SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
รายวิชาพื้นฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ
วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.4-6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
กิจกรรมทางด้านเศรษฐศาสตร์
ขอบข่าย เป้าหมาย
ของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์
ความหมาย ความสาคัญ
ของวิชาเศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจาวัน
วิชาเศรษฐศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษา
เกี่ยวกับมนุษย์และสังคม ในการเลือกใช้
วิธีการในการนาเอาทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง
จากัดมาผลิตสินค้าและบริการเพื่อสนอง
ความต้องการ และหาทางที่จะจาแนก
แจกจ่ายไปยังประชาชนในสังคม เพื่อให้มี
การกินดีอยู่ดีและมีความเป็นธรรมทั้งใน
ปัจจุบันและอนาคต
ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์
ความสาคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์
ช่วยในการตัดสินใจของประชาชน
• ช่วยให้สมาชิกในครอบครัวสามารถตัดสินใจบริหาร
รายรับ–รายจ่าย และการออมได้
• ช่วยให้สมาชิกในครอบครัวมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
• ช่วยให้ผู้ประกอบการลดต้นทุนการผลิต เพิ่มกาไร
และใช้ทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
ช่วยสร้างความเข้าใจของประชาชนเกี่ยวกับนโยบายของรัฐ
• ประชานชนทั่วไปสามารถเข้าใจการดาเนินโยบายทางเศรษฐกิจด้านต่างๆ ของรัฐบาล
• ประชาชนให้ความร่วมมือเพื่อผลักดันให้นโยบายของรัฐประสบความสาเร็จ
• รัฐสามารถดาเนินโยบายทางเศรษฐกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
• ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดีอันเนื่องมาจากการดาเนินนโยบาย
ของรัฐประสบผลสาเร็จ
ช่วยสร้างองค์ความรู้ในการบริหารงาน
• ผู้บริหารระดับต่างๆ ทั้งระดับหน่วยธุรกิจ
หรือระดับประเทศ สามารถใช้หลัก
เศรษฐศาสตร์ช่วยวิเคราะห์ข้อเท็จจริงของ
เหตุการณ์และปัญหาทางเศรษฐกิจ
• ช่วยให้ผู้บริหารทั้งในภาครัฐและเอกชน
สามารถตัดสินใจทางเศรษฐกิจได้อย่างมี
เหตุผล
• ช่วยให้ภาคเอกชนบริหารรายรับและต้นทุน
ได้อย่างเหมาะสม
ช่วยสร้างผลประโยชน์ให้เกิดกับประเทศชาติ
• ช่วยรักษาผลประโยชน์ของชาติทางด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศ
• ประเทศชาติมีรายได้เข้าประเทศอย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย
• ประเทศสามารถนางบประมาณและรายได้ไปใช้พัฒนาประเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุด
• ประชาชนมีงานทา มีรายได้สูง
และมีมาตรฐานค่าครองชีพสูงขึ้น
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (microeconomics)
• มุ่งศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจในส่วนย่อย
ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเศรษฐกิจทั้งระบบ
• ศึกษาเกี่ยวกับการบริโภคการเป็นเจ้าของ
ทรัพย์สิน และพฤติกรรมขององค์กรหรือผู้ผลิต
• ศึกษาการจัดสรรทรัพยากรในการผลิตสินค้า
และบริการ
• ศึกษาการกาหนดราคาสินค้าและบริการ
• ศึกษาการกระจายสินค้าจากผู้ผลิตไปยัง
ผู้บริโภค
ขอบข่ายของวิชาเศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์มหภาค (macroeconomics)
• ศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจส่วนรวม
• ศึกษาเกี่ยวกับรายได้– รายจ่ายประชาชาติ
• ศึกษาภาวการณ์จ้างงาน การออม
การลงทุนการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ
• ศึกษาปัญหาทางเศรษฐกิจในภาพกว้างกว่า
เศรษฐกิจจุลภาคที่มีผลกระทบต่อหน่วย
