SlideShare a Scribd company logo
1 of 95
Download to read offline
แผนการจัดกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่๒/๑ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนโกสัมพีวิทยา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากำแพงเพชร
กิจกรรมที่ ๑
๑. ชื่อกิจกรรม ปฏิบัติสมาธิกำหนดลมหายใจ
๒. จุดประสงค์
๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา
หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น
๓. แผนการจัดกิจกรรม
๓.๑ ขั้นเตรียม
 Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ
 Focusing มีสติกับการจดจ่อ
 Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว
 Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย
วิธีดำเนินการ
๑. ปรับสภาพห้องเรียนให้โล่ง พร้อมสำหรับนั่งสมาธิกับพื้น
๒. นักเรียนมีพรมหรือเบาะรองนั่งคนละ ๑ เบาะ
๓. นักเรียนเดินเข้าห้องอย่างมีสติ ไม่ส่งเสียงดังหรือพูดคุย
๔. นักเรียนวางเบาะนั่งสมาธิเป็นแถวตามข้อตกลง
๓.๒ ขั้นกิจกรรม
๑. นักเรียนสวดมนต์ไหว้พระก่อนนั่งสมาธิ
๒. นักเรียนนั่งขัดสมาธิ ตั้งกายตรง
๓. หลับตาทำจิตใจให้ผ่อนคลาย
๔. ฟังดนตรีบรรเลงเพื่อสมาธิ ประมาณ ๕ นาที
๕. เมื่อครบเวลาให้นักเรียนถอนออกจากสมาธิ ลืมตาแต่อยู่ในความสงบ
๖. ให้ตัวแทนนักเรียนบอกเล่าความรู้สึกของตนเอง ทั้งก่อนปฏิบัติกิจกรรม ระหว่างปฏิบัติ
กิจกรรม และหลังจากทำกิจกรรมเสร็จแล้ว
๗. ครูกล่าวให้กำลังใจ ครูและนักเรียนแสดงความขอบคุณซึ่งกันและกัน
๓.๓ บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ)
การปฏิบัตินั่งสมาธิเป็นวิธิการที่ง่ายๆ และนักเรียนเคยมีประสบการณ์มาบ้างแล้วจากหลายๆ โอกาส
และเป็นสิ่งที่สามารถปฏิบัติได้ง่ายไม่ยุ่งยากซับซ้อน นักเรียนสามารถทำได้ด้วยตนเองในทุกสถานที่ทุกเวลา
ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ..............................................................
(นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
กิจกรรมที่ ๒
๑. ชื่อกิจกรรม ข้อคิดจากภาพยนตร์ตัวอย่าง (ไวรัสล้างโลก)
๒. จุดประสงค์
๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา
หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น
๒.๒ เพื่อกระตุ้นจิตนาการและแสดงออกถึงทัศนะของนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่ได้รับรู้
๓. แผนการจัดกิจกรรม
๓.๑ ขั้นเตรียม
 Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ
 Focusing มีสติกับการจดจ่อ
 Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว
 Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย
วิธีดำเนินการ
๑. ครูเตรียมภาพยนตร์เรื่องไวรัสล้างโลก ซึ่งมีเนื้อหาสอดคล้องทันสมัยกับเหตุการณ์
๒. นักเรียนนั่งประจำที่และกำหนดสติด้วยการทำสมาธิสั้นๆ ๑ นาทีก่อนรับชมภาพยนต์
๓.๒ ขั้นกิจกรรม
๑. นักเรียนรับชมภาพยนตร์ต่างประเทศพากษ์ไทย เรื่องไวรัสล้างโลก เป็นเวลา ๑๐ นาที
๒. เมื่อครบเวลา ครูหยุดภาพยนตร์ไว้และตั้งคำถามกับนักเรียน
- ภาพยนตร์นี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องอะไร
- นักเรียนเห็นตัวละครเป็นใครบ้างและตัวละครแต่ละตัวมีพฤติกรรมที่เด่นชัด
อย่างไร
- ภาพยนตร์เรื่องนี้ให้ข้อคิดอะไรกับนักเรียนบ้าง
๓. ครูกล่าวให้กำลังใจ ครูและนักเรียนแสดงความขอบคุณซึ่งกันและกัน
๓.๓ บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ)
นักเรียนมีความตื่นเต้น จดจ่อกับภาพยนตร์โดยเฉพาะภาพยนตร์เรื่องไวรัสล้างโลกนี้ มีเนื้อหา
ที่สอดคล้อง ทันสมัยกับเหตุการณ์โรคระบาดในปัจจุบัน ทำให้นักเรียนสามารถจินตนาการ และกล้าแสดงออก
มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ กว้างขวาง สะท้อนแนวคิดของตนเองได้
ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ..............................................................
(นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
ผู้บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่ ๓
๑. ชื่อกิจกรรม ความสุข ๓ อย่าง
๒. จุดประสงค์
๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา
หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น
๒.๒ เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ข้อคิดของการใช้ชีวิตซึ่งกันและกันจากกิจกรรม
๓. แผนการจัดกิจกรรม
๓.๑ ขั้นเตรียม
 Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ
 Focusing มีสติกับการจดจ่อ
 Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว
 Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย
วิธีดำเนินการ
๑. ครูเตรียมกระดาษการ์ดเปล่า ๓ สี ให้เพียงพอกับจำนวนนักเรียน
๒. นักเรียนนั่งล้อมวงกลมที่พื้นห้อง
๓. นักเรียนทำสมาธิ ๑ นาที ก่อนปฏิบัติกิจกรรม
๔. นักเรียนรับฟังและทำความเข้าใจในวิธีการปฏิบัติ
๕. นักเรียนได้รับกระดาษการ์ดสีเปล่าคนละ ๓ ใบ สีชมพู สีเหลือง สีเขียว
๖. นักเรียนส่งกระดาษการ์ดให้กันอย่างนอบน้อม
๓.๒ ขั้นกิจกรรม
๑. เมื่อนักเรียนได้กระดาษการ์ดสี ๓ ใบ ครบทุกคนแล้ว
๒. ครั้งที่ ๑ กระดาษการ์ดสีชมพู ครูให้นักเรียนเขียนบอกสิ่งที่นักเรียนทำแล้วมีความสุข
มากที่สุด ๑ อย่าง ลงในการ์ดสีชมพู ให้เวลาในการคิดและเขียนลงไป ๑ นาที
๓. ครั้งที่ ๒ กระดาษการ์ดสีเหลือง ครูให้นักเรียนเขียนบอกสิ่งที่นักเรียนทำแล้วมีความสุข
มาก(เป็นอันดับ ๒) ลงในการ์ดสีเหลือง ให้เวลาในการคิดและเขียนลงไป ๑ นาที
๔. ครั้งที่ ๓ กระดาษการ์ดสีเขียว ครูให้นักเรียนเขียนบอกสิ่งที่นักเรียนทำแล้วมีความสุข
(เป็นอันดับ ๓ ) ลงในกระดาษการ์ดสีเขียว ให้เวลาในการคิดและเขียนลงไป ๑ นาที
๕. เมื่อนักเรียนเขียนครบทุกกระดาษการ์ดสีแล้ว ครูติดกระดาษชาร์จ (หรือเขียนลง
กระดาน) โดยแบ่งออกเป็น ๓ ช่อง คือ ช่อง ความสุขมากที่สุด ช่องความสุขมาก และ
ช่องความสุข
๖. ตัวแทนนักเรียนรวบรวมการ์ดสีของทุกคน แยกเป็น ๓ กอง คือ การ์ดสีชมพู การ์ดสี
เหลือง และการ์ดสีเขียว
๗. นำข้อความจากการ์ดสีชมพูของทุกคนเขียนลงในช่องความสุขมากที่สุด การ์ดสีเหลือง
เขียนลงในช่องความสุขมาก การ์ดสีเขียวเขียนลงในช่องความสุข
๘. ให้นักเรียนร่วมกันดูข้อความในแต่ละช่องแห่งความสุขว่ามีที่เหมือนกันหรือแตกต่างกัน
อย่างไร
๙. ให้นักเรียนลองวิเคราะห์แยกความสุขแต่ละอย่างว่า มีความสุขใดบ้างที่เป็นการทำเพื่อ
ตนเองเพียงอย่างเดียว และมีความสุขอะไรบ้างที่เป็นการทำเพื่อผู้อื่น
๑๐.ให้นักเรียนสะท้อนคิด แสดงทัศนส่วนตัวว่าการทำอะไรเพื่อความสุขของตนเองเพียง
อย่างเดียว กับการทำสิ่งใดเพื่อความสุขของส่วนรวมแตกต่างหรือมีคุณค่าอย่างไร
