที่เป็ นโครงรูปใบแล้วใช ้ด้ายเย็บผ้ามัดกกใบให้แน่น
7. นาลูกโฟมที่เสียบดดอกครบ จานวน 52 ดอก
มาติดใบที่ก้านของลูกโฟมโดยพันฟอร่าเทปที่ก้านตั้งแต่บริเวณปลายก้า
นที่ติดกับลูกโฟมลงมาจนถึงบริเวณที่ติดใบจนสุดก้าน
8. ทาดอกโอเลี่ยมที่สมบูรณ์ จานวนทั้งหมด 4 ดอก
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 20
9. ต ก แ ต่ ง ก ร ะ ถ า ง โ ด ย น า โ ฟ ม จั ด ด อ ก ไ ม้
(โอเอซิส)ใส่ในกระถางและใส่อุปกรณ์ตกแต่งกระถางบนโฟมจัดดอกไม้(โ
อ เ อ ซิ ส ) เ พื่ อ ค ว า ม ส ว ย ง า ม
จากนั้นจึงนาดอกโอเลี่ยมที่สมบูรณ์เสียบกระถาง
ภาพที่ 6.17 ดอกโอเลี่ยมทาจากผ้าใยบัวโดย นางสุวภัทร ์
พันธ์สมพงษ์
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
ภาพที่ 6.18
การทาดอกไม้จากผ้าใยบัวกลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร
จังหวัดกาแพงเพชร
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 21
ภาพที่ 6.19 การทาดอกไม้จากผ้าใยบัว
กลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร
จังหวัดกาแพงเพชร
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
2.9 กลุ่มทาน้ายาล้างจาน และ น้ายาซักผ้า
กลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร
นางสุวภัทร ์พันธ์สมพงษ์ ประธานกลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร
จังหวัดกาแพงเพชร และสมาชิกกลุ่มทาน้ายาล้างจานและน้ายาซักผ้า
ไ ด ้ท า น้ า ย า ล ้า ง จ า น แ ล ะ น้ า ย า ซ ัก ผ ้า
เพื่อจาหน่ายแก่ผู้ที่มาซื้อที่บ้านตนเองและขายในหมู่บ้านตนเองรวมทั้งห
มู ่บ ้า น ใ ก ล ้เ ค ีย ง ซึ ่ง ท า ใ ห ้ม ีร า ย ไ ด ้ส า ห ร ับ ค ร อ บ ค ร ัว
ต้นทุนการผลิตซื้อส่วนผสมจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การ
เกษตร ราคาชุดละ 200 บาท จาหน่ายน้ายาล้างจานได้ประมาณ 400
บ า ท โ ด ย ข า ย ที ่บ ้า น ข อ ง น า ง ส ุว ภ ัท ร ์ พ ัน ธ ์ส ม พ ง ษ ์
ผู้ซื้อคือคนในหมู่บ้านและคนในหมู่บ้านใกล้เคียง
2.9.1 การทาน้ายาล้างจาน
ส่วนผสม
1. N70 จานวน 1 กิโลกรัม
2. F – 24 จานวน 1 กิโลกรัม
3. กรดมะนาว จานวน 1 ขีด
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 22
4. ผงฟอง จานวน 2 ขีด
5. น้าหอม จานวน 20 ซีซี.
6. สารกันเสีย จานวน 10 ซีซี.
7. น้าสะอาด จานวน 15 ลิตร
8. สีผสมอาหาร จานวนตามต้องการ
วิธีทา
1. นา N 70 ผสมลงในภาชนะที่เตรียมไว้ผสมกับ F -
24 กวนให้ไปในทาง
เดียวกันห้ามกวนสวนทาง ถ้าข้นเกินให้ใช ้น้าสะอาดอุ่น ๆ
เติมพอประมาณกวนไปเรื่อย ๆ จนเป็ นเนื้อเดียวกันใส
2. นากรดมะนาว
ผสมน้าใส่ภาชนะอื่นก่อนแล้วกวนให้ละลายแล้วนาไปเติมในน้า N 70
ที่ผสมกับ F- 24
ที่กวนเข้ากันแล้วและกวนให้เข้ากันโดยใช้พายระยะกวนประมาณครึ่งชั่ว
โมง
3. นาผงฟองละลายน้าผสมลงไปกวนให้เข้ากัน
4.
เติมสารกันเสียและสีที่ละลายน้าแล้วลงไปกวนให้เข้ากัน
5. เติมน้าลงไปกวนอีก 10 นาที
6. เติมน้าประมาณ 17-18 ลิตร พักไว้ 1 คืน
จนไม่มีฟอง
7. ใส่ผงข้นเกลือโดยวิธีโรยช ้า ๆ ใช้คนทา 2 คน
โดยใช ้คนโรยผงเกลือเติมลงไปในน้ายาล้างจาน 1 คนและ
เป็ นผู้กวนน้ายาล้างจานจานวน 1 คน โดยคนช้า ๆ
8. เติมหัวน้าหอมลงไปกวนเบา ๆ เพื่อไม่ให้เกิดฟอง
2.9.2 การทาน้ายาซักผ้า
ส่วนผสม
1. เกลือ จานวน 1 กิโลกรัม
2. N 70 จานวน 1 กิโลกรัม
3. F – 24 จานวน 1 กิโลกรัม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 23
4. ฟองเม็ด จานวน 3 ขีด
5. ผงฟอกนวล(คราม) จานวนตามต้องการ
6. สารกันเสีย จานวน 10 ซีซี.
7. หัวน้าหอม จานวน 20 ซีซี.
8. น้าสะอาด จานวน 15 ลิตร
วิธีทา
1. ผสมเกลือจานวน 1 กิโลกรัม ในน้า จานวน 1 ลิตร
2. นา N70 ลงในภาชนะที่เตรียมไว้กวน 5 นาที
3. ใส่น้าเกลือลงไปกวน 5 นาที
4. นา F – 24 ผสมลงกวนให้เข้ากัน
5. นาฟองเม็ดละลายน้าผสมลงไปกวนให้เข้ากัน
6. เติมสารกันเสียผสมลงไปกวนให้เข้ากัน
7. เติมครามละลายน้าลงไปกวนให้เข้ากัน
8. พักไว้ 6 ชั่วโมง ให้ฟองอากาศยุบตัว
9. เติมหัวน้าหอมลงไปกวนเบา ๆ เพื่อไม่ให้เกิดฟอง
ภาพที่ 6.20 น้ายาซักผ้าและ น้ายาล้างจาน ทาโดยนางสุวภัทร ์
พันธ์สมพงษ์
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 24
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
3. ด้านโภชนาการ หมายถึง ความสามารถในการเลือกสรร
ป ร ะ ดิ ษ ฐ ์ แ ล ะ ป รุ ง แ ต่ ง อ า ห า ร แ ล ะ ย า
ได้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกายในสภาวการณ์ต่าง ๆ
ตลอดจนผลิตเป็ นสินค้า และบริการส่งออกได้รับความนิยมแพร่หลาย
รวมถึงการขยายคุณค่าเพิ่มของทรัพยากรด้วย
3.1 กลุ่มกระยาสารทบ้านเกาะพิมูลพัฒนา
เนื่องจากสภาพปัญหาผลผลิตทางการเกษตรมีมากและราคา
ถูกจึงมีการรวมกลุ่มของสตรีที่ประกอบอาชีพทางการเกษตรและเพื่อเป็ นก
ารอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีการกวนกระยาสารทแล้วนาไปทาบุญที่วัดซึ่
งเป็ นขนบธรรมเนียมประเพณีไทยมาแต่ดั้งเดิม
กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรเกาะพิมูล จึงเริ่มจากแกนนาจานวน 8 คน
ได้พูดคุยกันเพื่อรวมกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรโดยมีเจ้าหน้าที่จากสานักงานเก
ษตรอาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร
ให้คาปรึกษาเพื่อจดทะเบียนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรเกาะพิมูล ชื่อ
กลุ่มกระยาสารทบ้านเกาะพิมูลพัฒนา สถานที่ตั้ง 52/2 หมู่ที่
3ตาบลลานดอกไม้ตก อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร
จัดตั้งเมื่อ เดือนกุมภาพันธ์พ.ศ. 2530 สมาชิกกลุ่ม จานวน 20 คน
ประธานกลุ่ม นางสนอง
พุ่มน้อยเพื่อรับความรู ้เกี่ยวกับการทาผลิตภัณฑ์เพิ่มรายได้ ได้แก่
การกวนกระยาสารท และแปรรูปกล้วยฉาบ เป็ นต้น
ได้รับประกาศนียบัตรได้รับการคัดสรรเป็ นผลิตภัณฑ์ระดับสองดาว ปี
พ.ศ. 2552ประเภทกระยาสารทงาดา-
งาขาวโครงการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ.
2552
รายได้จากการขายกระยาสารทรวมการขายกระทงจากเปลือกข้าวโพด
ต่อปีรายได้ทั้งหมู่บ้าน จานวน 5,000,000 บาท ต่อปี
สูตรกระยาสารท
1. ถั่วลิสง 2 กิโลกรัม
2. ข้าวเม่า 3 กิโลกรัม
3. งา 3 กิโลกรัม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 25
4. น้าตาลปี๊บ 3 กิโลกรัม
5. มะพร ้าวหั่น 2 กิโลกรัม
6. กะทิสด 5 กิโลกรัม
7. แบะแซ 1 กิโลกรัม
วิธีทา
น า ก ร ะ ท ะ ตั้ ง ไ ฟ ใ ส่ ก ะ ทิ น้ า ต า ล แ บ ะ แ ซ
ม ะ พ ร ้ า ว หั่ น ล ง ผ ส ม ใ ห้ เ ดื อ ด น า น 2 ชั่ ว โ ม ง
จ น ส่ ว น ผ ส ม เ ห นี ย ว เ ข้า กั น จึ ง ใ ส่ ข้า ว เ ม่ า ถั่ ว ลิ ส ง ง า
คลุกเคล้าให้เข้ากันแล้วยกลง ปล่อยให้เย็น บรรจุใส่ถุง
ภาพที่ 6.21 กระยาสารทแม่สนอง พุ่มน้อย
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
ภาพที่ 6.22 กระยาสารทแม่สนอง พุ่มน้อย
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
3.2 กล้วยฉาบบ้านเกาะพิมูลพัฒนา
ชาวอาเภอโกสัมพีนคร ประกอบอาชีพปลูกกล้วย
เป็ นอาชีพหลัก
เมื่อปลูกกล้วยกันมากขึ้นผลผลิตกล้วยที่ไม่ได้ขนาดตามที่ต้องการอาจจ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 26
ะเหลือทิ้งชาวบ้านจึงนามาแปรรูปเพื่อให้เก็บได้นาน
อีกทั้งเป็ นการเพิ่มมูลค่าให้แก่ผลผลิตด้วยกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร
บ้านเกาะพิมูลพัฒนา หมู่ที่ 3 ตาบลลานดอกไม้ตก อาเภอโกสัมพีนคร
จังหวัดกาแพงเพชรประธานกลุ่ม นางสนอง พุ่มน้อย
ได้สร ้างมูลค่าเพิ่มจากวัตถุดิบในท้องถิ่น ได้แก่ กล้วย
โดยนามาแปรรูปเป็ นผลิตภัณฑ์กล้วยฉาบ มีทั้งกล้วยฉาบเค็ม
กล้วยฉาบหวาน ทาให้สมาชิกมีรายได้เพิ่ม
และเป็ นการส่งเสริมให้สมาชิกในชุมชนปลูกกล้วยและขายให้กลุ่มแม่บ้า
นเกษตรกร บ้านเกาะพิมูลพัฒนา เพื่อนาไปแปรรูป
ออกสู่ตลาดเป็ นที่ต้องการของผู้บริโภค
วัตถุดิบที่ใช ้ในการทากล้วยฉาบ ได้แก่
1. กล้วย 1 กิโลกรัม
2. น้าตาลทราย 3 ขีด
3. เกลือ 1 ช้อนชา
4. น้ามันสาหรับทอดกล้วย
5. น้าเปล่าครึ่งถ้วย
วิธีทา
1. คัดกล้วยขนาดเท่า ๆ
กันนามาตัดหัวตัดท้ายแช่น้าเพื่อให้คายยางแล้วจึงปลอกเปลือกแล้วล้าง
น้าพักไว้
2.
นาน้ามันพืชที่จะใช ้ทอดกล้วยใส่กระทะพอน้ามันร ้อนสไลด์กล้วยตามคว
าม
ยาวของผลกล้วยนาไปทอดจนเหลืองตักขึ้นซับน้ามัน
3. นากระทะตั้งไฟใส่น้าเปล่าน้าตาล เกลือ เคี่ยว
ให้เป็ นยางมะตูมแล้วใส่กล้วยที่ทอดแล้วคลุกเคล้าน้าตาลจับให้ทั่วกัน
4. รอให้กล้วยเย็นจึงบรรจุถุงจาหน่าย
นอกจากจะทากล้วยฉาบแล้วยังผลิต กล้วยอบเนย กล้วยเส้น
ที่มีความเอร็ดอร่อยเหมาะกับการรับประทานเป็ นของว่าง
และยังเป็ นของฝากอีกด้วย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 27
ภาพที่ 6.23 กล้วยฉาบบ้านเกาะพิมูล
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
ภาพที่ 6.24 กล้วยฉาบบ้านเกาะพิมูล
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
4. ด้ า น ก า ร แ พ ท ย์ แ ผ น ไ ท ย ห ม า ย ถึ ง
ความสามารถในการจัดการป้ องกันและรักษาสุขภาพของคนในชุมชน
โดยเน้นให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองทางด้านสุขภาพและอนามัยได้
เ ช่ น ย า จ า ก ส มุ น ไ พ ร อั น มี ห ล า ก ห ล า ย
การนวดแผนไทยการดูแลและรักษาสุขภาพแบบพื้นบ้าน เป็ นต้น
การนวดแผนไทย
พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 บทนิยาม
มาตรา 4 การนวดไทย หมายความว่า การตรวจประเมิน การวินิฉัย
การบาบัด การป้ องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพและการฟื้นฟูสุขภาพ
ด้วยวิธีการกด การคลึง การบีบ การจับ การดัด การประคบ การอบ
ห รื อ วิ ธี ก า ร อื่ น ต า ม ศิ ล ป ะ ก า ร น ว ด ไ ท ย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 28
ห รื อ ก า ร ใ ช้ ย า ต า ม ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย ย า
ทั้งนี้ด้วยกรรมวิธีการแพทย์แผนไทย
ชาวอาเภอโกสัมพีนคร ได้สืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือ
ภู มิ ปั ญ ญ า ช า ว บ้ า น ด้ า น ก า ร น ว ด แ ผ น ไ ท ย
ที่เกิดขี้นจากการเรียนรู ้ด้วยตนเองหรือได้รับการถ่ายทอดต่อๆ
กันมาจากบรรพบุรุษสาหรับใช้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น
และการปรับตัวในการดาเนินชีวิตเช่น นางแสงระวี พรหมมา อายุ 44 ปี
บ้านเลขที่ 167 หมู่ที่ 5 ตาบลเพชรชมภู อาเภอโกสัมพีนคร
จังหวัดกาแพงเพชร ประกอบอาชีพรับจ้างทางานในโรงงาน
ที่ จั ง ห วั ด ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร ปี พ . ศ . 2550
ได้ลาออกจากงานจึงไปสมัครฝึกการแพทย์แผนไทยด้านการนวดแผนไท
ยที่ศูนย์สปาร ์ที่เขตมีนบุรี จังหวัดกรุงเทพมหานครใช้เวลาในการฝึก 4
เ ดื อ น ฝึ ก แ บ บ เ ช ล ย ศั ก ดิ์แ ล ะ แ บ บ ร า ช ส า นั ก ปั จ จุ บั น
รับจ้างนวดทั่วไปตามหมู่บ้านไหล่ประดา และหมู่บ้านใกล้เคียง
ในตาบลเพชรชมภู อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร
และนวดที่ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอโก
ส ัม พ ีน ค ร ( ก ศ น . ) ม ีร า ย ไ ด ้ ชั ่ว โ ม ง ล ะ 100 บ า ท
บางครั้งเป็ นวิทยากรเกี่ยวกับการนวดแผนไทยให้ความรู ้แก่ประชาชนชาว
อาเภอโกสัมพีนคร
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 29
ภาพที่ 6.25 การนวดแผนไทย โดยนางแสงระวี พรหมมา
บ้านไหล่ประดา
ตาบลเพชรชมภู อาเภอโกสัมพีนคร
จังหวัดกาแพงเพชร
ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
สรุป
อ า เ ภ อ โ ก สั ม พี น ค ร จั ง ห วั ด ก า แ พ ง เ พ ช ร
มีภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างหลากหลาย เช่น การเพาะเห็ดนางฟ้ า
ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ฟ อ ร ์นิ เ จ อ ร ์ไ ม้ สั ก ก า ร แ ก ะ ส ลั ก ไ ม้
การผลิตกระถางและกระเช ้ากล้วยไม้ที่ทามาจากการนาเศษไม้ที่เหลือใช ้
ม า ดั ด แ ป ล ง ก า ร ตั ด เ ย็ บ ชุ ด ชั้ น ใ น
การทาแปลจากเศษผ้าการสานกระเป๋ าและตระกร ้าด้วยเส้นพลาสติก
ก า ร ท า ด อ ก ไ ม้จัน ท น์ ก า ร ท า ก ร ะ ท ง จ า ก เ ป ลือ ก ข้า ว โ พ ด
การทาดอกไม ้จากผ ้าใยบัว การทาน้ายาล ้างจานและน้ายาซ ักผ ้า
การทากระยาสารท การทากล ้วยฉาบและ การนวดแผนไทย
จึงควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ให้อนุชนรุ่นหลังได้สืบทอดสืบไป
กิจกรรม เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 30
กิจกรรม เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร
มีจานวน 3 ตอน
(คะแนน 30 คะแนน)
คาสั่งให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
(คะแนน 10 คะแนน) (ข้อละ 1 คะแนน)
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึงอะไร
2. ภูมิปัญญาท้องถิ่นมีความสาคัญอย่างไร
3. ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร ในด้านเกษตรกรรม
มีอะไรบ้าง
4. ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร
ในด้านอุตสาหกรรมและหัตกรรม มีอะไรบ้าง
5. ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร ในด้านแพทย์แผนไทย
มีอะไรบ้าง
คาชี้แ
จง
ตอน
ที่ 1
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 31
6. ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร ในด้านโภชนาการ มีอะไรบ้าง
7. ให้นักเรียนยกตัวอย่างภูมิปัญญาท้องถิ่นในหมู่บ้านของนักเรียน
(ตามที่มีในหมู่บ้าน)
8.
ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวอาเภอโกสัมพีนครกลุ่มใดที่ผลิตจากเศษวัสดุเ
หลือใช้
9. ถ้านักเรียนได้มีโอกาสผลิตสินค้าหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์
นักเรียนจะเลือกทาอะไร เพราะอะไร
10.
ภูมิปัญญาท้องถิ่นใดที่ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ทางด้านสุขภาพแล
ะอนามัย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 32
คาชี้แจง
ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างซึ่งเป็ นชื่อหมู่บ้านที่มีความสัมพันธ์กัน
(คะแนน 10 คะแนน) (ข้อละ 1 คะแนน)
1. การเพาะเห็ดนางฟ้ า
ก ร
2. การทาเปลจากเศษผ้า
น บ
3. การตัดเย็บชุดชั้นใน
อ ม
4. กลุ่มสานตะกร ้าด้วยเส้นพลาสติก
บ้ ดื่ ชุ
5. ทาเฟอร ์นิเจอร ์ไม้สัก
วั ห
6. การทาดอกไม้จันทน์
น ร
7. การทากระทงจากเปลือกข้าวโพด
ก ม
8. การทาดอกไม้จากผ้าใยบัว
ม เ
9. กลุ่มกระยาสารท
ตอน
ที่ 2
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 33
ก ล
10. การนวดแผนไทย
ห ป
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกข้อ ก ข ค และ ง
ไปเติมหน้าข้อที่มีความสัมพันธ์กัน (ซ้ากันได้)
(คะแนน 10 คะแนน) (ข้อละ 1 คะแนน)
ก. ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในด้านเกษตรกรรม
ข. ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรม
ค. ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในด้านแพทย์แผนไทย
ง. ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในด้านโภชนาการ
ค
ตอน
ที่ 3
1
.
10
.
2
.
3
.
4
.
5
.
6
.
7
.
8
.
9
.
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 34
แบบทดสอบเป็ นแบบเลือกตอบมี 4
ตัวเลือกให้เลือกเพียงคาตอบที่ถูกต้อง
เพียงคาตอบเดียว มีจานวน 10 ข้อ คะแนน 10 คะแนน
ใช้เวลา 10 นาที
คาสั่ง ให้นักเรียนทาเครื่อง ( X )
ทับหน้าคาตอบที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านเกษตรกรรม คือข้อใด
1. การเพาะเห็ด
2. การทากล้วยฉาบ
3. การทาโต๊ะไม้สัก
4. การทาดอกไม้ประดิษฐ ์
2. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรมคือข้อใด
1. การเพาะเห็ด
2. การทากล้วยฉาบ
3. การนวดแผนไทย
4. การทาดอกไม้ประดิษฐ ์
3. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านโภชนาการ คือข้อใด
1. การเพาะเห็ด
2. การเปลจากเศษผ้า
3. การทากระยาสารท
4. การทาดอกไม้ประดิษฐ ์
4. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการแพทย์แผนไทย คือข้อใด
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
คาชี้แ
จง
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 35
1. การทากล้วยฉาบ
2. การนวดแผนไทย
3. การทาดอกไม้จันทร ์
4. การทากระถางดอกไม้จากเศษไม้
5. N 70 เป็ นส่วนผสมของการทาสิ่งใด
1. การทากล้วยฉาบ
2. การทาน้ายาล้างจาน
3. การทากระทงจากเปลือกข้าวโพด
4. การทากระถางดอกไม้จากเศษไม้
6. ที่บ้านลานดอกไม้ตกมีผลิตภัณฑ์ใดที่ขึ้นชื่อ
1. น้ายาล้างจาน
2. การเพาะเห็ดนางฟ้ า
3. การทากระทงจากเปลือกข้าวโพด
4. การทากระถางดอกไม้จากเศษไม้
7. นักเรียนคิดว่าอาชีพใดที่น่าจะมีการลงทุนต่าสุด
1. การนวดแผนไทย
2. การทากระยาสารท
3. การเพาะเห็ดนางฟ้ า
4. การทาดอกไม้จันทน์
8. ภูมิปัญญาในข้อใดที่แตกต่างจากข้ออื่น
1. การทากระยาสารท
2. การตัดเย็บชุดชั้นใน
3. การทาดอกไม้จันทน์
4. การทาดอกไม้จากผ้าใยบัว
9. ข้อใดไม่ใช่ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของชาวโกสัมพีนคร
1. การทากล้วยฉาบ
2. การทากุนเชียงปลา
3. การทากระยาสารท
4. การทาดอกไม้จันทน์
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 36
10. บ้านเกาะพิมูลพัฒนา มีผลิตภัณฑ์ใดที่ขึ้นชื่อ
1. ชุดชั้นใน
2. เตาไร ้ควัน
3. กระยาสารท
4. เฟอร ์นิเจอร ์ไม้สัก
บรรณานุกรม
กรมส่งเสริมการเกษตร. แผนพัฒนาการเกษตรระดับตาบล
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี การเกษตร
ประจาตาบลเพชรชมภู จ.กาแพงเพชร. 2555. (อัดสาเนา)
กรมส่งเสริมการเกษตร. แผนพัฒนาการเกษตรระดับตาบล
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี
การเกษตร ประจาตาบลลานดอกไม้ตก จ.กาแพงเพชร.
2555. (อัดสาเนา)
กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เกาะพิมูลพัฒนา จังหวัดกาแพงเพชร. (ม.ป.ป.).
พัฒนาแหล่งเรียนรู ้ ด้าน
เคหกิจเกษตร [แผ่นพับ]. ม.ป.ท.
โชติรสา บุญโท. เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน. (2555).
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. 2558 –
2560) [แผ่นซีดี]. กาแพงเพชร :
องค์การบริหารส่วนตาบลลานดอกไม้ตก.
ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 3 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม. (ม.ป.ป.).
การพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์
ผลิตภัณฑ์ไม้สักกาแพงเพชร [แผ่นพับ]. ม.ป.ท.
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.). (2550).
หนังสือเรียนสาระการเรียนรู ้พิ้นฐาน : ภูมิศาสตร ์:
เศรษฐศาสตร ์: หน้าที่พลเมือง
วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม กลุ่มสาระการ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 37
เรียนรู ้สังคมศึกษา ศาสนาละวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.).
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.). (2550).
หนังสือเรียนสาระการเรียนรู ้พื้นฐาน หน้าที่พลเมือง
วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม ม.6. กรุงเทพฯ :
พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.).
สานักงานการปกครองอาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร. “
บรรยายสรุปอาเภอโกสัมพีนคร ”
2556. (เอกสารอัดสาเนา)
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาแพงเพชร เขต 1 และ เขต 2. (ม.ป.ป.).
บทอาขยานระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น
ความงดงามแห่งความทรงจาในดินแดนเมืองคนแกร่งกาแพงเพ
ชร.
กรุงเทพฯ : เอกพิมพ์ไท.
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาแพงเพชร เขต 1 และ เขต 2. (ม.ป.ป.).
บทอาขยานระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย
ความงดงามแห่งความทรงจาในดินแดนเมืองคนแกร่งกาแพงเพ
ชร.
กรุงเทพฯ : เอกพิมพ์ไท.
สานักงานพัฒนาชุมชน อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร. OTO
P หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์
ปี พ.ศ. 2556. 2556. (อัดสาเนา)
องค์การบริหารส่วนตาบลโกสัมพี จังหวัดกาแพงเพชร.
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. 2555–2557).
2555. (อัดสาเนา)
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 38
องค์การบริหารส่วนตาบลโกสัมพี จังหวัดกาแพงเพชร. (2553).
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจาปี
2553. กาแพงเพชร : ปริญญาการพิมพ์.
องค์การบริหารส่วนตาบลเพชรชมภู จังหวัดกาแพงเพชร.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจาปี 2555.
2555. (อัดสาเนา)
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 39
ภาคผนวก
- เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
- เฉลยกิจกรรม เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร
ตอนที่ 1
- เฉลยกิจกรรม เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร
ตอนที่ 2
- เฉลยกิจกรรม เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร
ตอนที่ 3
- เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
- กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
- แบบบันทึกคะแนน
- สารบัญภาพ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 40
ข้อ คาตอบ
1 2
2 1
3 4
4 3
5 1
6 2
7 3
8 1
9 3
10 2
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 41
กิจกรรม เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร
มีจานวน 3 ตอน
(คะแนน 30 คะแนน)
คาสั่ง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
(คะแนน 10 คะแนน) (ข้อละ 1 คะแนน)
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึงอะไร
ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงความรู ้ที่เกิดจากการเรียนรู ้ด้วย
ตนเอง หรือความรู ้ที่ได้รับการถ่ายทอดต่อ ๆ
กันมาจากบรรพบุรุษสู่ลูกหลาน
2. ภูมิปัญญาท้องถิ่นมีความสาคัญอย่างไร
ใช ้แก้ปัญหาในท้องถิ่นนั้น ๆ ทาให้เกิดความภาคภูมิใจ
สามารถนาไปประกอบอาชีพและ
ก่อให้เกิดรายได้
3. ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร ในด้านเกษตรกรรม
มีอะไรบ้าง
การเพาะเห็ดนางฟ้ า
4. ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร
ในด้านอุตสาหกรรมและหัตกรรม มีอะไรบ้าง
- การทาเปลจากเศษผ้า - การตัดเย็บชุดชั้นใน
เฉลยกิจกรรม เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
อาเภอโกสัมพีนคร
คาชี้แ
จง
ตอน
ที่ 1
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 42
- การตะกร ้าด้วยเส้นพลาสติก -
การทาน้ายาล้างจานและน้ายาซักผ้า
- การทาเฟอร ์นิเจอร ์ไม้สัก -
การทาพรมเช็ดเท้าจากเศษผ้
- การทาดอกไม้จันทน์ - การทาพวงกุญแจตุ๊กตา
- การทากระทงจากเปลือกข้าวโพด -
การทาเตาปิ้งย่างไร ้ควัน
- การทาดอกไม้จากผ้าใยบัว -
การน้าขวดพลาสติกที่ใช ้แล้วมาทาดอกไม้ใส่แจกัน
5. ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร ในด้านแพทย์แผนไทย
มีอะไรบ้าง
การนวดแผนไทย การรักษาด้วยการรับประทานยาสมุนไพร
การอบสมุนไพร การนา สมุนไพร
มาทาเป็ นยาทาภายนอกเช่นว่านหางจระเข้
6. ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร ในด้านโภชนาการ มีอะไรบ้าง
น้าพริก กระยาสารท กล้วยฉาบ
น้าส้มเกร็ดหิมะผลไม้ดองกล้วยกวน ผลไม้แช่อิ่ม ขนมไทย
โบราณ ขนมเครื่องขยาบวช ผักดอง
7. ให้นักเรียนยกตัวอย่างภูมิปัญญาท้องถิ่นในหมู่บ้านของนักเรียน
(ตามที่มีในหมู่บ้าน)
การตัดเย็บชุดชั้นใน การเพาะเห็ดนางฟ้ าการทาเฟอร ์นิเจอร ์ไม้สัก
การทากระทงจากเปลือก
ข้าวโพด การทากระยาสารท การทาเปลจากเศษผ้า
การทาพรมเช็ดเท้าจากเศษผ้า การทา
ดอกไม้จันทน์ การสานตระกร ้าด้วยเส้นพลาสติก
การนวดแผนไทย กล้วยฉาบ น้าพริก
8.
ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวอาเภอโกสัมพีนครกลุ่มใดที่ผลิตจากเศษวัสดุเ
หลือใช้
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 43
กลุ่มทากระทงจากเปลือกข้าวโพด
การทาเปลจากเศษผ้ากลุ่มทากระถางและกระเช้ากล้วยไม้
ที่ทามาจากการนาเศษไม้ที่เหลือใช ้
9. ถ้านักเรียนได้มีโอกาสผลิตสินค้าหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์
นักเรียนจะเลือกทาอะไร เพราะอะไร
การทาเปลจากเศษผ้า เพราะใช้ต้นทุนน้อยมาก
ใช ้เวลาในการทาไม่นาน การเรียนรู ้เพื่อทาเปล
ไม่ยากทาได้โดยง่ายใช ้เวลาในการศึกษาและฝึกทาน้อย
ขายง่ายเพราะเป็ นประโยชน์ต่อ
ทุกครอบครัวประเทศไทยมีอากาศร ้อนคนไทยชอบผูกเปลนอนเล่นบริเว
ณใต้ต้นไม้
10.
ภูมิปัญญาท้องถิ่นใดที่ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ทางด้านสุขภาพแล
ะอนามัย
การนวดแผนโบราณด้านการแพทย์แผนไทย
ตอน
ที่ 2
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 44
คาชี้แจง
ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างซึ่งเป็ นชื่อหมู่บ้านที่มีความสัมพันธ์กัน
(คะแนน 10 คะแนน) (ข้อละ 1 คะแนน)
1. การเพาะเห็ดนางฟ้ า
บ้ า น เ ก า ะ ร า ก เ สี ย ด
2. การทาเปลจากเศษผ้า
บ้ า น ห น อ ง บ ง
3. การตัดเย็บชุดชั้นใน
บ้ า น ค ล อ ง แ ต ง โ ม
4. กลุ่มสานตะกร ้าด้วยเส้นพลาสติก
บ้ า น ม ะ เ ดื่ อ ชุ ม พ ร
5. ทาเฟอร ์นิเจอร ์ไม้สัก
บ้ า น วั ง ใ ห ม่
6. การทาดอกไม้จันทน์
บ้ า น ม ะ เ ดื่ อ ชุ ม พ ร
7. การทากระทงจากเปลือกข้าวโพด
บ้ า น เ ก า ะ พิ มู ล
8. การทาดอกไม้จากผ้าใยบัว
บ้ า น ม ะ เ ดื่ อ ชุ ม พ ร
9. กลุ่มกระยาสารท
บ้ า น เ ก า ะ พิ มู ล
10. การนวดแผนไทย
บ้ า น ไ ห ล่ ป ร ะ ด า
ตอน
ที่ 3
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx

More Related Content

What's hot

ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3Mam Chongruk
 
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3Teacher Sophonnawit
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
โครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อมโครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อมsupansa phuprasong
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษBhayubhong
 
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docxข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docxssuser920267
 
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อเรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อCherry Lay
 
การเจริญเติบโตของเอมบริโอ กลุ่ม 10 ห้อง 343
การเจริญเติบโตของเอมบริโอ กลุ่ม 10 ห้อง 343การเจริญเติบโตของเอมบริโอ กลุ่ม 10 ห้อง 343
การเจริญเติบโตของเอมบริโอ กลุ่ม 10 ห้อง 343PunyaputtPrakaivichi
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความSurapong Klamboot
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioreพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioresupreechafkk
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1Sivagon Soontong
 
การเขียนเนื้อเพลง
การเขียนเนื้อเพลงการเขียนเนื้อเพลง
การเขียนเนื้อเพลงMahidol University
 
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1Tewit Chotchang
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลพัน พัน
 

What's hot (20)

ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
 
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
Miniproject0
Miniproject0Miniproject0
Miniproject0
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรม
 
โครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อมโครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อม
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
 
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docxข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
 
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อเรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
 
การเจริญเติบโตของเอมบริโอ กลุ่ม 10 ห้อง 343
การเจริญเติบโตของเอมบริโอ กลุ่ม 10 ห้อง 343การเจริญเติบโตของเอมบริโอ กลุ่ม 10 ห้อง 343
การเจริญเติบโตของเอมบริโอ กลุ่ม 10 ห้อง 343
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioreพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
 
การเขียนเนื้อเพลง
การเขียนเนื้อเพลงการเขียนเนื้อเพลง
การเขียนเนื้อเพลง
 
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
 

Similar to นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx

โครงงานคุณธรรม
โครงงานคุณธรรมโครงงานคุณธรรม
โครงงานคุณธรรมteerasak ch.
 
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชนเล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชนหรร 'ษๅ
 
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3Prapatsorn Chaihuay
 
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3PrapatsornPalmmy
 
ดอกมะลิ
ดอกมะลิดอกมะลิ
ดอกมะลิpaunphet
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...0894239045
 
ภาษาไทย คณิตศาสตร์
ภาษาไทย  คณิตศาสตร์ภาษาไทย  คณิตศาสตร์
ภาษาไทย คณิตศาสตร์Nirut Uthatip
 
Test o net m.3 52
Test o net m.3 52Test o net m.3 52
Test o net m.3 52seelopa
 
O netม.3 53
O netม.3 53O netม.3 53
O netม.3 53Lunla Nui
 

Similar to นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx (20)

โครงงานคุณธรรม
โครงงานคุณธรรมโครงงานคุณธรรม
โครงงานคุณธรรม
 
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชนเล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน
 
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
 
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
 
ดอกมะลิ
ดอกมะลิดอกมะลิ
ดอกมะลิ
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
File
FileFile
File
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
m3thai51
m3thai51m3thai51
m3thai51
 
O net m3-math_52
O net m3-math_52O net m3-math_52
O net m3-math_52
 
ภาษาไทย คณิตศาสตร์
ภาษาไทย  คณิตศาสตร์ภาษาไทย  คณิตศาสตร์
ภาษาไทย คณิตศาสตร์
 
O net math3 y53
O net math3 y53O net math3 y53
O net math3 y53
 
Test o net m.3 52
Test o net m.3 52Test o net m.3 52
Test o net m.3 52
 
O netม.3 53
O netม.3 53O netม.3 53
O netม.3 53
 

More from ssuser6a0d4f

แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfssuser6a0d4f
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxssuser6a0d4f
 
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfแผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfssuser6a0d4f
 
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdf
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdfการสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdf
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdfssuser6a0d4f
 
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdfกิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdfssuser6a0d4f
 
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdfนวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdfssuser6a0d4f
 

More from ssuser6a0d4f (6)

แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
 
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfแผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
 
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdf
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdfการสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdf
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdf
 
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdfกิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
 
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdfนวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
 

นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 1 แบบทดสอบเป็ นแบบเลือกตอบมี 4 ตัวเลือกให้เลือกเพียงคาตอบที่ถูกต้อง เพียงคาตอบเดียว มีจานวน 10 ข้อ คะแนน 10 คะแนน ใช้เวลา 10 นาที คาสั่ง ให้นักเรียนทาเครื่อง ( X ) ทับหน้าคาตอบที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว 1. N 70 เป็ นส่วนผสมของการทาสิ่งใด 1. การทากล้วยฉาบ 2. การทาน้ายาล้างจาน 3. การทากระทงจากเปลือกข้าวโพด 4. การทากระถางดอกไม้จากเศษไม้ 2. ภูมิปัญญาในข้อใดที่แตกต่างจากข้ออื่น 1. การทากระยาสารท 2. การตัดเย็บชุดชั้นใน 3. การทาดอกไม้จันทน์ 4. การทาดอกไม้จากผ้าใยบัว 3. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรมคือข้อใด 1. การเพาะเห็ด 2. การทากล้วยฉาบ 3. การนวดแผนไทย 4. การทาดอกไม้ประดิษฐ ์ 4. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านโภชนาการ คือข้อใด 1. การเพาะเห็ด 2. การเปลจากเศษผ้า 3. การทากระยาสารท 4. การทาดอกไม้ประดิษฐ ์ แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่น คาชี้แ จง
  • 2. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 2 5. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านเกษตรกรรม คือข้อใด 1. การเพาะเห็ด 2. การทากล้วยฉาบ 3. การทาโต๊ะไม้สัก 4. การทาดอกไม้ประดิษฐ ์ 6. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการแพทย์แผนไทย คือข้อใด 1. การทากล้วยฉาบ 2. การนวดแผนไทย 3. การทาดอกไม้จันทร ์ 4. การทากระถางดอกไม้จากเศษไม้ 7. บ้านเกาะพิมูลพัฒนา มีผลิตภัณฑ์ใดที่ขึ้นชื่อ 1. ชุดชั้นใน 2. เตาไร ้ควัน 3. กระยาสารท 4. เฟอร ์นิเจอร ์ไม้สัก 8. นักเรียนคิดว่าอาชีพใดที่น่าจะมีการลงทุนต่าสุด 1. การนวดแผนไทย 2. การทากระยาสารท 3. การเพาะเห็ดนางฟ้ า 4. การทาดอกไม้จันทน์ 9. ที่บ้านลานดอกไม้ตกมีผลิตภัณฑ์ใดที่ขึ้นชื่อ 1. น้ายาล้างจาน 2. การเพาะเห็ดนางฟ้ า 3. การทากระทงจากเปลือกข้าวโพด 4. การทากระถางดอกไม้จากเศษไม้ 10. ข้อใดไม่ใช่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวโกสัมพีนคร 1. การทากล้วยฉาบ 2. การทากุนเชียงปลา
  • 3. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 3 3. การทากระยาสารท 4. การทาดอกไม้จันทน์ ภ ูม ิป ัญ ญ า เ ป ็ น อ ง ค ์ค ว า ม รู ้ที ่ม ีก า ร พ ัฒ น า แ ล ะ ถ ่า ย ท อ ด ส ืบ ต ่อ ก ัน ม า อ ย ่า ง ส ม ด ุล ก ับ ส ภ า พ - แ ว ด ล ้อ ม และเหมาะสมกับยุคสมัย จะมีลักษณะแตกต่างกันไปตามภูมิภาคต่าง ๆ ภูมิปัญญาไม่ว่าจะด้านใดหรือระดับใดย่อมมีคุณค่าและความสาคัญต่อก า ร ด า เ น ิน ช ีว ิต ด ัง นั ้น จ ึง ค ว ร ศ ึก ษ า ถ ึง ภ ูม ิ- ปั ญ ญ า อั น เ ป็ น ค ว า ม รู้ที่ ถู ก ถ่ า ย ท อ ด เ พื่ อ อ นุ รั ก ษ์ และปรับใช ้ให้ถูกต้องเหมาะสม ผลการเรียนรู ้ บอกความหมาย ความสาคัญและยกตัวอย่างภูมิปัญญาท้องถิ่นของอาเภอโกสัมพีนครได้ จุดประสงค์การเรียนรู ้ 1. บอกความหมายและความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นได้ 2. ยกตัวอย่างภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านต่าง ๆ ของอาเภอโกสัมพีนครได้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น สาระสา คัญ
  • 4. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 4 ภู มิ ปั ญ ญ า ท้อ ง ถิ่ น ห รือ ภู มิ ปั ญ ญ า ช า ว บ้า น คื อ ภูมิปัญญาที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู ้ด้วยตนเองหรือได้รับการถ่ายทอดต่อ ๆ กันมาจากบรรพบุ รุษ ซึ่งเป็ นภู มิปั ญญาเฉพาะท้องถิ่นนั้ น ๆ ได้คิดค้นขึ้นมาสาหรับใช ้แก ้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นได ้แก่ ภูมิปัญญาที่เกิดขึ้นที่ภาคเหนือ ภาคใต ้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง ภูมิปัญญาเหล่านี้ถือเป็ นภูมิปัญญาชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาจเป็ นที่มาขององค์ความรู ้ที่งอกงามขึ้นใหม่ ที ่จ ะ ช ่ว ย ใ น ก า ร เ ร ีย น รู ้ ก า ร แ ก ้ป ัญ ห า ก า ร จ ัด ก า ร และการปรับตัวในการดาเนินวิถีชีวิตของคนไทย ลักษณะองค์รวมของ ภูมิปัญญามีความเด่นชัด สามารถแบ่งออกได้เป็ น 9 ด้าน คือ ด้า น เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ด้า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ หั ต ถ ก ร ร ม ด้ า น ก า ร แ พ ท ย์ แ ผ น ไ ท ย ด้า น ก า ร จั ด ก า ร ท รัพ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้อ ม ด้านกองทุนและธุรกิจชุมชน ด้านภาษาและวรรณกรรม ด้านปรัชญา ศาสนา และประเพณี ด้านโภชนาการ และด้านศิลปกรรม ภู มิ ปั ญ ญ า ไ ด้ ช่ ว ย ส ร ้า ง ช า ติ ใ ห้ เ ป็ น ปึ ก แ ผ่ น ส ร ้ า ง ศั ก ดิ์ ศ รี แ ล ะ เ กี ย ร ติ ภู มิ แ ก่ ค น ใ น ช า ติ ทาให้บรรพชนของเราได้ดารงชีวิตอยู่บนแผ่นดินนี้มาอย่างสงบสุขเป็ นเว ล า ย า ว น า น แ ม้ ว่ า ภู มิ ปั ญ ญ า ส่ ว น ห นึ่ ง จ ะ สู ญ ห า ย ไ ป แต่ยังมีบางส่วนหลงเหลือเป็ นมรดกล้าค่าอยู่คู่กับชาวอาเภอโกสัมพีนครมา โดยตลอดในที่นี้ขอกล่าวถึงภูมิปัญญาในอาเภอโกสัมพีนคร ซึ่งมีดังนี้ ภูมิปัญญา ท้องถิ่น
  • 5. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 5 1. ด้ า น เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ห ม า ย ถึ ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ผ ส ม ผ ส า น อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ทั ก ษ ะ แ ล ะ เ ท ค นิ ค ด้ า น เ ก ษ ต ร ก ร ร ม กั บ เ ท ค โ น โ ล ยี โ ด ย ก า ร พั ฒ น า บ น พื้ น ฐ า น คุ ณ ค่ า ดั้ ง เ ดิ ม ซึ่งคนสามารถพึ่งพาตนเองได้ในสภาวการณ์ต่าง ๆ ได้แก่ กลุ่มเพาะเห็ดนางฟ ้ า ตาบลเพชรชมภู อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร มีกลุ่มแม่บ้านเกาะรากเสียดใน โดยนางประสพพร จงสว ัสดิ ์ ได้รวบรวมผู้ที่สนใจประกอบอาชีพเพาะเห็ดนางฟ้ าทาการร่วมหุ้นเพาะเ ห็ดนางฟ้ าในหมู่บ้านเกาะรากเสียดในตาบลเพชรชมภูอาเภอโกสัมพีนค ร จังหวัดกาแพงเพชรเพื่อแก้ปัญหาคนว่างงาน เริ่มแรกปี พ.ศ. 2542 มีสมาชิกตาบลเพชรชมภูสนใจนาเงินมาร่วมหุ้น จานวน 7 คน ขั้ น ต อ น ก า ร เ พ า ะ เ ห็ ด น า ง ฟ้ า ช่วงระยะแรกใช ้ขี้เลื่อยไม้ยูคาลิปตัสเพาะเชื้อเห็ดทาให้เกิดปัญหาเส้นใยเ ดิ น ช ้ า ไ ด้ ผ ล ผ ลิ ต ต่ า ต่อมาจึงเปลี่ยนมาใช ้ขี้เลื่อยจากไม้ยางพาราปรากฏว่าได้ผลดีขึ้นจึงสั่งซื้ อขี้เลื่อยไม้ยางพาราจากจังหวัดสุราษฏร ์ธานีทาให้ผลผลิตดีมีกาไรมีเงิน ปั น ผ ล หุ้น ส่ ว น ม า ก ขึ้น ปั จ จุ บั น น า ง ป ร ะ ส พ พ ร จ ง ส วั ส ดิ์ ได้มอบการจัดการด้านการเพาะเห็ดนางฟ้ าให้กับ นางอณุรัตน์ บัวพรม เ ป็ น ผู้ ดู แ ล ก า ร เ พ า ะ เ ห็ ด น า ง ฟ้ า โ ด ย มี ผู้ ซื้ อ ม า ซื้ อ ที่ ส ถ า น ที่ เ พ า ะ เ ห็ ด เ ป็ น ป ร ะ จ า ซื้อก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้ าครั้งละ 500 – 1,000 ก้อน ราคาก้อนละ 8 บาท ถ ้านาไปขายตาม งานแสดงส ินค ้าของกลุ่มองค ์กร สตร ีของ แต่ละอาเภอในจังหวัดกาแพงเพชรขายราคาก้อนละ 10 บาท ส า ห รั บ ด อ ก เ ห็ ด ข า ย กิ โ ล ก รั ม ล ะ 60 บ า ท เฉลี่ยแล้วสมาชิกมีรายได้ประมาณเดือนละ 10,000 - 15,000 บาท ขั้นตอนการเพาะเห็ดนางฟ้ า 1. อัดก้อนขี้เลื่อยไม้ยางโดยการใช ้เครื่องบรรจุก้อนขี้เลื่อย 2. นาขี้เลื่อยไม้ยางที่อัดก้อนแล้วไปนึ่งฆ่าเชื้อประมาณ 5 ชั่วโมง เมื่อนึ่งเสร็จแล้วนาเข้าห้องหยอดน้าเชื้อประมาณ 1 เดือน เพื่อให้ได้ก้อนเชื้อที่เลี้ยงให้เต็มก้อนพร ้อมจะออกดอก
  • 6. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 6 3. นาก้อนเชื้อที่พร ้อมจะออกดอกเปิดเพื่อให้เห็ดนางฟ้ าออกดอก ประมาณ 1 สัปดาห์ จึงเก็บดอกเห็ดนางฟ้ าได้ก้อนเชื้อเห็ดจะออกดอกได้ประมาณ 5 – 6 เดือน ขึ้นอยู่กับการดูแลของคนเพาะเห็ด ภาพที่ 6.1 การบรรจุก้อนขี้เลื่อยไม้ยางพาราเพื่อเพาะเห็ดนางฟ้ า ของนางอณุรัตน์ บัวพรม ที่มา: นางรุ่งภาณี ปิติยะ ภาพที่ 6.2 เห็ดนางฟ้ า ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ 2. ด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรม หมายถึง การรู้จักประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการแปรรูปผลผลิต เ พื่ อ ก า ร บ ริโ ภ ค อ ย่ า ง ป ล อ ด ภัย ป ร ะ ห ยัด แ ล ะ เ ป็ น ธ ร ร ม
  • 7. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 7 อันเป็ นกระบวนการให้ชุมชนในท้องถิ่นสามารถพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจไ ด้ ตลอดจนทั้งการผลิตและการจาหน่ายผลผลิตทางหัตถกรรม ได้แก่ 2.1 ผลิตภัณฑ์เฟอร ์นิเจอร ์ไม้สัก ช า ว บ ้า น ว ัง ใ ห ม ่ ห มู ่ที ่ 19ต า บ ล โ ก ส ัม พ ี อา เ ภ อโ กส ัม พ ีนค ร จ ัง ห ว ัด กา แพ ง เพ ชร เป็ นช ุมชนที่ผลิต ผลิตภ ัณฑ ์ประเภทเฟอร ์นิเจอร ์ไม ้ส ักส่งออกเป็ นจานวนมาก ผลิตภัณฑ์ประเภทเฟอร ์นิเจอร ์ร ้านสุทินเฟอร ์นิเจอร ์เลขที่ 39 หมู่ที่ 19 ต า บ ล โ ก ส ัม พ ี อ า เ ภ อ โ ก ส ัม พ ีน ค ร จ ัง ห ว ัด ก า แพ ง เพ ชร ได้รับการคัดสรรให้เป็ นผลิตภัณฑ์ระดับ 2ดาวประจาปี พ.ศ. 2547 ตามโครงการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย พ.ศ. 2547 ภาพที่ 6.3 เฟอร ์นิเจอร ์ไม้สักร ้านสุทินเฟอร ์นิเจอร ์หมู่ที่ 19 บ้านวังใหม่ ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ ภาพที่ 6.4 เฟอร ์นิเจอร ์ไม้สักร ้านสุทินเฟอร ์นิเจอร ์หมู่ที่ 19 บ้านวังใหม่