การผลิตและอุตสาหกรรมทั้งหมด
• ศึกษาถึงอิทธิพลของปัจจัยที่มีผลต่อรายได้
ประชาชน
• ค้นหาเครื่องมือหรือแนวทางต่างๆทีช่วยรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจอย่าง
มีประสิทธิภาพ
เศรษฐศาสตร์ตามความเป็นจริงหรือเศรษฐศาสตร์พรรณนา
(positive or descriptive economics)
• มุ่งอธิบายเรื่องที่เกิดขึ้นทางเศรษฐกิจ เรื่องที่เป็นอยู่ และเรื่องที่จะเกิดขึ้นว่า
เป็นอย่างไร รวมถึงอธิบายปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจต่างๆ ซึ่งเป็นผลมาจาก
การเลือก การตัดสินใจ ของบุคคลหรือสังคม
ตัวอย่าง
การเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ามีสาเหตุมาจากปัญหาภาวะเศรษฐกิจภายนอกประเทศทาให้
ไม่สามารถส่งสินค้าไปยังต่างประเทศได้ตามเป้าหมายจึงต้องลดการผลิตลง ลดการจ้างงาน
ส่งผลให้อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
เศรษฐศาสตร์ที่ควรจะเป็นหรือเศรษฐศาสตร์นโยบาย
(normative or policy economics)
ตัวอย่าง
ประเทศไทยควรจะนากฎหมายที่ดินและสิ่งปลูกสร้างและภาษีมรดก
มาใช้เพื่อทาให้รัฐมีรายได้เพิ่มขึ้น
• อธิบายถึงสิ่งที่ควรจะมีหรือควรจะเป็นในระบบเศรษฐกิจ โดยอาจจะ
เกิดขึ้นหรือไม่เกิดขึ้นตามที่คาดหมายไว้ก็ได้
วิชาเศรษฐศาสตร์มีเป้าหมายสาคัญที่มุ่งเน้นให้ความรู้แก่ประชากรในเรื่องการจัดสรร
ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดเพื่อนามาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยกลุ่มบุคคลต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น
ผู้บริโภค ผู้ประกอบการและผู้บริหารองค์กรของรัฐ ล้วนเกี่ยวข้องกับวิชาเศรษฐศาสตร์ทั้งสิ้น
เป้าหมายของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์
ผู้บริโภค ช่วยทาให้ผู้บริโภครู้จักการตัดสินใจเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง
จากัดในการบริโภคและใช้ในทางที่ดีที่สุด เพื่อก่อใหเกิดประโยชน์ในอนาคต
รวมทั้งมีความรู้ความเข้าใจในสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ และสามารถปรับตัวได้
ภายใต้ความผันผวนทางเศรษฐกิจ
ผู้บริหารในองค์กรของรัฐ ช่วยให้ผู้บริหารในองค์กรของรัฐมีความรู้ความ
เข้าใจในเรื่องการจัดสรรทรัพยากรอย่างเหมาะสม มีความสามารถในการวาง
นโยบายเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ รู้จักใช้นโยบายและมาตรการ
ต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการสร้างโครงการต่างๆ เพื่อพัฒนา
เศรษฐกิจให้สามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้
เป้าหมาย
ของ
วิชาเศรษฐศาสตร์
ผู้ประกอบการผลิต ช่วยทาให้ผู้ประกอบการมีความรู้ความสามารถในการวางแผน
การผลิต การพยากรณ์การผลิตเพื่อเสนอความต้องการของผู้บริโภคได้อย่างถูกต้อง
ในขณะเดียวกันก็มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ปัจจัยการผลิต เพื่อจะทาให้ต้นทุน
การผลิตต่าที่สุด และสามารถแข่งขันได้กับธุรกิจอื่นๆ
ในปัจจุบันประเทศต่างๆทั่วโลกมักประสบปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจคล้ายๆกัน เนื่องจาก
ความไม่พอดีกันระหว่างความต้องการของมนุษย์และสิ่งที่จะมาตอบสนองความต้องการซึ่ง
ความต้องการของมนุษย์นั้นไม่มีที่สิ้นสุด แต่ในขณะเดียวกันทรัพยากรในโลกก็มีอยู่อย่างจากัด
จึงทาให้เกิดปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ขึ้น คือ จะผลิตสินค้าอะไรจะผลิตอย่างไร และจะ
ผลิตเพื่อใคร
ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
What จะผลิตสินค้าอะไร เนื่องจากทรัพยากรมีจากัดทาให้ไม่สามารถผลิตสินค้าและ