๑๑.ตัวนักเรียนอยากจะปรับเปลี่ยนวิธีการแห่งความสุขของตนเองที่เขียนไปแล้วบ้างหรือไม่
อย่างไร
๑๒.ครูกล่าวให้กำลังใจ ครูและนักเรียนแสดงความขอบคุณซึ่งกันและกัน
๓.๓ บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ)
นักเรียนได้เรียนรู้ว่าความสุขที่มีคุณค่าควรจะเป็นความสุขรูปแบบใด และถ้านักเรียนเคยมี
ความสุขที่ทำเพื่อตนเองเพียงอย่างเดียว หากลองมาทำสิ่งที่เป็นประโยชน์เพื่อคนอื่น เพื่อส่วนรวมบ้างจะมี
ความสุขและความภาคภูมิใจเพียงใด
ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ..............................................................
(นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
ผู้บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่ ๔
๑. ชื่อกิจกรรม ตัวอักษรซ่อนฝัน
๒. จุดประสงค์
๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา
หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น
๒.๒ เพื่อให้นักเรียนได้แสดงออกถึงจิตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
๓. แผนการจัดกิจกรรม
๓.๑ ขั้นเตรียม
 Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ
 Focusing มีสติกับการจดจ่อ
 Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว
 Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย
วิธีดำเนินการ
๑. ครูเตรียมกระดาษเปล่าและดินสอสี หรือปากกา
๒. นักเรียนนั่งประจำโต๊ะเรียน
๓. นักเรียนทำสมาธิ ๑ นาที ก่อนปฏิบัติกิจกรรม
๔. นักเรียนรับฟังและทำความเข้าใจในวิธีการปฏิบัติ
๕. นักเรียนได้รับกระดาษวาดภาพคนละ ๑ แผ่น และดินสอสีหรือปากกา
๓.๒ ขั้นกิจกรรม
๑. นักเรียนบอกอักษรที่มีอยู่ในชื่อของตนเองจะเป็นอักษรไทย หรืออักษรภาษาอังกฤษก็ได้
ซึ่งเป็นตัวอักษรที่นักเรียนชื่นชอบมากที่สุด
๒. ให้นักเรียนใช้ดินสอสี หรือปากกา เขียนตัวอักษรที่ชื่นชอบลงในกระดาษ ให้มีขนาดใหญ่
พอสมควร
๓. ครูให้นักเรียนยกกระดาษที่เขียนตัวอักษรของแต่ละคนแสดงให้เพื่อนๆได้เห็น และ
ช่วยกันวิเคราะห์ว่า มีตัวอักษรอะไรที่ชอบเหมือนๆ กันมากที่สุด
๔. จากตัวอักษรที่เขียนแล้ว ให้นักเรียนต่อเติมเสริมภาพจากตัวอักษรนั้น ให้เป็นภาพตาม
จิตนาการของตนเอง ให้เวลาในการต่อเติม ๑๐ นาที
๕. เมื่อหมดเวลาให้นักเรียนนำภาพที่ต่อเติมเสร็จแล้วติดลงบนกระดานหน้าห้องเรียน
๖. ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนบอกเล่าแนวคิดที่ต่อเติมภาพด้วยตัวอักษรของตนเอง
๗. ครูกล่าวให้กำลังใจ ครูและนักเรียนแสดงความขอบคุณซึ่งกันและกัน
๓.๓ บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ)
นักเรียนได้แสดงออกทางศิลปะ มีความผ่อนคลายตามจิตนาการของตนเอง พัฒนาไปสู่
ความคิดสร้างสรรค์ด้านทัศนศิลป์ต่อไป
ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ..............................................................
(นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
ผู้บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่ ๕
๑. ชื่อกิจกรรม ใบไม้ซ่อนฝัน
๒. จุดประสงค์
๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา
หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น
๒.๒ เพื่อให้นักเรียนได้แสดงออกถึงจิตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
๓. แผนการจัดกิจกรรม
๓.๑ ขั้นเตรียม
 Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ
 Focusing มีสติกับการจดจ่อ
 Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว
 Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย
วิธีดำเนินการ
๑. ครูเตรียมกระดาษเปล่าและดินสอสี หรือปากกา
๒. ใช้สถานที่บริเวณหลังหอประชุม
๓. นักเรียนทำสมาธิ ๑ นาที ก่อนปฏิบัติกิจกรรม รับฟังและทำความเข้าใจในวิธีการปฏิบัติ
๓.๒ ขั้นกิจกรรม
๑. นักเรียนเลือกเก็บใบไม้ที่ร่วงหล่นตามพื้น ที่มีรูปร่างลักษณะถูกใจไว้สักใบ เลือกได้แล้ว
นำกลับมายังลานกิจกรรม
๒. นักเรียนได้รับกระดาษวาดเขียนและอุปกรณ์วาดภาพ นำใบไม้ที่เลือกมาวางทาบลงบน
กระดาษ แล้วลากเส้นรอบนอกใบ วาดเสร็จแล้วนำใบใม้นั้นกลับคืนสู่ธรรมชาติ
๓. จากลายเส้นที่ได้บนกระดาษ นักเรียนเติมแต่ง สร้างสรรค์เป็นภาพอะไรได้บ้าง ให้เวลา
ในการต่อเติม ๑๐ นาที
๔. นักเรียน ยืนเป็นวงกลม นำภาพที่แต่งไว้วางที่พื้นตรงหน้า แล้วเดินขยับวงกลมไป
ทางขวาเป็นจังหวะช้าๆ เพื่อให้ได้ชมผลงานของเพื่อนๆ ได้ครบทุกคนจนกลับมาถึง
ผลงานของตัวเอง
๕. นักเรียนแต่ละคนบอกเล่า ความคิดของตนเองเกี่ยวกับภาพที่สร้างขึ้นมา
๖. ครูกล่าวให้กำลังใจ ครูและนักเรียนแสดงความขอบคุณซึ่งกันและกัน
๗. เก็บผลงานภาพที่สร้างสรรค์ไว้ไปติดบอร์ดแสดงแบ่งกันชม
๘.
๓.๓ บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ)
นักเรียนได้แสดงออกทางศิลปะ มีความผ่อนคลายตามจิตนาการของตนเอง พัฒนาไปสู่
ความคิดสร้างสรรค์ด้านทัศนศิลป์ต่อไป
ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ..............................................................
(นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
ผู้บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่ ๖
๑. ชื่อกิจกรรม เส้นเดียว ไม่ยก ไม่มอง
๒. จุดประสงค์
๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา
หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น
๒.๒ เพื่อให้นักเรียนได้แสดงออกถึงจิตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
๓. แผนการจัดกิจกรรม
๓.๑ ขั้นเตรียม
 Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ
 Focusing มีสติกับการจดจ่อ
 Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว
 Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย
วิธีดำเนินการ
๑. ครูเตรียมกระดาษเปล่าและดินสอสี หรือปากกา
๒. ให้นักเรียนจับคู่กัน และนั่งเป็นวงกลมซ้อนกัน ๒ วง โดยแต่ละคู่ให้นั่งหันหน้าเข้าหากัน
๓. นักเรียนทำสมาธิ ๑ นาที ก่อนปฏิบัติกิจกรรม รับฟังและทำความเข้าใจในวิธีการปฏิบัติ
๔. กติกาคือการลากเส้นขณะปฏิบัติกิจกรรมนี้นักเรียนต้องลากเส้นต่อเนื่องไปจนกว่าจะ
เสร็จ โดยที่สายตาต้องมองไปที่แบบ แต่ไม่มองที่มือหรือกระดาษที่กำลังวาด และต้องไม่
ยกมือ ถ้ายกมือ หรือเผลอมองกระดาษ ให้ยุติการวาดแต่เพียงเท่านั้นในแต่ละครั้ง
๓.๒ ขั้นกิจกรรม
๑. นักเรียนกล่าวคำว่า “เส้นเดียว ไม่ยก ไม่มอง” ทุกครั้งก่อนลงมือวาด
๒. กระดาษวางที่พื้นห้อง สายตาจับจ้องไปที่ใบหน้าเพื่อนที่อยู่ตรงหน้าเรา แล้วกำหนดสติ
ลากเส้นเป็นใบหน้าเพื่อนตรงหน้า โดยปฏิบัติตามกติกาอย่างเคร่งครัด
๓. เมื่อเสร็จแล้วให้หยุดวาด เขียนชื่อเพื่อนและยกภาพหน้าเพื่อนให้เพื่อนดู