  • 8. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 8 ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ 2.2 กลุ่มแกะสลักไม้บ้านวังใหม่ กลุ่มแกะสลักไม้บ้านวังใหม่ ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 90/1 บ้านวังใหม่ หมู่ที่ 19 ตาบลโกสัมพี อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร ประธานกลุ่มชื่อ นางภัทรภรธีระธาดา ผลิตกระถางและกระเช ้ากล้วยไม้ ที่ทามาจากการนาเศษไม้ที่เหลือใช ้มาดัดแปลงเป็ นกระถางและกระเช ้าก ล้วยไม้เนื่องจากชาวบ้านวังใหม่ ตาบลโกสัมพี อาเภอโกสัมพีนคร จ ัง ห ว ัด ก า แ พ ง เ พ ช ร เป็ น ช ุม ช น ที่ผ ล ิต เ ค รื่อ ง เฟอร ์นิ เจอร ์ส่งออกเป็ นจานวนมาก นอกจากนั้นยังรับแกะสลักไม้เช่นป้ ายร ้านค้าป้ ายชื่อติดหน้าบ้านและแกะ สลักตู้โบราณ ซึ่งสามารถประกอบเป็ นอาชีพหลักและอาชีพเสริมได้ ภาพที่ 6.5 กระถางและกระเช้าใส่กล้วยไม้ กลุ่มแกะสลักไม้บ้านวังใหม่ ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ 2.3 กลุ่มผลิตภัณฑ์ตัดเย็บชุดชั้นใน บ้านคลองแตงโม บ้านเลขที่5หมู่ที่20 ตาบลโกสัมพี อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชรมีกลุ่มตัดเย็บประเภทชุดชั้นใน โดยนางระเบียบ บุ ญ แ ม ะ เ ป็ น ป ร ะ ธ า น ก ลุ่ ม ตั ด เ ย็ บ ชุ ด ชั้น ใ น พ . ศ . 2535 ป้ า ร ะ เ บี ย บ เ ริ่ ม ตั ด เ ย็ บ ชุ ด ชั้ น ใ น โดยการคิดแบบขึ้นเองและได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบให้ทันสมัยอยู่เสมอ
  • 9. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 9 แ ล ะ เ ป็ น ก า ร ช่ ว ย ใ ห้ค น ใ น ชุ ม ช น อ า เ ภ อ โ ก สั ม พี น ค ร จังหวัดกาแพงเพชรมีอาชีพและมีรายได้ด้วยการรับผ้าที่ป้ าระเบียบออกแ บบและตัดไปเย็บที่บ้านตนเองแล้วนามาส่งป้ าระเบียบ พ.ศ. 2547 ไ ด้ รั บ ก า ร คั ด ส ร ร ใ ห้ เ ป็ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ร ะ ดั บ 4 ด า ว ตามโครงการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย พ.ศ. 2547 ทิศทางแนวโน้มการตลาด สินค้าหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์บางประเภท เ ช่ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ด ชั้ น ใ น มีการส่งออกไปจาหน่ายยังต่างประเทศและกระจายการจาหน่ายไปสู่ภาค อื่น ๆ ทั่วประเทศ ภาพที่ 6.6 กลุ่มตัดเย็บชุดชั้นบ้านคลองแตงโม ที่บ้านป้ าระเบียบ ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
  • 10. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 10 ภาพที่ 6.7 กลุ่มตัดเย็บชุดชั้นในป้ าระเบียบ ที่บ้านนางเล็ก มณีสุข ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ 2.4 การทาเปลจากเศษผ้า สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุ ษย์ จังหวัดกาแพงเพชร ให้ความรู้แก่กลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร จั ง ห วั ด ก า แ พ ง เ พ ช ร โดยมีเจ้าหน้าที่มาให้ความรู ้เกี่ยวกับการทาเปลจากเศษผ้าเมื่อสมาชิกกลุ่ มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนครสามารถทาเปลจากเศษผ้าได้แล้วจึงเ ป็ นวิทยากรสอนการทาเปลจากเศษผ้าขยายเครือข่ายแก่ชาวบ้านหมู่บ้า น ห น อ ง บ ง ห มู่ ที่ 21ต า บ ล โ ก สั ม พี อ า เ ภ อ โ ก สั ม พี น ค ร จังหวัดกาแพงเพชรและชาวบ้านบ้านท่าคูณ หมู่ที่ 1ตาบลโกสัมพี อ า เ ภ อ โ ก สั ม พี น ค ร จังหวัดกาแพงเพชรการเป็ นวิทยากรได้ค่าตอบแทนวันละ 1,000 บาท การจาหน่ายเปล จาหน่ายทั้งส่งและปลีก ขายส่งราคาผืนละ 80 บาท ข า ย ป ลีก ร า ค า ผืน ล ะ 100 บ า ท ข า ย ที่ห มู่ บ้า น ข อ ง ต น เ อ ง ห มู ่บ ้า น ใ ก ล ้เ ค ีย ง แ ล ะ ง า น จ ัง ห ว ัด ส ัญ จ ร บางครั้งมีคนมาซื้อเพื่อนาไปขายบริเวณข้างถนนพหลโยธิน วัสดุอุปกรณ์ - เศษผ้า ถักเปล จานวน 1 ผืนใช้เศษผ้า 1 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 50 บาท วิธีทา 1. ขึ้นหูเปลโดยวิธีใช ้เศษผ้าจานวน 14 เส้น พันให้เป็ นวงกลมใช ้สาหรับมัดเพื่อ แขวนเปลทั้งสองข้างและปล่อยผ้าจากหูเปลยาวประมาณ 0.5 เมตร 2. ถักเศษผ้าต่อจากผ้าที่ปล่อยไว้โดยวิธีเหมือนกับการเย็บแหเป็ นตารางยา ว 16 หรือ 17 ตารางได้เปล 1ผืนใช้เวลา 1 วัน สามารถถักเปลได้จานวน 3-4 ผืน
  • 11. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 11 ภาพที่ 6.8 เปลจากเศษผ้า กลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนครจังหวัดกาแพงเพชร ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ ภาพที่ 6.9 เปลจากเศษผ้ากลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ 2.5 กลุ่มสานกระเป๋ าและตระกร้าด้วยเส้นพลาสติก เนื่ องด้วยกลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร ( เ ดิม คือ ก ลุ่ ม แ ม่ บ้า น ม ะ เ ดื่อ ชุม พ ร ห มู่ ที่ 4 ต า บ ล โ ก สัม พี อ า เ ภ อ โ ก สั ม พี น ค ร จั ง ห วั ด ก า แ พ ง เ พ ช ร ) ได้รับการฝึ กสอนการสานตระกร ้าและกระเป๋ าจากเส้นพลาสติก ผู้ฝึกสอนคือเจ้าหน้าที่ของสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุ ษ ย์ จัง ห วัด ก า แ พ ง เ พ ช ร ก ร ม แ ร ง ง า น เ มื่ อ ปี พ . ศ . 2555
  • 12. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 12 โดยกลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร เป็ นผู้เขียนโครงการฝึกอาชีพกลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร จ ัง ห ว ัด กาแพงเพชร เพื่อขอวัสดุอุปกรณ์ และครูผู้ฝึ กส อน เ พื่ อ ส อ น ท า ก ร ะ เ ป๋ า แ ล ะ ต ร ะ ก ร ้า จ า ก เ ส้ น พ ล า ส ติ ก ประธานกลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร คือนางสุวภัทร ์ พั น ธ์ ส ม พ ง ษ์ แ ล ะ ส ม า ชิ ก ก ลุ่ ม จ า น ว น 20 ค น จึงฝึกหัดจนสามารถสานตระกร ้าและกระเป๋ าจากเส ้นพลาสติกได ้ และจาหน่ายโดยนาไปจาหน่ายเวลาไปร่วมประชุมที่จังหวัดหรือไปประชุม ต่างจังหวัด และจาหน่ายทั่วไปในชุมชนใบใหญ่ราคาใบละ 250 บาท ใบ เล็ กใบ ล ะ 100 บ า ท ได้กา ไรใบ ล ะ 65 บ า ท เว ล า 1 วัน สามารถสานตระกร ้าได้จานวน 2 ใบ วัสดุอุปกรณ์ - เส้นพลาสติก วิธีทา 1. ขึ้นก้นตระกร ้าโดยนับเส้นตามขวาง จานวน 7 เส้น และ ตามยาว จานวน 17 เส้น แล้วสานตาสะก๊อตสี่เหลี่ยมขึ้น 16 เส้น 2. สายขึ้นข้างตระกร ้าโดยพับจับให้เป็ นก้นตะกร ้า และพับขึ้นให้เป็ นข้างตะกร ้าอีก 16 เส้น 3. ทาขอบโดยใช ้เส้นพลาสติกใส่เป็ นขอบเพิ่มอีก 2 เส้น 4. ทาหูตะกร ้าโดยวิธีสานเปีย 4 ข้างนอกแล้วนามาสอดเข้ากับตัวตะกร ้าเพื่อสาหรับเป็ นหูนาสายยางระดั บน้ามาใส่สวมหูตะกร ้าความยาวตามความพอใจ 5. ทาลูกตะกร ้อและหูเพื่อสาหรับปิดตะกร ้า
  • 13. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 13 ภาพที่ 6.10 ประธานกลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ ภาพที่ 6.11 การสานกระเป๋ าและตระกร ้าจากเส้นพลาสติกของกลุ่มองค์กรสตรี ของอาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ ภาพที่ 6.12 กลุ่มสานกระเป๋ าและสานตระกร ้าด้วยเส้นพลาสติก หมู่ที่ 21 บ้านหนองบง
  • 14. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 14 ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ 2.6 การทาดอกไม้จันทน์ ก ลุ่ ม อ ง ค์ก ร ส ต รี ข อ ง อ า เ ภ อ โ ก สั ม พี น ค ร จัง ห วัด ก า แ พ ง เ พ ช ร ซึ่ง เ ดิม คือ ก ลุ่ ม แ ม่ บ้า น ม ะ เ ดื่อ ชุม พ ร ประธานกลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร คือ นางสุวภัทร ์ พัน ธ์ส ม พ ง ษ์ อ ยู่ บ้า น เ ล ข ที่ 246 ห มู่ ที่ 4 ต า บ ล โ ก สัม พี อ า เ ภ อ โ ก สั ม พี น ค ร จั ง ห วั ด ก า แ พ ง เ พ ช ร ได้ร่วมกับสมาชิกของกลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร ทาดอกไม้จันทน์ขายเพื่อเป็ นอาชีพเสริมหารายได้ ดอกไม้จันทน์ จานวน 100 ดอก ขายราคา 150 บาท ดอกไม ้จันทน์ จานวน 1,000 ดอก ใช ้เวลาทา 5 วัน ใช ้ต้นทุน จานวน 340 บาท ขายได้ จานวน 1,500 บ า ท ข า ย ส่ ง ที่ ร ้ า น จั ด ด อ ก ไ ม้ ส ด ต ล า ด วั ง เ จ้ า และขายตามการสั่งซื้อของเจ้าภาพที่จัดงานศพในหมู่บ้านและหมู่บ้านใก ล้เคียง วัสดุอุปกรณ์ 1. กระดาษที่อัดกลีบแล้ว ถุงละ 1 กิโลกรัม ราคา 270 บาท ทาดอกไม้จันทน์ได้จานวน 1,000 ดอก 2. กระดาษ A 4 ที่ใช ้แล้ว 3. ไม้จิ้มฟัน กล่องละ 10 บาท 4. ผ้าเทปพันสายไฟสีดา ราคาม้วนละ 5 บาท 5. เทียนไข ขนาดเล็ก ราคาห่อละ 7 บาท 6. ธูป ราคาห่อละ 35 บาท 7. ถุงพลาสติกใส วิธีทาดอกไม้จันทน์ 1. ตัดกระดาษ A 4 ที่ใช ้แล้วกว้างประมาณ 2 ซม. นาไปพันไม้จิ้มฟันโดยพับเป็ นเหลี่ยมซ ้ายทับขวาสลับไปมาจนไม้จิ้มฟันเ ป็ นแท่งสี่เหลี่ยมผืนผ้าจึงทาด้วยกาวลาเท็กซ ์ 2. นาเทียนไขขนาดเล็กมาตัดขนาด 2 เซนติเมตร และนาธูปมาตัดเป็ นขนาด 2 เซนติเมตร
  • 15. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 15 3. นาธูปและเทียนที่ตัดแล้วไปติดที่ปลายก้านไม้จิ้มฟันที่พันด้วยกระดาษ A 4 เป็ น แท่งสี่เหลี่ยมพื้นผ้า 4. ตัดกระดาษ A 4 ที่ใช ้แล้วเป็ นฝอย ๆ ยาวประมาณ 1.5 นิ้ว พับครึ่งกระดาษฝอย นามารวมกันเพื่อทาเกสร ขนาดตามความเหมาะสมและนามามัดติดกับปลายก้านไม้จิ้มฟันที่พันด้ว ยกระดาษ A 4 เป็ นสี่เหลี่ยมพื้นผ้าไว้แล้วและมัดด้วยด้ายเย็บผ้า 5. นากระดาษอัดกลีบสีหลากสีตามต้องการ จานวน 4 กลีบ มาจับกลีบเพื่อทาดอกรอบเกสรและมัดด้วยด้ายเย็บผ้า 6. นามาบรรจุใส่ถุงพลาสติกเพื่อจาหน่าย ภาพที่ 6.13 การทาดอกไม้จันทน์กลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร ที่มา :นางรุ่งภาณี ปิติยะ
  • 16. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 16 ภาพที่ 6.14 การทาดอกไม้จันทน์ กลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ ภาพที่ 6.15 การทาดอกไม้จันทน์ กลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ 2.7 กลุ่มทากระทงจากเปลือกข้าวโพด กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร บ้านเกาะพิมูล สถานที่ตั้ง 52/2 หมู่ที่ 3 ตาบลลานดอกไม้ตก อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร ป ร ะ ธ า น ก ลุ ่ม น า ง ส น อ ง พุ ่ม น ้อ ย ก ่อ ตั ้ง ม า 5 ปีแ ล ้ว ร า ย ไ ด ้ต่ อ ปี ร ว ม ทั้ ง ห มู่ บ้ า น 5,000,000 บ า ท ต่ อ ปี ตั้ ง ต้ น เ ริ่ ม จ า ก ก า ร ก ว น ก ร ะ ย า ส า ร ท