บริการได้ทุกชนิดเพื่อสนองความต้องการของสังคมได้หมดจึงต้องเลือกว่าจะผลิตสินค้า
และบริการประเภทใดบ้างจานวนเท่าใด เช่น ถ้าเลือกผลิตข้าวมากก็จะสามารถผลิต
ข้าวโพดได้น้อย เนื่องจากที่ดินที่ใช้เพาะปลูกมีจากัด
For whom จะผลิตเพื่อใครเมื่อมีการผลิตสินค้าและบริการได้มาแล้วใครจะเป็นผู้ใช้และจะ
จาแนกแจกจ่ายสินค้าไปให้กับผู้ใช้อย่างไร
ปัญหาพื้นฐาน
ทาง
เศรษฐศาสตร์
How จะผลิตอย่างไรจะใช้วิธีการผลิตแบบใดต้องใช้ปัจจัยการผลิตอะไรบ้างจึงจะทาให้เสียต้นทุน
การผลิตต่า และมีประสิทธิภาพมากที่สุดเช่น ในการผลิตกระแสไฟฟ้า ต้องพิจารณาว่าจะผลิต
กระแสไฟฟ้าจากพลังงานน้า น้ามัน หรือแก๊สธรรมชาติ หรือจากพลังงานนิวเคลียร์ และมีวิธีการผลิต
อย่างไร
การผลิต
การผลิตหมายถึง การสร้างอรรถประโยชน์ของปัจจัยการผลิตต่างๆ ขึ้นมาใหม่ เพื่อ
ก่อให้เกิดสินค้าและบริการต่างๆ รวมไปถึงการผลิตสินค้าขึ้นมาใหม่ การเก็บรักษาสินค้าเพื่อทา
ให้มีคุณภาพดีขึ้น การเคลื่อนย้ายสินค้าต่างๆไปสู่ผู้บริโภค รวมถึงการบริการต่างๆโดยการ
ดาเนินการผลิตนี้จะต้องอาศัยทรัพยากรหรือปัจจัยการผลิตซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่
ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ แรงงาน ทุน และผู้ประกอบการ
ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ เป็นทรัพยากรที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น
ที่ดิน แร่ธาตุ ป่าไม้แม่น้าประเทศที่มีที่ดินและทรัพยากรอุดมสมบูรณ์จะได้
เปรียบเพราะสามารถนามาใช้ในการผลิตผลตอบแทนจากการใช้ที่ดินคือ ค่าเช่า
ผู้ประกอบการ เป็นผู้รวบรวมปัจจัยการผลิตเพื่อทาการผลิตให้ได้ผลผลิตตามวัตถุประสงค์
เป็นผู้ยอมรับความเสี่ยงจากการผลิตและบริหารจัดการในองค์กรให้เจริญเติบโต
ผลตอบแทนที่ได้รับคือ กาไร
ทรัพยากร
การผลิต
แรงงาน เป็นประชากรในวัยทางานเป็นผู้ใช้แรงงานและกาลังความคิด
ในการผลิตสินค้าและบริการได้รับค่าตอบแทนเป็นค่าจ้าง
ทุน เป็นสินค้าทุน เช่น เครื่องจักรอุปกรณ์โรงงานรถยนต์ผลตอบแทน
จากการใช้ทุนคือ ดอกเบี้ย
การบริโภค คือ การใช้ประโยชน์จากสิ่งของและบริการเพื่อสนองความต้องการของมนุษย์
เช่น เมื่อหิวก็รับประทานอาหารเมื่อปวดฟันก็ไปหาทันตแพทย์เพื่อรับการรักษาเป็นต้น ซึ่ง
โดยทั่วไปการบริโภคสินค้าของแต่ละบุคคลย่อมมีความแตกต่างกันอันเนื่องมาจากปัจจัยต่างๆ
ได้แก่
• รายได้ของผู้บริโภค
• ราคาของสินค้าและบริการ
• ปริมาณเงินหมุนเวียนที่อยู่ในมือของผู้บริโภค
• ปริมาณสินค้าในตลาด
• การคาดคะเนราคาสินค้าและบริการในอนาคต
• ระบบการค้าและการชาระเงิน
การบริโภค
การกระจายรายได้คือ การกระจายรายได้ระหว่างเจ้าของปัจจัยการผลิตทุกประเภทอันได้แก่
ที่ดิน แรงงาน ทุน ผู้ประกอบการซึ่งทางานร่วมกันในการผลิตสินค้าและบริการ โดยเจ้าของปัจจัย
การผลิตจะได้รับรายได้เป็นค่าเช่า ค่าจ้าง ดอกเบี้ย และกาไร
การกระจายรายได้
การแลกเปลี่ยนหมายถึง กระบวนการที่เกิดจากบุคคลทั้งสองฝ่ายมีความสมัครใจร่วมกันใน
การดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างกันโดยมีบุคคลหนึ่งเป็นผู้ครอบครองทรัพย์สินและ
บริการ มีความเต็มใจมอบสิ่งของที่ตนครอบครองอยู่ให้บุคคลอื่นโดยมีสื่อกลางในการ
แลกเปลี่ยน เช่น เงิน สิ่งของ เป็นต้น
การแลกเปลี่ยน
ตัวอย่าง
หน่อยต้องการซื้อเนื้อหมู 2 กิโลกรัม เมื่อไปถึงร้านขายหมู พ่อค้าขายหมูติดป้าย
ราคาขายเนื้อหมูกิโลกรัมละ100 บาท ดังนั้น หน่อยต้องจ่ายเงิน 200 บาทให้พ่อค้าขายหมู เพื่อ
แลกกับเนื้อหมูจานวน 2 กิโลกรัมตามที่หน่อยต้องการ
ในกรณีนี้ จะเห็นได้ว่าเป็นการแลกเปลี่ยนกันโดยมีเงินเป็นสื่อกลาง