๔. ครูให้ขยับวงเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนคู่กันไปเช่น ให้วงนอกขยับเปลี่ยนที่ไปทางขวา ๒
ตำแหน่ง เพื่อให้ได้เพื่อนคนใหม่ในการวาด
๕. ครูให้วาด เส้นเดียว ไม่ยก ไม่มอง ประมาณ ๔- ๕ คน หรือตามเวลาที่เหมาะสมแล้วหยุด
กิจกรรม
๖. นักเรียนแต่ละคนบอกเล่า ความรู้สึกของตนเองขณะปฏิบัติกิจกรรม
๗. ครูกล่าวให้กำลังใจ ครูและนักเรียนแสดงความขอบคุณซึ่งกันและกัน
๘. เก็บผลงานภาพที่สร้างสรรค์ไว้ไปติดบอร์ดแสดงแบ่งกันชม
๓.๓ บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ)
นักเรียนได้แสดงออกทางศิลปะ มีความผ่อนคลายได้ฝึกความซื่อสัตย์ พัฒนาไปสู่ความคิด
สร้างสรรค์ด้านทัศนศิลป์ต่อไป
ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ..............................................................
(นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
ผู้บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่ ๗
๑. ชื่อกิจกรรมBody Scan
๒. จุดประสงค์
๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา
หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น
๒.๒ เพื่อการดึงจิตกลับมาอยู่ที่ความรู้สึกทางกายไม่ให้ฟุ้งซ่าน
๒.๓ เพื่อให้ครูที่ปรึกษาประจำชั้นได้พบนักเรียนของตนอย่างใกล้ชิด ใช้เวลาให้เกิดประโยชน์อย่าง
เต็มที่ และมีเป้าหมายนอกเหนือจากการสอนตามปกติ
๓. แผนการจัดกิจกรรม
๓.๑ ขั้นเตรียม
Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ
❑ Focusing มีสติกับการจดจ่อ
Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว
❑ Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย
วิธีดำเนินการ
๑. นักเรียนยืนแยกเท้าทั้งสองข้างออกพอประมาณช่วงไหล่ เพื่อทำให้การทรงตัวดีขึ้น
ปล่อยมือตามสบายแนบข้างลำตัว หย่อนหัวไหล่เล็กน้อยให้หัวไหล่ผ่อนคลายแล้วปิดเปลือกตาลงอย่างผ่อน
คลาย หายใจเข้าออกยาวๆ
๒. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว
ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า เพื่อทำกิจกรรม Sketching มีสติกับการยืด เหยียด โดยให้นักเรียนนั่ง
ชันเข่า มือสองข้างประสานกันที่ท้ายทอย เอียงข้อศอกซ้ายแตะที่หัวเข่าขวา ยกข้อศอกซ้ายกลับไปที่เดิม
เปลี่ยนเป็นเอียงข้อศอกขวา
๓.๒ ขั้นกิจกรรม
๑. ครูที่ปรึกษาแจกครึ่งกระดาษ ให้กับนักเรียนทุกคนเพื่อเข้าสู้กิจกรรมต่อไป
๒. ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนสังเกตร่างกายตนเองและเขียนสิ่งที่นักเรียนสังเกตที่เป็นจุดเด่นซึ่ง
ทุกคนสามารถมองเห็นและรู้ว่าเป็นตนเองลงในกระดาษคนละ ๕ ข้อ
๓.จากนั้นให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนแลกเปลี่ยนกันสังเกตซึ่งกันและกัน และให้เพื่อนพูดถึงสิ่ง
ที่สังเกตและเป็นจุดเด่นที่เพื่อนสามารถสังเกตเราได้
๔. จากนั้นให้นักเรียนทำเครื่องหมายที่ตรงกับที่เพื่อนสังเกต และเขียนเพิ่มเติมในสิ่งที่เพื่อน
สังเกตเพิ่มได้
๕. ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนพูดเกี่ยวกับการทำกิจกรรม โดยมีประเด็นคำถาม ดังนี้
- รู้สึกอย่างไรที่เพื่อนสังเกตเราได้ตรงกับที่เราสังเกตตนเอง
- รู้สึกอย่างไรที่มีจุดที่เพื่อนสังเกตได้แตกต่างออกไป
๖. ครูที่ปรึกษากล่าวคำขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรมให้สำเร็จลุล่วงไปได้
๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ)
หลังจากการทำBody Scan นักเรียนสามารถจดจ่ออยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลาหนึ่งได้จากการ
นั่งสมาธิ ซึ่งช่วยให้เกิดความสงบและสติในการทำกิจกรรมSketching และการสะท้อนความรู้สึกที่เพื่อน
สามารถมองเห็นในมุมที่แตกต่างออกไปที่เรามองไม่เห็นตัวเอง ทำให้นักเรียนรู้จักมุมมองใหม่ๆที่เพื่อนมองเห็น
มากขึ้น และทำให้รู้จักตนเองมากขึ้น
ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ..............................................................
(นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
ผู้บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่ ๘
๑. ชื่อกิจกรรมเสียงกระซิบ
๒. จุดประสงค์
๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา
หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น
๒.๒ เพื่อฝึกการจินตนาการจากสิ่งที่ได้รับฟังเพื่อถ่ายทอดออกมาในรูปแบบภาพวาด
๒.๓ เพื่อให้ครูที่ปรึกษาประจำชั้นได้พบนักเรียนของตนอย่างใกล้ชิด ใช้เวลาให้เกิดประโยชน์อย่าง
เต็มที่ และมีเป้าหมายนอกเหนือจากการสอนตามปกติ
๓. แผนการจัดกิจกรรม
๓.๑ ขั้นเตรียม
Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ
❑ Focusing มีสติกับการจดจ่อ
❑ Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว
Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย
วิธีดำเนินการ
๑. นักเรียนค่อยๆหลับตาสมาธิใช้เวลาสิบวินาที เมื่อครูเริ่มนับ ทุกๆคนก็จะเริ่มหลับตาและ
อยู่กับตัวเอง
๒. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว
ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า เพื่อทำกิจกรรมRelaxationโดยการเปิดเพลงพร้อมแจกกระดาษให้กับ
นักเรียนตามจังหวะเพลง ให้นักเรียนตั้งใจฟังเพลงและคิดตามไปอย่างช้าๆ
๓.๒ ขั้นกิจกรรม
๑. เมื่อทุกคนได้รับอุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว ครูที่ปรึกษาเล่าเรื่องราวโดยในช่วงที่เล่าก็จะให้
นักเรียนวาดสิ่งที่ได้ฟังลงบนกระดาษ
เรื่องเล่า “มีต้นไม้ต้นหนึ่ง ซึ่งบนต้นไม้นั้นมีผลไม้ติดอยู่ ๑ ผล ซึ่งข้างๆต้นไม้ต้นนั้นได้มีบ้าน
หลังเล็กๆ ตั้งอยู่ บ้านหลังนี้มีประตูจำนวน ๑ บาน ข้างๆบ้านที่น่ารักหลังนั้นมีโอ่งน้ำ วางอยู่ ๒ ใบ แต่ละใบมี
รูปดาวน้อยติดอยู่ และสักครู่ ก็มีนกน้อยบินมาจับบนฝาโอ่งน้ำแต่ละใบ ข้างๆโองน้ำนั้นมีมดเดินมาด้วยกัน ๓
ตัว แต่ละตัวเป็นเพื่อนกับผีเสื้อ ซึ่งผีเสื้อกำลังบินมาเกาะที่ดอกไม้แสนสวย ซึ่งดอกไม้แสนสวยนั้นก็มีเพื่อน
เช่นกัน เพื่อนของเขาเป็นดอกไม้ชนิดหนึ่งมีกลีบทั้งหมด ๕ กลีบ และในวันนั้นเองบนท้องฟ้า ก็มีเมฆน้อยลอย
อยู่ด้วยกันทั้งหมด ๔ ก้อน แต่ละก้อนเริ่มมีหยาดฝนเล็กๆโปรยปรายลงมา ในคราวเดียวกัน ก็มีเด็กหญิงตัว
เล็กๆกำลังยืนกางร่มของเธอท่ามกลายสายฝน”
๒. ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนวาดภาพบริเวณที่นักเรียนอยากอยู่ที่ใดก็ได้
๓.ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนพูดเกี่ยวกับการทำกิจกรรม โดยมีประเด็นคำถาม ดังนี้
-ในภาพที่ตนเองวาดนักเรียนประทับใจอะไรมากที่สุด
-นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากกิจกรรมนี้