  • 17. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 17 แล้วหารายได้เพิ่มจากการทากระทงจากเปลือกข ้าวโพดเลี้ยงสัตว ์ ปลูกกันเองในไร่ในนาของตัวเอง และมีคนนามาขาย กิโลกรัมละ 50 บ า ท ส่ ว น ด อ ก ห ญ้ า ต้ อ ง ไ ป เ ก็ บ ต า ม ทุ่ ง น า แต่ส่วนมากจะมีในฤดูฝนบางครั้งซื้อจากคนที่เก็บมาขายด้วย ก า บ ม ะ พ ร ้ า ว มี ค น ป า ด ข า ย ลู ก ล ะ 5 บาทรูปแบบกระทงมีแนวคิดมาจากใบตอง อย่างเช่นรูปพระยานาค น ก ยู ง แ ล ะ คิ ด รู ป แ บ บ ใ ห ม่ ๆ อ ยู่ เ ส ม อ ต ล า ด ข า ย ก ร ะ ท ง คื อ ต ล า ด ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ตลาดหลักคือตลาดไทและลูกค้าส่วนใหญ่จะนาไปขายตามวัดปัจจุบันเริ่ ม ต ิด ต ่อ ส ่ง ข า ย อ อ ก น อ ก ป ร ะ เ ท ศ เ ช่น ข า ย ที่ป ร ะ เ ท ศ ล า ว และรับเป็ นวิทยากรสอนทากระทงด้วย วิธีทากระทงจากเปลือกข้าวโพด 1. นาเปลือกข้าวโพดตากให้แห้ง 2. นาเปลือกข้าวโพดที่แห้งแล้วมาย้อมสี ใช่สีเคมี 3. นาเปลือกข้าวโพดที่ย้อมสีแล้วมาตากเพื่อให้สีที่ย้อมแห้ง 4. นาเปลือกข้าวโพดที่ย้อมสีแห้งแล้วมาตัดเป็ นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า 5. นาน้ามาฉีดเรื่อย ๆ เพื่อให้เปลือกข้าวโพดที่ตัดเป็ นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแล้วไม่แห้งขณะจับเป็ น กลีบโดยใช ้ที่เย็บกระดาษเย็บให้เป็ นกลีบตามต้องการ 6. นากลีบที่ได้มาเข้ารูปเพื่อให้สวยงามและนามาสลับสีเป็ นลายต่าง ๆ 7. นากาบมะพร ้าวที่เตรียมไว้มาเข้ารูปกระทงโดยใช ้ตะปูขั้นตอนสุดท้ายนา ดอกหญ้าที่ย้อมเป็ นสีต่าง ๆ มาตกแต่ง
  • 18. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 18 ภาพที่ 6.16 กระทงจากเปลือกข้าวโพด ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ 2.8 การทาดอกไม้จากผ้าใยบัว การทาดอกไม้จากผ้าใยบัวเริ่มแรกเกิดจากความดิดของนาง สุ ว ภั ท ร ์ พันธ์สมพงษ์ซึ่งมีความคิดว่าการมอบดอกไม้เพื่อแสดงความยินดีในโอกา ส ต่ า ง ๆ ถ้ามอบดอกไม้ที่เป็ นดอกไม้สดเมื่อเวลาผ่านไปนานดอกไม้ก็เหี่ยวแห้งแล ะ ทิ ้ง ใ น ที ่ส ุด จึงเกิดความคิดจะประดิษฐ ์ดอกไม้แห้งเพื่อมอบเป็ นของขวัญในโอกาสต่ า ง ๆ โดยเริ่มไปศึกษาเกี่ยวกับวิธีทาดอกไม้แห้งจากผู้ที่ทาดอกไม้แห้งที่หมู่บ้า น เ พ ช ร ช ม ภู ต า บ ล เ พ ช ร ช ม ภู อ า เ ภ อ โ ก สั ม พี น ค ร จังหวัดกาแพงเพชรจึงกลับมาฝึ กทาเองจนสามารถทาดอกไม้แห้งได้ แ ล ะ ค ิด อ อ ก แ บ บ ด อ ก ไ ม ้ด ้ว ย ต น เ อ ง ใ น ร ูป แ บ บ ต ่า ง ๆ เ ช ่น ทา เ ป็ น แ จ ก ัน ดอกไม้จากผ้าใยบัว ช่อดอกไม้จากผ้าใย บัว กระเช้าดอกไม้จากผ้าใยบัว กระถางดอกไม้จากผ้าใยบัว ปี พ.ศ. 2554ได้ทาแจกันดอกไม้จากผ้าใยบัวส่งประกวดสินค้าOTOPระดับอาเภอ โ ก สั ม พี น ค ร จั ง ห วั ด ก า แ พ ง เ พ ช ร และได้รับคัดสรรไปประกวดระดับจังหวัดกาแพงเพชร ได้รับคัดสรร ระดับ 3 ด า ว แ ล ะ เ ป็ น วิ ท ย า ก ร ใ ห้ ศู น ย์ ก า ร ศึ ก ษ า น อกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอโกสัมพีนครเพื่อสอนการทาด อกไม้ให้แก่สมาชิกกลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร หมู่ที่ 22 ตาบลโกสัมพี อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร ค่าตอบแทน วิทยากรวันละ 3,000 บาท สาหรับดอกไม้จากผ้าใยบัว เช่น แจกันดอกโอเลี่ยมแบบกระถาง ข า ย ร า ค า 299 บ า ท ข า ย ต า ม ก า ร สั่ ง ข อ ง ลู ก ค้ า
  • 19. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 19 ข า ย ใ น ง า น น พ พ ร ะ เ ล่ น เ พ ล ง จั ง ห วั ด ก า แ พ ง เ พ ช ร และในงานสารทไทยกล้วยไข่กาแพงเพชร เป็ นต้น วัสดุอุปกรณ์ 1. ผ้าใยบัว 1 ผืน (ยาวผืนละ 80 เซนติเมตร)ราคา 30 บาท 2. ลวด 1 เส้น ราคาเส้นละ 1 บาท 3. ก้านดอกไม้ 1 ก้านราคาก้านละ 2 บาท 4. ลูกโฟม 1 ลูกราคา ลูกละ 5 บาท 5. กระถาง 1 กระถาง ราคา 35 บาท 6. โฟมจัดดอกไม้(โอเอซิสแห้ง) 1 ก้อน ราคาก้อนละ 25 บาท 7. อุปกรณ์แต่งกระถาง 1 ห่อ ราคาห่อละ 20 บาท วิธีทาดอกไม้แห้ง (ดอกโอเลี่ยม) 1. นาลูกโฟมมาทาสีให้เข้ากับสีผ้าที่ใช ้ทาดอกขดลวด 5 ครั้ง จับให้ได้ 5 แฉกทาดอกทั้งหมดจานวน 52 ดอก 2. นาผ้าใยบัวหุ้มลวดเพื่อทาเป็ นดอก โดยมีก้านลวดเหลือยาวไว้สาหรับเสียบลูกโฟม 3. นาลูกโฟมเสียบกับก้านโดยนาก้านไปจุ่มกับกาวลาเท็กซ ์ก่อนเพื่อจะได้ติ ดไม่หลุด 4. นาดอกที่ทาไว้ 52 ดอกมาเสียบรอบลูกโฟม 5. ทาใบสองใบโดยใช ้ลวดโค้งทาตามลักษณะใบที่เราต้องการและใช ้ผ้าใยบั วคลุม 6. ลวดที่เป็ นโครงรูปใบแล้วใช ้ด้ายเย็บผ้ามัดกกใบให้แน่น 7. นาลูกโฟมที่เสียบดดอกครบ จานวน 52 ดอก มาติดใบที่ก้านของลูกโฟมโดยพันฟอร่าเทปที่ก้านตั้งแต่บริเวณปลายก้า นที่ติดกับลูกโฟมลงมาจนถึงบริเวณที่ติดใบจนสุดก้าน 8. ทาดอกโอเลี่ยมที่สมบูรณ์ จานวนทั้งหมด 4 ดอก
  • 20. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 20 9. ต ก แ ต่ ง ก ร ะ ถ า ง โ ด ย น า โ ฟ ม จั ด ด อ ก ไ ม้ (โอเอซิส)ใส่ในกระถางและใส่อุปกรณ์ตกแต่งกระถางบนโฟมจัดดอกไม้(โ อ เ อ ซิ ส ) เ พื่ อ ค ว า ม ส ว ย ง า ม จากนั้นจึงนาดอกโอเลี่ยมที่สมบูรณ์เสียบกระถาง ภาพที่ 6.17 ดอกโอเลี่ยมทาจากผ้าใยบัวโดย นางสุวภัทร ์ พันธ์สมพงษ์ ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ ภาพที่ 6.18 การทาดอกไม้จากผ้าใยบัวกลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ
  • 21. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 21 ภาพที่ 6.19 การทาดอกไม้จากผ้าใยบัว กลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ 2.9 กลุ่มทาน้ายาล้างจาน และ น้ายาซักผ้า กลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร นางสุวภัทร ์พันธ์สมพงษ์ ประธานกลุ่มองค์กรสตรีของอาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร และสมาชิกกลุ่มทาน้ายาล้างจานและน้ายาซักผ้า ไ ด ้ท า น้ า ย า ล ้า ง จ า น แ ล ะ น้ า ย า ซ ัก ผ ้า เพื่อจาหน่ายแก่ผู้ที่มาซื้อที่บ้านตนเองและขายในหมู่บ้านตนเองรวมทั้งห มู ่บ ้า น ใ ก ล ้เ ค ีย ง ซึ ่ง ท า ใ ห ้ม ีร า ย ไ ด ้ส า ห ร ับ ค ร อ บ ค ร ัว ต้นทุนการผลิตซื้อส่วนผสมจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การ เกษตร ราคาชุดละ 200 บาท จาหน่ายน้ายาล้างจานได้ประมาณ 400 บ า ท โ ด ย ข า ย ที ่บ ้า น ข อ ง น า ง ส ุว ภ ัท ร ์ พ ัน ธ ์ส ม พ ง ษ ์ ผู้ซื้อคือคนในหมู่บ้านและคนในหมู่บ้านใกล้เคียง 2.9.1 การทาน้ายาล้างจาน ส่วนผสม 1. N70 จานวน 1 กิโลกรัม 2. F – 24 จานวน 1 กิโลกรัม 3. กรดมะนาว จานวน 1 ขีด
  • 22. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 22 4. ผงฟอง จานวน 2 ขีด 5. น้าหอม จานวน 20 ซีซี. 6. สารกันเสีย จานวน 10 ซีซี. 7. น้าสะอาด จานวน 15 ลิตร 8. สีผสมอาหาร จานวนตามต้องการ วิธีทา 1. นา N 70 ผสมลงในภาชนะที่เตรียมไว้ผสมกับ F - 24 กวนให้ไปในทาง เดียวกันห้ามกวนสวนทาง ถ้าข้นเกินให้ใช ้น้าสะอาดอุ่น ๆ เติมพอประมาณกวนไปเรื่อย ๆ จนเป็ นเนื้อเดียวกันใส 2. นากรดมะนาว ผสมน้าใส่ภาชนะอื่นก่อนแล้วกวนให้ละลายแล้วนาไปเติมในน้า N 70 ที่ผสมกับ F- 24 ที่กวนเข้ากันแล้วและกวนให้เข้ากันโดยใช้พายระยะกวนประมาณครึ่งชั่ว โมง 3. นาผงฟองละลายน้าผสมลงไปกวนให้เข้ากัน 4. เติมสารกันเสียและสีที่ละลายน้าแล้วลงไปกวนให้เข้ากัน 5. เติมน้าลงไปกวนอีก 10 นาที 6. เติมน้าประมาณ 17-18 ลิตร พักไว้ 1 คืน จนไม่มีฟอง 7. ใส่ผงข้นเกลือโดยวิธีโรยช ้า ๆ ใช้คนทา 2 คน โดยใช ้คนโรยผงเกลือเติมลงไปในน้ายาล้างจาน 1 คนและ เป็ นผู้กวนน้ายาล้างจานจานวน 1 คน โดยคนช้า ๆ 8. เติมหัวน้าหอมลงไปกวนเบา ๆ เพื่อไม่ให้เกิดฟอง 2.9.2 การทาน้ายาซักผ้า ส่วนผสม 1. เกลือ จานวน 1 กิโลกรัม 2. N 70 จานวน 1 กิโลกรัม 3. F – 24 จานวน 1 กิโลกรัม
  • 23. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 23 4. ฟองเม็ด จานวน 3 ขีด 5. ผงฟอกนวล(คราม) จานวนตามต้องการ 6. สารกันเสีย จานวน 10 ซีซี. 7. หัวน้าหอม จานวน 20 ซีซี. 8. น้าสะอาด จานวน 15 ลิตร วิธีทา 1. ผสมเกลือจานวน 1 กิโลกรัม ในน้า จานวน 1 ลิตร 2. นา N70 ลงในภาชนะที่เตรียมไว้กวน 5 นาที 3. ใส่น้าเกลือลงไปกวน 5 นาที 4. นา F – 24 ผสมลงกวนให้เข้ากัน 5. นาฟองเม็ดละลายน้าผสมลงไปกวนให้เข้ากัน 6. เติมสารกันเสียผสมลงไปกวนให้เข้ากัน 7. เติมครามละลายน้าลงไปกวนให้เข้ากัน 8. พักไว้ 6 ชั่วโมง ให้ฟองอากาศยุบตัว 9. เติมหัวน้าหอมลงไปกวนเบา ๆ เพื่อไม่ให้เกิดฟอง ภาพที่ 6.20 น้ายาซักผ้าและ น้ายาล้างจาน ทาโดยนางสุวภัทร ์ พันธ์สมพงษ์
  • 24. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 24 ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ 3. ด้านโภชนาการ หมายถึง ความสามารถในการเลือกสรร ป ร ะ ดิ ษ ฐ ์ แ ล ะ ป รุ ง แ ต่ ง อ า ห า ร แ ล ะ ย า ได้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกายในสภาวการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนผลิตเป็ นสินค้า และบริการส่งออกได้รับความนิยมแพร่หลาย รวมถึงการขยายคุณค่าเพิ่มของทรัพยากรด้วย 3.1 กลุ่มกระยาสารทบ้านเกาะพิมูลพัฒนา เนื่องจากสภาพปัญหาผลผลิตทางการเกษตรมีมากและราคา ถูกจึงมีการรวมกลุ่มของสตรีที่ประกอบอาชีพทางการเกษตรและเพื่อเป็ นก ารอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีการกวนกระยาสารทแล้วนาไปทาบุญที่วัดซึ่ งเป็ นขนบธรรมเนียมประเพณีไทยมาแต่ดั้งเดิม กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรเกาะพิมูล จึงเริ่มจากแกนนาจานวน 8 คน ได้พูดคุยกันเพื่อรวมกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรโดยมีเจ้าหน้าที่จากสานักงานเก ษตรอาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร ให้คาปรึกษาเพื่อจดทะเบียนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรเกาะพิมูล ชื่อ กลุ่มกระยาสารทบ้านเกาะพิมูลพัฒนา สถานที่ตั้ง 52/2 หมู่ที่ 3ตาบลลานดอกไม้ตก อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร จัดตั้งเมื่อ เดือนกุมภาพันธ์พ.ศ. 2530 สมาชิกกลุ่ม จานวน 20 คน ประธานกลุ่ม นางสนอง พุ่มน้อยเพื่อรับความรู ้เกี่ยวกับการทาผลิตภัณฑ์เพิ่มรายได้ ได้แก่ การกวนกระยาสารท และแปรรูปกล้วยฉาบ เป็ นต้น ได้รับประกาศนียบัตรได้รับการคัดสรรเป็ นผลิตภัณฑ์ระดับสองดาว ปี พ.ศ. 2552ประเภทกระยาสารทงาดา- งาขาวโครงการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ. 2552 รายได้จากการขายกระยาสารทรวมการขายกระทงจากเปลือกข้าวโพด ต่อปีรายได้ทั้งหมู่บ้าน จานวน 5,000,000 บาท ต่อปี สูตรกระยาสารท 1. ถั่วลิสง 2 กิโลกรัม 2. ข้าวเม่า 3 กิโลกรัม 3. งา 3 กิโลกรัม