เศรษฐศาสตร์เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิตของทุกคน ซึ่งเราสามารถนาวิชา
เศรษฐศาสตร์มาปรับใช้เพื่อให้การดาเนินชีวิตได้หลายวิธี
• ใช้เศรษฐศาสตร์ในครัวเรือน เช่น การใช้น้า ใช้ไฟฟ้า อย่างประหยัด การประดิษฐ์ของใช้
จากเศษวัสดุ การซ่อมแซมเครื่องใช้ภายในบ้านแทนการซื้อใหม่ เป็นต้น
• ใช้หลักเศรษฐศาสตร์ในการศึกษา เช่น จัดสรรเวลาในการทบทวนตาราเรียน การวางแผนทา
การบ้าน การวิเคราะห์ผลที่ได้รับจากการเลือกเรียนสาขาวิชาต่างๆ เป็นต้น
• ใช้หลักเศรษฐศาสตร์เพื่อวางแผนค่าใช้จ่าย เช่น การจัดทาบัญชีครัวเรือน การเก็บออมเงิน
การหารายได้เสริมเพื่อเพิ่มรายรับแก่ครอบครัว เป็นต้น
• ใช้หลักเศรษฐศาสตร์ในการเลือกประกอบอาชีพ เช่น การพิจารณาว่าอาชีพใดที่สามารถ
สร้างรายได้มีความมั่นคง และเหมาะสมกับความรู้ความสามารถของตนเอง เป็นต้น
• ใช้หลักเศรษฐศาสตร์ในการวางแผนชีวิตในอนาคต เช่น การออมเงินเพื่อสร้างครอบครัว
สร้างที่อยู่อาศัย รวมไปถึงเงินเก็บเพื่อไว้ใช้จ่ายในยามเกษียณ เป็นต้น
เศรษฐศาสตร์กับการดาเนินชีวิต

More Related Content

What's hot

ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้พัน พัน
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือพัน พัน
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯศิริพัฒน์ ธงยศ
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตThanawut Rattanadon
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพkrupeem
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นKunlaya Kamwut
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาพัน พัน
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓ไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจKunlaya Kamwut
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจPannatut Pakphichai
 
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอนุพงษ์ ทิพโรจน์
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 

What's hot (20)

ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2 ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 

Similar to อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action researchUltraman Taro
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...โรงเรียนบ้านเสาเล้าฯ สผศ
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาjuriporn chuchanakij
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2Pisan Chueachatchai
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบtunyapisit
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้างSumontira Niyama
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.MR.Praphit Faakham
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8nattawad147
 

Similar to อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1 (20)

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action research
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
002
002002
002
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
ครูสังคม
ครูสังคมครูสังคม
ครูสังคม
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
Communty diagnosis
Communty diagnosisCommunty diagnosis
Communty diagnosis
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้าง
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 

อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1