๔. ครูที่ปรึกษากล่าวคำขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรมให้สำเร็จลุล่วงไปได้
๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ)
หลังจากการทำเสียงกระซิบนักเรียนสามารถจดจ่ออยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลาหนึ่งได้จากการ
นั่งสมาธิ ซึ่งช่วยให้เกิดความสงบ นักเรียนสามารถจินตนาการและรู้สึกไปกับเรื่องราวที่เล่า
ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ..............................................................
(นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
ผู้บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่ ๙
๑. ชื่อกิจกรรมธรรมชาติ
๒. จุดประสงค์
๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา
หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น
๒.๒ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและสามารถถ่ายทอดเรื่องราวให้ผู้อื่นได้ร่วมชื่นชม
๒.๓ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและเชื่อมโยงจินตนาการ สร้างงานศิลปะจาก วัสดุธรรมชาติที่มีอยู่จริง
๓. แผนการจัดกิจกรรม
๓.๑ ขั้นเตรียม
Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ
Focusing มีสติกับการจดจ่อ
❑ Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว
❑ Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย
วิธีดำเนินการ
๑. นักเรียนค่อยๆหลับตาสมาธิใช้เวลาสิบวินาที เมื่อครูเริ่มนับ ทุกๆคนก็จะเริ่มหลับตาและ
อยู่กับตัวเองโดยการเปิดเพลงประกอบ
๒. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว
ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า เพื่อทำกิจกรรมจดจ่อ โดยการให้นักเรียนจับอวัยวะสลับข้างกับที่ครูพูด
เช่น จับแขนขวา นักเรียนจะต้องจับแขนซ้าย
๓.๒ ขั้นกิจกรรม
๑. ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนเลือกกิ่งไม้ ใบไม้ รูปร่างต่างๆที่ครูนำมาเตรียมไว้ให้ และให้
นักเรียนเลือกสีและกระดาษ นำไปวาดรูปพร้อมตั้งชื่อกิ่งไม้หรือไม้ของตัวเอง
๒. จากนั้นคุณครูที่ปรึกษาจับสลากชื่อนักเรียนแต่ละคน และให้นักเรียนเล่าเกี่ยวกับภาพที่
วาด
๓.ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนพูดเกี่ยวกับการทำกิจกรรม โดยมีประเด็นคำถาม ดังนี้
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากกิจกรรมนี้
๔. ครูที่ปรึกษากล่าวคำขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรมให้สำเร็จลุล่วงไปได้
๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ)
หลังจากการทำธรรมชาตินักเรียนสามารถจดจ่ออยู่กับสิ่งที่ทำ ในช่วงแรกมีการทำไม่ถูกต้องบ้าง แต่
เมื่อทำไประยะหนึ่งนักเรียนทำไม่ถูกต้องน้อยลง ทั้งยังสามารถสร้างเสียงหัวเราะให้กับนักเรียน นักเรียน
สามารถจินตนาการและพูดถึงภาพที่ตนเองวาด
ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ..............................................................
(นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
ผู้บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่ ๑๐
๑. ชื่อกิจกรรมนิทานสอนใจ (ตอน เดี๋ยวก่อน)
๒. จุดประสงค์
๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา
หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น
๒.๒ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและสามารถถ่ายทอดเรื่องราวให้ผู้อื่นได้ร่วมชื่นชม
๒.๓ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและเชื่อมโยงจินตนาการ สร้างงานศิลปะจาก วัสดุธรรมชาติที่มีอยู่จริง
๓. แผนการจัดกิจกรรม
๓.๑ ขั้นเตรียม
Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ
Focusing มีสติกับการจดจ่อ
❑ Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว
❑ Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย
วิธีดำเนินการ
๑. นักเรียนค่อยๆหลับตาสมาธิใช้เวลาสิบวินาที เมื่อครูเริ่มนับ ทุกๆคนก็จะเริ่มหลับตาและ
อยู่กับตัวเองโดยการเปิดเพลงประกอบ
๒. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว
ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า เพื่อทำกิจกรรมจดจ่อ โดยการให้นักเรียนนับนิ้วโดยการไล่นิ้วไปทีละนิ้ว
และไล่นิ้วกลับมา จากนิ้วโป้งทั้งสองข้าง และเปลี่ยนเป็นข้างซ้ายนิ้วก้อย ข้างขวานิ้วโป้ง
๓.๒ ขั้นกิจกรรม
๑. ครูที่ปรึกษาแจกกระดาษให้กับนักเรียน โดยให้นักเรียนดูนิทานสอนใจ จากนั้นให้สรุปเป็น
ความคิดของตัวเองว่าเรื่องเกี่ยวกับอะไร
นิทานสอนใจ เรื่อง เดี๋ยวก่อน
๒.ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนพูดเกี่ยวกับการทำกิจกรรม โดยมีประเด็นคำถาม ดังนี้
- นิทานสอนใจเล่าเรื่องเกี่ยวกับอะไร
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากกิจกรรมนี้
- นักเรียนได้ข้อคิดเกี่ยวกับเรื่องใด
๓. ครูที่ปรึกษากล่าวคำขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรมให้สำเร็จลุล่วงไปได้
๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ)
หลังจากการทำนิทานสอนใจ (ตอน เดี๋ยวก่อน) นักเรียนสามารถจดจ่ออยู่กับการสัมผัสปลายนิ้ว เมื่อ
นักเรียนทำไปได้ระยะหนึ่งนักเรียนสามารถทำได้ถูกต้องและไล่ได้ตามตัวเลขโดยไม่ผิด เมื่อนักเรียนฟังเรื่องเล่า
นักเรียนได้ข้อคิดคือ ควรทำในสิ่งที่คิดและลงมือทำ
ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ..............................................................
(นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
ผู้บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่ ๑๑
๑. ชื่อกิจกรรมไพ่ได้ใจ
๒. จุดประสงค์
๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา
หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น
๒.๒ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและสามารถถ่ายทอดเรื่องราวให้ผู้อื่นได้ร่วมชื่นชม
๒.๓ เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้การรับฟัง และรับรู้ความรู้สึกของคนอื่นรวมทั้งการเลือกใช้คำเพื่อช่วยเหลือ
ด้านอารมณ์ความรู้สึก
๓. แผนการจัดกิจกรรม
๓.๑ ขั้นเตรียม
Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ
Focusing มีสติกับการจดจ่อ
❑ Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว
❑ Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย
วิธีดำเนินการ
๑. นักเรียนค่อยๆหลับตาสมาธิใช้เวลาสิบวินาที เมื่อครูเริ่มนับ ทุกๆคนก็จะเริ่มหลับตา
หายใจเข้าลึกๆ ผ่อนคลายร่างกายทุกส่วน ผ่อนคลายบริเวณกระหม่อม ให้จินตนาการว่ามีนํ้าพุผุดออกมา นํ้า