  • 25. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 25 4. น้าตาลปี๊บ 3 กิโลกรัม 5. มะพร ้าวหั่น 2 กิโลกรัม 6. กะทิสด 5 กิโลกรัม 7. แบะแซ 1 กิโลกรัม วิธีทา น า ก ร ะ ท ะ ตั้ ง ไ ฟ ใ ส่ ก ะ ทิ น้ า ต า ล แ บ ะ แ ซ ม ะ พ ร ้ า ว หั่ น ล ง ผ ส ม ใ ห้ เ ดื อ ด น า น 2 ชั่ ว โ ม ง จ น ส่ ว น ผ ส ม เ ห นี ย ว เ ข้า กั น จึ ง ใ ส่ ข้า ว เ ม่ า ถั่ ว ลิ ส ง ง า คลุกเคล้าให้เข้ากันแล้วยกลง ปล่อยให้เย็น บรรจุใส่ถุง ภาพที่ 6.21 กระยาสารทแม่สนอง พุ่มน้อย ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ ภาพที่ 6.22 กระยาสารทแม่สนอง พุ่มน้อย ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ 3.2 กล้วยฉาบบ้านเกาะพิมูลพัฒนา ชาวอาเภอโกสัมพีนคร ประกอบอาชีพปลูกกล้วย เป็ นอาชีพหลัก เมื่อปลูกกล้วยกันมากขึ้นผลผลิตกล้วยที่ไม่ได้ขนาดตามที่ต้องการอาจจ
  • 26. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 26 ะเหลือทิ้งชาวบ้านจึงนามาแปรรูปเพื่อให้เก็บได้นาน อีกทั้งเป็ นการเพิ่มมูลค่าให้แก่ผลผลิตด้วยกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร บ้านเกาะพิมูลพัฒนา หมู่ที่ 3 ตาบลลานดอกไม้ตก อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชรประธานกลุ่ม นางสนอง พุ่มน้อย ได้สร ้างมูลค่าเพิ่มจากวัตถุดิบในท้องถิ่น ได้แก่ กล้วย โดยนามาแปรรูปเป็ นผลิตภัณฑ์กล้วยฉาบ มีทั้งกล้วยฉาบเค็ม กล้วยฉาบหวาน ทาให้สมาชิกมีรายได้เพิ่ม และเป็ นการส่งเสริมให้สมาชิกในชุมชนปลูกกล้วยและขายให้กลุ่มแม่บ้า นเกษตรกร บ้านเกาะพิมูลพัฒนา เพื่อนาไปแปรรูป ออกสู่ตลาดเป็ นที่ต้องการของผู้บริโภค วัตถุดิบที่ใช ้ในการทากล้วยฉาบ ได้แก่ 1. กล้วย 1 กิโลกรัม 2. น้าตาลทราย 3 ขีด 3. เกลือ 1 ช้อนชา 4. น้ามันสาหรับทอดกล้วย 5. น้าเปล่าครึ่งถ้วย วิธีทา 1. คัดกล้วยขนาดเท่า ๆ กันนามาตัดหัวตัดท้ายแช่น้าเพื่อให้คายยางแล้วจึงปลอกเปลือกแล้วล้าง น้าพักไว้ 2. นาน้ามันพืชที่จะใช ้ทอดกล้วยใส่กระทะพอน้ามันร ้อนสไลด์กล้วยตามคว าม ยาวของผลกล้วยนาไปทอดจนเหลืองตักขึ้นซับน้ามัน 3. นากระทะตั้งไฟใส่น้าเปล่าน้าตาล เกลือ เคี่ยว ให้เป็ นยางมะตูมแล้วใส่กล้วยที่ทอดแล้วคลุกเคล้าน้าตาลจับให้ทั่วกัน 4. รอให้กล้วยเย็นจึงบรรจุถุงจาหน่าย นอกจากจะทากล้วยฉาบแล้วยังผลิต กล้วยอบเนย กล้วยเส้น ที่มีความเอร็ดอร่อยเหมาะกับการรับประทานเป็ นของว่าง และยังเป็ นของฝากอีกด้วย
  • 27. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 27 ภาพที่ 6.23 กล้วยฉาบบ้านเกาะพิมูล ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ ภาพที่ 6.24 กล้วยฉาบบ้านเกาะพิมูล ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ 4. ด้ า น ก า ร แ พ ท ย์ แ ผ น ไ ท ย ห ม า ย ถึ ง ความสามารถในการจัดการป้ องกันและรักษาสุขภาพของคนในชุมชน โดยเน้นให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองทางด้านสุขภาพและอนามัยได้ เ ช่ น ย า จ า ก ส มุ น ไ พ ร อั น มี ห ล า ก ห ล า ย การนวดแผนไทยการดูแลและรักษาสุขภาพแบบพื้นบ้าน เป็ นต้น การนวดแผนไทย พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 บทนิยาม มาตรา 4 การนวดไทย หมายความว่า การตรวจประเมิน การวินิฉัย การบาบัด การป้ องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพและการฟื้นฟูสุขภาพ ด้วยวิธีการกด การคลึง การบีบ การจับ การดัด การประคบ การอบ ห รื อ วิ ธี ก า ร อื่ น ต า ม ศิ ล ป ะ ก า ร น ว ด ไ ท ย
  • 28. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 28 ห รื อ ก า ร ใ ช้ ย า ต า ม ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย ย า ทั้งนี้ด้วยกรรมวิธีการแพทย์แผนไทย ชาวอาเภอโกสัมพีนคร ได้สืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือ ภู มิ ปั ญ ญ า ช า ว บ้ า น ด้ า น ก า ร น ว ด แ ผ น ไ ท ย ที่เกิดขี้นจากการเรียนรู ้ด้วยตนเองหรือได้รับการถ่ายทอดต่อๆ กันมาจากบรรพบุรุษสาหรับใช้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น และการปรับตัวในการดาเนินชีวิตเช่น นางแสงระวี พรหมมา อายุ 44 ปี บ้านเลขที่ 167 หมู่ที่ 5 ตาบลเพชรชมภู อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร ประกอบอาชีพรับจ้างทางานในโรงงาน ที่ จั ง ห วั ด ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร ปี พ . ศ . 2550 ได้ลาออกจากงานจึงไปสมัครฝึกการแพทย์แผนไทยด้านการนวดแผนไท ยที่ศูนย์สปาร ์ที่เขตมีนบุรี จังหวัดกรุงเทพมหานครใช้เวลาในการฝึก 4 เ ดื อ น ฝึ ก แ บ บ เ ช ล ย ศั ก ดิ์แ ล ะ แ บ บ ร า ช ส า นั ก ปั จ จุ บั น รับจ้างนวดทั่วไปตามหมู่บ้านไหล่ประดา และหมู่บ้านใกล้เคียง ในตาบลเพชรชมภู อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร และนวดที่ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอโก ส ัม พ ีน ค ร ( ก ศ น . ) ม ีร า ย ไ ด ้ ชั ่ว โ ม ง ล ะ 100 บ า ท บางครั้งเป็ นวิทยากรเกี่ยวกับการนวดแผนไทยให้ความรู ้แก่ประชาชนชาว อาเภอโกสัมพีนคร
  • 29. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 29 ภาพที่ 6.25 การนวดแผนไทย โดยนางแสงระวี พรหมมา บ้านไหล่ประดา ตาบลเพชรชมภู อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร ที่มา : นางรุ่งภาณี ปิติยะ สรุป อ า เ ภ อ โ ก สั ม พี น ค ร จั ง ห วั ด ก า แ พ ง เ พ ช ร มีภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างหลากหลาย เช่น การเพาะเห็ดนางฟ้ า ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ฟ อ ร ์นิ เ จ อ ร ์ไ ม้ สั ก ก า ร แ ก ะ ส ลั ก ไ ม้ การผลิตกระถางและกระเช ้ากล้วยไม้ที่ทามาจากการนาเศษไม้ที่เหลือใช ้ ม า ดั ด แ ป ล ง ก า ร ตั ด เ ย็ บ ชุ ด ชั้ น ใ น การทาแปลจากเศษผ้าการสานกระเป๋ าและตระกร ้าด้วยเส้นพลาสติก ก า ร ท า ด อ ก ไ ม้จัน ท น์ ก า ร ท า ก ร ะ ท ง จ า ก เ ป ลือ ก ข้า ว โ พ ด การทาดอกไม ้จากผ ้าใยบัว การทาน้ายาล ้างจานและน้ายาซ ักผ ้า การทากระยาสารท การทากล ้วยฉาบและ การนวดแผนไทย จึงควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ให้อนุชนรุ่นหลังได้สืบทอดสืบไป กิจกรรม เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่น
  • 30. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 30 กิจกรรม เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร มีจานวน 3 ตอน (คะแนน 30 คะแนน) คาสั่งให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างให้สมบูรณ์ (คะแนน 10 คะแนน) (ข้อละ 1 คะแนน) 1. ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึงอะไร 2. ภูมิปัญญาท้องถิ่นมีความสาคัญอย่างไร 3. ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร ในด้านเกษตรกรรม มีอะไรบ้าง 4. ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร ในด้านอุตสาหกรรมและหัตกรรม มีอะไรบ้าง 5. ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร ในด้านแพทย์แผนไทย มีอะไรบ้าง คาชี้แ จง ตอน ที่ 1
  • 31. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 31 6. ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร ในด้านโภชนาการ มีอะไรบ้าง 7. ให้นักเรียนยกตัวอย่างภูมิปัญญาท้องถิ่นในหมู่บ้านของนักเรียน (ตามที่มีในหมู่บ้าน) 8. ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวอาเภอโกสัมพีนครกลุ่มใดที่ผลิตจากเศษวัสดุเ หลือใช้ 9. ถ้านักเรียนได้มีโอกาสผลิตสินค้าหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ นักเรียนจะเลือกทาอะไร เพราะอะไร 10. ภูมิปัญญาท้องถิ่นใดที่ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ทางด้านสุขภาพแล ะอนามัย
  • 32. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 32 คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างซึ่งเป็ นชื่อหมู่บ้านที่มีความสัมพันธ์กัน (คะแนน 10 คะแนน) (ข้อละ 1 คะแนน) 1. การเพาะเห็ดนางฟ้ า ก ร 2. การทาเปลจากเศษผ้า น บ 3. การตัดเย็บชุดชั้นใน อ ม 4. กลุ่มสานตะกร ้าด้วยเส้นพลาสติก บ้ ดื่ ชุ 5. ทาเฟอร ์นิเจอร ์ไม้สัก วั ห 6. การทาดอกไม้จันทน์ น ร 7. การทากระทงจากเปลือกข้าวโพด ก ม 8. การทาดอกไม้จากผ้าใยบัว ม เ 9. กลุ่มกระยาสารท ตอน ที่ 2
  • 33. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 33 ก ล 10. การนวดแผนไทย ห ป คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกข้อ ก ข ค และ ง ไปเติมหน้าข้อที่มีความสัมพันธ์กัน (ซ้ากันได้) (คะแนน 10 คะแนน) (ข้อละ 1 คะแนน) ก. ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในด้านเกษตรกรรม ข. ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรม ค. ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในด้านแพทย์แผนไทย ง. ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในด้านโภชนาการ ค ตอน ที่ 3 1 . 10 . 2 . 3 . 4 . 5 . 6 . 7 . 8 . 9 .
  • 34. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 34 แบบทดสอบเป็ นแบบเลือกตอบมี 4 ตัวเลือกให้เลือกเพียงคาตอบที่ถูกต้อง เพียงคาตอบเดียว มีจานวน 10 ข้อ คะแนน 10 คะแนน ใช้เวลา 10 นาที คาสั่ง ให้นักเรียนทาเครื่อง ( X ) ทับหน้าคาตอบที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว 1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านเกษตรกรรม คือข้อใด 1. การเพาะเห็ด 2. การทากล้วยฉาบ 3. การทาโต๊ะไม้สัก 4. การทาดอกไม้ประดิษฐ ์ 2. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรมคือข้อใด 1. การเพาะเห็ด 2. การทากล้วยฉาบ 3. การนวดแผนไทย 4. การทาดอกไม้ประดิษฐ ์ 3. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านโภชนาการ คือข้อใด 1. การเพาะเห็ด 2. การเปลจากเศษผ้า 3. การทากระยาสารท 4. การทาดอกไม้ประดิษฐ ์ 4. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการแพทย์แผนไทย คือข้อใด แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่น คาชี้แ จง