ไหลชโลมลงมาที่หน้าผาก
๒. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว
ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า เพื่อทำกิจกรรมจดจ่อ โดยการให้นักเรียนใช้ปลายนิ้วสัมผัสกันและให้
ขยับคล้ายปรบมือแต่ไม่มีเสียง โดยให้มีเพียงปลายนิ้วเท่านั้นที่สัมผัสกัน
๓.๒ ขั้นกิจกรรม
๑. ให้นักเรียนจับกลุ่มกัน ๓ - ๔ คน จากนั้นให้ตัวแทนเริ่มเล่าเรื่อง โดยให้คนที่เริ่มก่อนนั้น
เป็น “เจ้ามือ” โดยทุกคนจะต้องตั้งใจฟังและไม่ตั้งคำถามและเจ้ามือจะแจกบัตรคำที่แสดงความรู้สึก (บัตรสี
เหลือง) และบัตรแสดงความต้องการ (บัตรสีชมพู) ให้กับสมาชิกในกลุ่ม
๒.ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนพูดเกี่ยวกับการทำกิจกรรม โดยมีประเด็นคำถาม ดังนี้
- นิทานสอนใจเล่าเรื่องเกี่ยวกับอะไร
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากกิจกรรมนี้
- นักเรียนได้ข้อคิดเกี่ยวกับเรื่องใด
๓. ครูที่ปรึกษากล่าวคำขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรมให้สำเร็จลุล่วงไปได้
๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ)
หลังจากการทำนิทานสอนใจ (ตอน เดี๋ยวก่อน) นักเรียนสามารถจดจ่ออยู่กับการสัมผัสปลายนิ้ว เมื่อ
นักเรียนทำไปได้ระยะหนึ่งนักเรียนสามารถทำได้ถูกต้องและไล่ได้ตามตัวเลขโดยไม่ผิด เมื่อนักเรียนฟังเรื่องเล่า
นักเรียนได้ข้อคิดคือ ควรทำในสิ่งที่คิดและลงมือทำ
ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ..............................................................
(นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
ผู้บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่๑๒
๑. ชื่อกิจกรรมBrain Gym
๒. จุดประสงค์
๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา
หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น
๒.๒ เพื่อฝึกสมองทั้งสองซีกจาการทำกิจกรรม Brain Gym
๓. แผนการจัดกิจกรรม
๓.๑ ขั้นเตรียม
Breathingมีสติอยู่กับลมหายใจ
❑ Focusingมีสติกับการจดจ่อ
Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว
Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย
วิธีดำเนินการ
๑. ครูที่ปรึกษาพานักเรียนทำสมาธิในระยะเวลาสั้นๆ ๑-๒ นาที ประกอบเสียงเพลงที่ทำให้
นักเรียนความรู้สึกผ่อนคลาย
๓.๒ ขั้นกิจกรรม
๑. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว ครู
ที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า ด้วยน้ำเสียงที่นุ่มนวล เพื่อทำกิจกรรม Sketching หูจมูก๒จังหวะ สลับกัน
ตามเสียงกระดิ่ง ซึ่งประกอบด้วย
- นับ ๑ มือซ้ายจับจมูก มือขวาจับหูด้านซ้าย
- นับ ๒ มือขวาจับจมูก มือซ้ายจับหูด้านขวา
หมายเหตุการทำกิจกรรม Sketching หูจมูก๒จังหวะ สามารถเริ่มจากนับช้า ๆ ก่อนจะเพิ่มความเร็ว
๒. ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนได้สำรวจตนเองว่าจากการทำกิจกรรม หากให้คะแนนตนเองเต็ม
๑๐คะแนน นักเรียนสามารถให้คะแนนตนเองเท่าไรครูที่ปรึกษาขออาสาสมัครสะท้อนความคิดของตนเอง
คะแนนที่ตนเองให้เท่าไร และเพราะเหตุใด
๓. ครูที่ปรึกษากล่าวคำขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรมให้สำเร็จลุล่วงไปได้ และให้
นักเรียนภายในห้องได้ขอบคุณซึ่งกันและกัน
๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ)
นักเรียนสามารถจดจ่ออยู่กับการนั่งสมาธิในระยะสั้น ๆซึ่งช่วยให้เกิดความสงบและสติในการทำ
กิจกรรม Sketching หูจมูก๒จังหวะ
ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ..............................................................
(นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
ผู้บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่๑๓
๑. ชื่อกิจกรรมปรบมือตามวันเดือนปีเกิด
๒. จุดประสงค์
๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา
หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น
๒.๒ เพื่อให้ครูที่ปรึกษาประจำชั้นได้พบนักเรียนของตนอย่างใกล้ชิด ใช้เวลาให้เกิดประโยชน์อย่าง
เต็มที่ และมีเป้าหมายนอกเหนือจากการสอนตามปกติ
๓. แผนการจัดกิจกรรม
๓.๑ ขั้นเตรียม
Breathingมีสติอยู่กับลมหายใจ
❑ Focusingมีสติกับการจดจ่อ
Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว
Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย
วิธีดำเนินการ
๑. ครูที่ปรึกษาพานักเรียนทำสมาธิในระยะเวลาสั้นๆ ๑-๒ นาที ประกอบเสียงเพลงที่ทำให้
นักเรียนความรู้สึกผ่อนคลาย เมื่อนักเรียนนิ่งพร้อมให้ดำเนินกิจกรรมต่อไปแล้วให้นักเรียน
๒. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว ครู
ที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า ด้วยน้ำเสียงที่นุ่มนวล แล้วปรบมือเป็นจังหวะ ๑๒๑๒๓๑๒๑๒๑
๓.๒ ขั้นกิจกรรม
๑. ครูที่ปรึกษา สาธิตการปรบมือตามวันเดือนปีเกิดโดยที่เลขคู่ให้ฝามือตบฝากมือ แต่เลขคี่
ใช้หลังมือตบหลังมือ เช่น ๐๙๐จะเป็น ฝามือตบฝากมือ หลังมือตบหลังมือ และฝามือตบฝากมือ
๒. นักเรียนฝึกปรบมือตามเบอร์ของครูที่กำหนดให้ เพื่อฟังอย่างตั้งใจ หลังจากนั้นครูขอ
อาสาสมัคร/ตัวแทนออกมาเป็นผู้นำ บอกหมายเลขแทนครู
๓. ครูที่ปรึกษาได้เชื่อมโยงในเรื่องของการฟังอย่างตั้งใจ ให้นักเรียนหัดเป็นผู้รับฟัง และให้
ข้อคิดของการเสนอตนเองในการทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมในด้านความกล้าแสดงออก
๔. ครูที่ปรึกษากล่าวคำขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรมให้สำเร็จลุล่วงไปได้ และให้
นักเรียนภายในห้องได้ขอบคุณซึ่งกันและกัน
๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ)
นักเรียนสนุกสนานในการปรบมือตามเบอร์โทรศัพท์และได้ใช้ทักษะการฟังตั้งใจในการทำ
กิจกรรมให้สำเร็จลุล่วง
ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ..............................................................
(นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
ผู้บันทึกกิจกรรม
ผู้บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่๑๔
๑. ชื่อกิจกรรมนับเลขการฟังอย่างตั้งใจ
๒. จุดประสงค์
๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา
หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น
๒.๒ เพื่อให้ครูที่ปรึกษาประจำชั้นได้พบนักเรียนของตนอย่างใกล้ชิด ใช้เวลาให้เกิดประโยชน์อย่าง
เต็มที่ และมีเป้าหมายนอกเหนือจากการสอนตามปกติ
๓. แผนการจัดกิจกรรม
๓.๑ ขั้นเตรียม
Breathingมีสติอยู่กับลมหายใจ
❑ Focusingมีสติกับการจดจ่อ
Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว
Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย
วิธีดำเนินการ
๑. ครูที่ปรึกษาพานักเรียนทำสมาธิในระยะเวลาสั้นๆ ๑-๒ นาที ประกอบเสียงเพลงที่ทำให้
นักเรียนความรู้สึกผ่อนคลาย เมื่อนักเรียนนิ่งพร้อมให้ดำเนินกิจกรรมต่อไปแล้วให้นักเรียน
๒. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว ครู
ที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า ด้วยน้ำเสียงที่นุ่มนวล แล้วปรบมือเป็นจังหวะ ๑๒๑๒๓๑๒๑๒๑
๓.๒ ขั้นกิจกรรม
๑. ครูที่ปรึกษานำนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมนับเลขการฟังอย่างตั้งใจ โดยขั้นแรกจะให้นักเรียน
สังเกตคนข้างหน้าและคนข้างหลังตนเอง เมื่อเสร็จแล้วครูที่ปรึกษาให้นักเรียนหลับตา และเริ่มนับจำนวนคนใน
ห้องจากด้านซ้ายไปขวาเริ่มจากช้า ๆ ก่อนจะเพิ่มความเร็ว
๒. เพิ่มความยากของการนับจากคนสุดท้ายมาคนแรก หรือการนับด้วยจำนวนคี่ จำนวนห่าง
กัน ๓จำนวน นับไปพร้อมนับกลับ ใช้เวลาประมาณ ๕ นาที ถ้านักเรียนนับช้าหรือนับผิดครูจะให้นักเรียนเริ่ม
นับใหม่เสมอ
๓. ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนสะท้อนความรู้สึกจากการทำกิจกรรมและครูที่ปรึกษากล่าวคำ
ขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรม และให้นักเรียนภายในห้องได้ขอบคุณซึ่งกันและกัน
๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ)
ขณะทำกิจกรรมนับเลขแรก ๆ นักเรียนมักเกิดความผิดพลาดได้มาก แต่เมื่อได้ทำซ้ำและมีสมาธิมาก
ขึ้น การนับเลขก็เป็นกิจกรรมที่ถือว่าประสบความสำเร็จในการฝึกการฟัง
ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ..............................................................
(นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
ผู้บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่๑๕
๑. ชื่อกิจกรรมเพลงเป็ด
๒. จุดประสงค์
๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา
หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น
๒.๒ เพื่อให้ครูที่ปรึกษาประจำชั้นได้พบนักเรียนของตนอย่างใกล้ชิด ใช้เวลาให้เกิดประโยชน์อย่าง
เต็มที่ และมีเป้าหมายนอกเหนือจากการสอนตามปกติ
๓. แผนการจัดกิจกรรม
๓.๑ ขั้นเตรียม
Breathingมีสติอยู่กับลมหายใจ
❑ Focusingมีสติกับการจดจ่อ
Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว
Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย
วิธีดำเนินการ
๑. ครูที่ปรึกษาพานักเรียนทำสมาธิในระยะเวลาสั้นๆ ๑-๒ นาที ประกอบเสียงเพลงที่ทำให้
นักเรียนความรู้สึกผ่อนคลาย เมื่อนักเรียนนิ่งพร้อมให้ดำเนินกิจกรรมต่อไปแล้วให้นักเรียน
๒. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว ครู
ที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า ด้วยน้ำเสียงที่นุ่มนวล แล้วปรบมือเป็นจังหวะ ๑๒๑๒๓๑๒๑๒๑
๓.๒ ขั้นกิจกรรม
๑. ครูที่ปรึกษานำเข้าสู่กิจกรรมโดยให้นักเรียนร่วมกันร้องเพลงเป็ด ๑ รอบ
๒. เมื่อร้องเพลงจบแล้วแล้ว ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนตบมือตามคำที่ร้องเพลงช้าง ซึ่งเป็นการ
ปรบมือที่ไม่ตรงจังหวะ แต่จะตรงกับคำที่นักเรียนเปล่งเสียง
๓. เพิ่มความยากของร้องเพลงช้างโดยการร้องเพลงในใจแต่ปรบมือ และ การร้องเพลงในใจ
ปรบมือในใจ แล้วปรบมือทันทีที่ร้องเพลงจบพร้อมออกเสียงคำว่า เฮ้
๔. ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนสะท้อนความรู้สึกจากการทำกิจกรรมและ และให้นักเรียนภายใน
ห้องได้ขอบคุณซึ่งกันและกัน
๓.๓ บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ)
เพิ่มความยากของร้องเพลงช้างโดยการร้องเพลงในใจแต่ปรบมือ และการร้องเพลงในใจ ปรบมือ
ในใจ นักเรียนไม่สามารถทำสำเร็จในครั้งแรก ครูที่ปรึกษาต้องมีการให้กำลังใจแก่นักเรียนและให้โอกาส
นักเรียนได้เริ่มใหม่อีกครั้งเพื่อให้เกิดความสามัคคี
ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ..............................................................
(นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
ผู้บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่๑๖
๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ซึ่ง
จะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น
๒.๒ เพื่อฝึกการจินตนาการจากสิ่งที่ได้รับฟังเพื่อถ่ายทอดออกมาในรูปแบบภาพวาด
๒.๓ เพื่อให้ครูที่ปรึกษาประจำชั้นได้พบนักเรียนของตนอย่างใกล้ชิด ใช้เวลาให้เกิดประโยชน์อย่าง
เต็มที่ และมีเป้าหมายนอกเหนือจากการสอนตามปกติ
๓. แผนการจัดกิจกรรม
๓.๑ ขั้นเตรียม
Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ
❑ Focusing มีสติกับการจดจ่อ
❑ Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว
Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย
วิธีดำเนินการ
๑. นักเรียนค่อยๆหลับตาสมาธิใช้เวลาสิบวินาที เมื่อครูเริ่มนับ ทุกๆคนก็จะเริ่มหลับตาและ
อยู่กับตัวเอง
๒. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว
ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า เพื่อทำกิจกรรม Relaxation โดยการเปิดเพลงพร้อมแจกกระดาษให้กับ
นักเรียนตามจังหวะเพลง ให้นักเรียนตั้งใจฟังเพลงและคิดตามไปอย่างช้าๆ
๓.๒ ขั้นกิจกรรม
๑. ครูที่ปรึกษานำนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมเรียกชื่อเพื่อน โดยให้นักเรียนคนแรกเรียกชื่อเพื่อน
แต่เจ้าของชื่อห้ามขานตอบรับ คนที่อยู่ข้างซ้ายต้องขานตอบรับแทน และเรียกชื่อเพื่อนคนถัดไป เล่นวนกัน
ภายในห้องเรียน นักเรียนต้องมีสติและสมาธิจดจ่อกับการขานชื่อ เพิ่มความสัมพันธ์ภายในห้องเรียน
๒. ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนสะท้อนความรู้สึกจากการทำกิจกรรมและครูที่ปรึกษากล่าวคำ
ขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรม และให้นักเรียนภายในห้องได้ขอบคุณซึ่งกันและกัน
๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ)
ขณะทำกิจกรรมเรียกชื่อเพื่อนสามารถทำให้นักเรียนต้องมีสติและสมาธิจดจ่อกับการฟังชื่อเพื่อนและ
เป็นการเพิ่มความสัมพันธ์ภายในห้องเรียน ลดความขัดแย้ง
ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ..............................................................
(นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
ผู้บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่ ๑๗
๑. ชื่อกิจกรรมback to back
๒. จุดประสงค์
๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา
หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น
๒.๒ เพื่อการดึงจิตกลับมาอยู่ที่ความรู้สึกทางกายไม่ให้ฟุ้งซ่าน
๓. แผนการจัดกิจกรรม