  • 35. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 35 1. การทากล้วยฉาบ 2. การนวดแผนไทย 3. การทาดอกไม้จันทร ์ 4. การทากระถางดอกไม้จากเศษไม้ 5. N 70 เป็ นส่วนผสมของการทาสิ่งใด 1. การทากล้วยฉาบ 2. การทาน้ายาล้างจาน 3. การทากระทงจากเปลือกข้าวโพด 4. การทากระถางดอกไม้จากเศษไม้ 6. ที่บ้านลานดอกไม้ตกมีผลิตภัณฑ์ใดที่ขึ้นชื่อ 1. น้ายาล้างจาน 2. การเพาะเห็ดนางฟ้ า 3. การทากระทงจากเปลือกข้าวโพด 4. การทากระถางดอกไม้จากเศษไม้ 7. นักเรียนคิดว่าอาชีพใดที่น่าจะมีการลงทุนต่าสุด 1. การนวดแผนไทย 2. การทากระยาสารท 3. การเพาะเห็ดนางฟ้ า 4. การทาดอกไม้จันทน์ 8. ภูมิปัญญาในข้อใดที่แตกต่างจากข้ออื่น 1. การทากระยาสารท 2. การตัดเย็บชุดชั้นใน 3. การทาดอกไม้จันทน์ 4. การทาดอกไม้จากผ้าใยบัว 9. ข้อใดไม่ใช่ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของชาวโกสัมพีนคร 1. การทากล้วยฉาบ 2. การทากุนเชียงปลา 3. การทากระยาสารท 4. การทาดอกไม้จันทน์
  • 36. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 36 10. บ้านเกาะพิมูลพัฒนา มีผลิตภัณฑ์ใดที่ขึ้นชื่อ 1. ชุดชั้นใน 2. เตาไร ้ควัน 3. กระยาสารท 4. เฟอร ์นิเจอร ์ไม้สัก บรรณานุกรม กรมส่งเสริมการเกษตร. แผนพัฒนาการเกษตรระดับตาบล ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี การเกษตร ประจาตาบลเพชรชมภู จ.กาแพงเพชร. 2555. (อัดสาเนา) กรมส่งเสริมการเกษตร. แผนพัฒนาการเกษตรระดับตาบล ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี การเกษตร ประจาตาบลลานดอกไม้ตก จ.กาแพงเพชร. 2555. (อัดสาเนา) กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เกาะพิมูลพัฒนา จังหวัดกาแพงเพชร. (ม.ป.ป.). พัฒนาแหล่งเรียนรู ้ ด้าน เคหกิจเกษตร [แผ่นพับ]. ม.ป.ท. โชติรสา บุญโท. เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน. (2555). แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. 2558 – 2560) [แผ่นซีดี]. กาแพงเพชร : องค์การบริหารส่วนตาบลลานดอกไม้ตก. ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 3 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. (ม.ป.ป.). การพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์ไม้สักกาแพงเพชร [แผ่นพับ]. ม.ป.ท. สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.). (2550). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู ้พิ้นฐาน : ภูมิศาสตร ์: เศรษฐศาสตร ์: หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม กลุ่มสาระการ
  • 37. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 37 เรียนรู ้สังคมศึกษา ศาสนาละวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.). สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.). (2550). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู ้พื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม ม.6. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.). สานักงานการปกครองอาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร. “ บรรยายสรุปอาเภอโกสัมพีนคร ” 2556. (เอกสารอัดสาเนา) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาแพงเพชร เขต 1 และ เขต 2. (ม.ป.ป.). บทอาขยานระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ความงดงามแห่งความทรงจาในดินแดนเมืองคนแกร่งกาแพงเพ ชร. กรุงเทพฯ : เอกพิมพ์ไท. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาแพงเพชร เขต 1 และ เขต 2. (ม.ป.ป.). บทอาขยานระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ความงดงามแห่งความทรงจาในดินแดนเมืองคนแกร่งกาแพงเพ ชร. กรุงเทพฯ : เอกพิมพ์ไท. สานักงานพัฒนาชุมชน อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร. OTO P หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ปี พ.ศ. 2556. 2556. (อัดสาเนา) องค์การบริหารส่วนตาบลโกสัมพี จังหวัดกาแพงเพชร. แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. 2555–2557). 2555. (อัดสาเนา)
  • 38. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 38 องค์การบริหารส่วนตาบลโกสัมพี จังหวัดกาแพงเพชร. (2553). รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจาปี 2553. กาแพงเพชร : ปริญญาการพิมพ์. องค์การบริหารส่วนตาบลเพชรชมภู จังหวัดกาแพงเพชร. รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจาปี 2555. 2555. (อัดสาเนา)
  • 39. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 39 ภาคผนวก - เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - เฉลยกิจกรรม เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร ตอนที่ 1 - เฉลยกิจกรรม เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร ตอนที่ 2 - เฉลยกิจกรรม เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร ตอนที่ 3 - เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน - กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน - แบบบันทึกคะแนน - สารบัญภาพ
  • 40. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 40 ข้อ คาตอบ 1 2 2 1 3 4 4 3 5 1 6 2 7 3 8 1 9 3 10 2 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัม
  • 41. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 41 กิจกรรม เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร มีจานวน 3 ตอน (คะแนน 30 คะแนน) คาสั่ง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างให้สมบูรณ์ (คะแนน 10 คะแนน) (ข้อละ 1 คะแนน) 1. ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึงอะไร ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงความรู ้ที่เกิดจากการเรียนรู ้ด้วย ตนเอง หรือความรู ้ที่ได้รับการถ่ายทอดต่อ ๆ กันมาจากบรรพบุรุษสู่ลูกหลาน 2. ภูมิปัญญาท้องถิ่นมีความสาคัญอย่างไร ใช ้แก้ปัญหาในท้องถิ่นนั้น ๆ ทาให้เกิดความภาคภูมิใจ สามารถนาไปประกอบอาชีพและ ก่อให้เกิดรายได้ 3. ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร ในด้านเกษตรกรรม มีอะไรบ้าง การเพาะเห็ดนางฟ้ า 4. ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร ในด้านอุตสาหกรรมและหัตกรรม มีอะไรบ้าง - การทาเปลจากเศษผ้า - การตัดเย็บชุดชั้นใน เฉลยกิจกรรม เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่น อาเภอโกสัมพีนคร คาชี้แ จง ตอน ที่ 1
  • 42. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 42 - การตะกร ้าด้วยเส้นพลาสติก - การทาน้ายาล้างจานและน้ายาซักผ้า - การทาเฟอร ์นิเจอร ์ไม้สัก - การทาพรมเช็ดเท้าจากเศษผ้ - การทาดอกไม้จันทน์ - การทาพวงกุญแจตุ๊กตา - การทากระทงจากเปลือกข้าวโพด - การทาเตาปิ้งย่างไร ้ควัน - การทาดอกไม้จากผ้าใยบัว - การน้าขวดพลาสติกที่ใช ้แล้วมาทาดอกไม้ใส่แจกัน 5. ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร ในด้านแพทย์แผนไทย มีอะไรบ้าง การนวดแผนไทย การรักษาด้วยการรับประทานยาสมุนไพร การอบสมุนไพร การนา สมุนไพร มาทาเป็ นยาทาภายนอกเช่นว่านหางจระเข้ 6. ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร ในด้านโภชนาการ มีอะไรบ้าง น้าพริก กระยาสารท กล้วยฉาบ น้าส้มเกร็ดหิมะผลไม้ดองกล้วยกวน ผลไม้แช่อิ่ม ขนมไทย โบราณ ขนมเครื่องขยาบวช ผักดอง 7. ให้นักเรียนยกตัวอย่างภูมิปัญญาท้องถิ่นในหมู่บ้านของนักเรียน (ตามที่มีในหมู่บ้าน) การตัดเย็บชุดชั้นใน การเพาะเห็ดนางฟ้ าการทาเฟอร ์นิเจอร ์ไม้สัก การทากระทงจากเปลือก ข้าวโพด การทากระยาสารท การทาเปลจากเศษผ้า การทาพรมเช็ดเท้าจากเศษผ้า การทา ดอกไม้จันทน์ การสานตระกร ้าด้วยเส้นพลาสติก การนวดแผนไทย กล้วยฉาบ น้าพริก 8. ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวอาเภอโกสัมพีนครกลุ่มใดที่ผลิตจากเศษวัสดุเ หลือใช้
  • 43. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 43 กลุ่มทากระทงจากเปลือกข้าวโพด การทาเปลจากเศษผ้ากลุ่มทากระถางและกระเช้ากล้วยไม้ ที่ทามาจากการนาเศษไม้ที่เหลือใช ้ 9. ถ้านักเรียนได้มีโอกาสผลิตสินค้าหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ นักเรียนจะเลือกทาอะไร เพราะอะไร การทาเปลจากเศษผ้า เพราะใช้ต้นทุนน้อยมาก ใช ้เวลาในการทาไม่นาน การเรียนรู ้เพื่อทาเปล ไม่ยากทาได้โดยง่ายใช ้เวลาในการศึกษาและฝึกทาน้อย ขายง่ายเพราะเป็ นประโยชน์ต่อ ทุกครอบครัวประเทศไทยมีอากาศร ้อนคนไทยชอบผูกเปลนอนเล่นบริเว ณใต้ต้นไม้ 10. ภูมิปัญญาท้องถิ่นใดที่ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ทางด้านสุขภาพแล ะอนามัย การนวดแผนโบราณด้านการแพทย์แผนไทย ตอน ที่ 2
  • 44. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร หน้า 44 คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างซึ่งเป็ นชื่อหมู่บ้านที่มีความสัมพันธ์กัน (คะแนน 10 คะแนน) (ข้อละ 1 คะแนน) 1. การเพาะเห็ดนางฟ้ า บ้ า น เ ก า ะ ร า ก เ สี ย ด 2. การทาเปลจากเศษผ้า บ้ า น ห น อ ง บ ง 3. การตัดเย็บชุดชั้นใน บ้ า น ค ล อ ง แ ต ง โ ม 4. กลุ่มสานตะกร ้าด้วยเส้นพลาสติก บ้ า น ม ะ เ ดื่ อ ชุ ม พ ร 5. ทาเฟอร ์นิเจอร ์ไม้สัก บ้ า น วั ง ใ ห ม่ 6. การทาดอกไม้จันทน์ บ้ า น ม ะ เ ดื่ อ ชุ ม พ ร 7. การทากระทงจากเปลือกข้าวโพด บ้ า น เ ก า ะ พิ มู ล 8. การทาดอกไม้จากผ้าใยบัว บ้ า น ม ะ เ ดื่ อ ชุ ม พ ร 9. กลุ่มกระยาสารท บ้ า น เ ก า ะ พิ มู ล 10. การนวดแผนไทย บ้ า น ไ ห ล่ ป ร ะ ด า ตอน ที่ 3