๓.๑ ขั้นเตรียม
Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ
❑ Focusing มีสติกับการจดจ่อ
Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว
❑ Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย
วิธีดำเนินการ
๑. นักเรียนยืนแยกเท้าทั้งสองข้างออกพอประมาณช่วงไหล่ เพื่อทำให้การทรงตัวดีขึ้น
ปล่อยมือตามสบายแนบข้างลำตัว หย่อนหัวไหล่เล็กน้อยให้หัวไหล่ผ่อนคลายแล้วปิดเปลือกตาลงอย่างผ่อน
คลาย หายใจเข้าออกยาวๆ
๒. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว
ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า เพื่อทำกิจกรรม Sketching มีสติกับการยืด เหยียด โดยให้นักเรียนนั่ง
ชันเข่า มือสองข้างประสานกันที่ท้ายทอย เอียงข้อศอกซ้ายแตะที่หัวเข่าขวา ยกข้อศอกซ้ายกลับไปที่เดิม
เปลี่ยนเป็นเอียงข้อศอกขวา
๓.๒ ขั้นกิจกรรม
๑. ครูที่ปรึกษานำนักเรียนจับคู่ แล้วนั่งให้หลังพิงกันและกัน ครูจับเวลา ๑ นาที ให้นักเรียน
นับจังหวะลมหายใจเข้าออกของเพื่อนที่จับคู่ด้วย เมื่อครบ๑นาทีแล้ว ขอตัวแทนนำเสนอ ๒-๓คน ครูทำซ้ำอีก
๒ ครั้ง โดยในแต่ละครั้งครูจะเพิ่มเวลามากขึ้น
๒. เมื่อนักเรียนสังเกตการณ์หายใจเพื่อนครบ ๓ครั้งแล้ว ครูที่ปรึกษาถามว่า ลมหายใจของ
เพื่อนและของตนเองนั้น เป็นอย่างไร ให้นักเรียนสะท้อนความรู้สึกจากการทำกิจกรรม๔-๕ คน
๓. ครูที่ปรึกษากล่าวคำขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรม และให้นักเรียนภายในห้อง
ได้ขอบคุณซึ่งกันและกัน
๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ)
การที่นักเรียนมีสมาธิอยู่กับการหายใจทำให้สามารถลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ได้ นักเรียนให้ความ
ร่วมมือในกิจกรรมได้ดีขึ้น
ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ..............................................................
(นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
ผู้บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่ ๑๘
๑. ชื่อกิจกรรมคู่คี่
๒. จุดประสงค์
๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา
หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น
๒.๒ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและสามารถถ่ายทอดเรื่องราวให้ผู้อื่นได้ร่วมชื่นชม
๓.๑ ขั้นเตรียม
Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ
Focusing มีสติกับการจดจ่อ
❑ Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว
❑ Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย
วิธีดำเนินการ
วิธีดำเนินการ
๑. ให้นักเรียนหงายมือแล้ววางไว้บนโต๊ะ หลับตาอย่างช้า ๆ ให้นักเรียนทำสมาธิในระยะเวลา
สั้นๆ ๒-๕ นาที ระหว่างขณะที่นักเรียนทำสมาธิครูจะเปิดเสียงเพลงประกอบโดยมีวัตถุประสงค์ให้นักเรียน
ความรู้สึกผ่อนคลาย
๒. ครูที่ปรึกษานำเข้าสู่กิจกรรมโดยให้นักเรียนทำกิจกรรมปรบมือสเตปมือ ได้แก่
- ตัก มือ ตัก ตัก มือ ตัก ตัก มือ ขวา ซ้าย ขวา ซ้าย มือ
- ตัก ตัก มือ มือ หมุน หมุน มือ ตัก ตัก มือ มือ อก อก มือ
- ยกมือซ้าย ยกมือขวา ประกบกันตรงหน้า กล่าวคำว่า “สวัสดีครับ/ค่ะ”
๓.๒ ขั้นกิจกรรม
๑. ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนปรบมือตามตัวเลขที่กำหนด เมื่อนักเรียนสามารถปรบมือได้พร้อม
เพรียงแล้วให้นักเรียนชูนิ้วชี้ข้างซ้ายเมื่อได้จำเลขจำนวนเลขคู่ ชูนิ้วชี้ข้างขวาเมื่อได้จำเลขจำนวนเลขคี่ครั้งแรก
อาจจะให้นักเรียนลืมตา แต่ครั้งที่ ๒ควรให้นักเรียนหลับตา เพื่อป้องกันการทำตามเพื่อนการเป็นการฝึกการฟัง
ครูที่ปรึกษาจะเพิ่มความเร็วในการบอกตัวเลข
๒. ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนปรบมือตามตัวเลขที่กำหนด และสำรวจตนเองว่าจากการทำ
กิจกรรม หากให้คะแนนตนเองเต็ม ๑๐คะแนน นักเรียนสามารถให้คะแนนตนเองเท่าไร เพราะเหตุใด
๓. ครูที่ปรึกษากล่าวคำขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรมให้สำเร็จลุล่วงไปได้ และให้
นักเรียนภายในห้องได้ขอบคุณซึ่งกันและกัน
๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ)
นักเรียนสามารถคิดเลขได้เร็วขึ้นเมื่อมีการทบทวนและมีสมาธิมาขึ้นหากไปมีเสียงรบกวนจาก
เพื่อนๆ ทำให้นักเรียนสามารถฟังและปฏิบัติการยกนิ้วชี้ได้ถูกต้อง
ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ..............................................................
(นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
ผู้บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่ ๑๙
๑. ชื่อกิจกรรมอวัยวะ
๒. จุดประสงค์
๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา
หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น
๒.๒ เพื่อฝึกการจินตนาการจากสิ่งที่ได้รับฟังเพื่อถ่ายทอดออกมาในรูปแบบภาพวาด
๒.๓ เพื่อฝึกการฟังอย่างตั้งใจ และไหวพริบ
๓. แผนการจัดกิจกรรม
๓.๑ ขั้นเตรียม
Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ
❑ Focusing มีสติกับการจดจ่อ
❑ Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว
Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย
วิธีดำเนินการ
วิธีดำเนินการ
๑. ให้นักเรียนหงายมือแล้ววางไว้บนโต๊ะ หลับตาอย่างช้า ๆ ให้นักเรียนทำสมาธิในระยะเวลา
สั้นๆ ๒-๕ นาที ระหว่างขณะที่นักเรียนทำสมาธิครูจะเปิดเสียงเพลงประกอบโดยมีวัตถุประสงค์ให้นักเรียน
ความรู้สึกผ่อนคลาย
๒. ครูที่ปรึกษานำเข้าสู่กิจกรรมโดยกำหนดอวัยวะกับตัวเลข เช่น เลข ๑ จับหู เลข ๒
จับจมูก เลข ๓ จับปาก เลข ๔ จับไหล่ เลข ๕ จับท้องครูกำหนดตัวเลขแล้วให้นักเรียนทำท่าโดยเริ่มจากง่าย
ไปยาก
๓.๒ ขั้นกิจกรรม
๑. ครูที่ปรึกษาเพิ่มความยากของการทำท่าโดยบอกเป็นชุดตัวเลข ตั้งแต่ ๓ หลักขึ้นไป และ
ในการทำท่านั้น นักเรียนจะต้องทำให้พร้อมเพรียงกัน
๒.นักเรียนสะท้อนความรู้สึกการทำกิจกรรมครั้งแรกกับครั้งสุดท้ายลงในสมุด Calm
Classroomว่า การทำท่าตามตัวเลขนั้นมีสำเร็จที่ได้เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
๓. สะท้อนความรู้สึกจากการทำกิจกรรมและครูที่ปรึกษากล่าวคำขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจใน
การทำกิจกรรม และให้นักเรียนภายในห้องได้ขอบคุณซึ่งกันและกัน
๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ)
กิจกรรมนี้ทำให้นักเรียนได้ฝึกการจำและฝึกสมาธิ
ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ..............................................................
(นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
ผู้บันทึกกิจกรรม
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf

More Related Content

Similar to กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf

ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนParichart Ampon
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนParichart Ampon
 
Speaking lesson plan
Speaking lesson planSpeaking lesson plan
Speaking lesson planAiwilovekao
 
teaching
teachingteaching
teachingsangkom
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)siraporn25
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)Siraporn Kongsomboon
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยPiyatida Prayoonprom
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1-สุทธิตา
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1-สุทธิตาฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1-สุทธิตา
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1-สุทธิตาJang Suttita
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาsuchinmam
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน นันทิชา
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน นันทิชาแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน นันทิชา
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน นันทิชาyoonkeyhun
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานpaifah
 

Similar to กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf (20)

ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอน
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอน
 
Speaking lesson plan
Speaking lesson planSpeaking lesson plan
Speaking lesson plan
 
teaching
teachingteaching
teaching
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ชุดกิจกรรมที่ 1
ชุดกิจกรรมที่  1ชุดกิจกรรมที่  1
ชุดกิจกรรมที่ 1
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ทักษะการขอความช่วยเหลือ
ทักษะการขอความช่วยเหลือทักษะการขอความช่วยเหลือ
ทักษะการขอความช่วยเหลือ
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1-สุทธิตา
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1-สุทธิตาฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1-สุทธิตา
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1-สุทธิตา
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
B slim
B slim B slim
B slim
 
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน นันทิชา
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน นันทิชาแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน นันทิชา
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน นันทิชา
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน
 

More from ssuser6a0d4f

แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfssuser6a0d4f
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxssuser6a0d4f
 
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docxนวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docxssuser6a0d4f
 
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfแผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfssuser6a0d4f
 
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdf
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdfการสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdf
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdfssuser6a0d4f
 
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdfนวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdfssuser6a0d4f
 

More from ssuser6a0d4f (6)

แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
 
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docxนวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
 
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfแผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
 
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdf
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdfการสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdf
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdf
 
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdfนวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
 

กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf

  • 1. แผนการจัดกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่๒/๑ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนโกสัมพีวิทยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากำแพงเพชร กิจกรรมที่ ๑ ๑. ชื่อกิจกรรม ปฏิบัติสมาธิกำหนดลมหายใจ ๒. จุดประสงค์ ๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น ๓. แผนการจัดกิจกรรม ๓.๑ ขั้นเตรียม  Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ  Focusing มีสติกับการจดจ่อ  Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว  Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย วิธีดำเนินการ ๑. ปรับสภาพห้องเรียนให้โล่ง พร้อมสำหรับนั่งสมาธิกับพื้น ๒. นักเรียนมีพรมหรือเบาะรองนั่งคนละ ๑ เบาะ ๓. นักเรียนเดินเข้าห้องอย่างมีสติ ไม่ส่งเสียงดังหรือพูดคุย ๔. นักเรียนวางเบาะนั่งสมาธิเป็นแถวตามข้อตกลง ๓.๒ ขั้นกิจกรรม ๑. นักเรียนสวดมนต์ไหว้พระก่อนนั่งสมาธิ ๒. นักเรียนนั่งขัดสมาธิ ตั้งกายตรง ๓. หลับตาทำจิตใจให้ผ่อนคลาย ๔. ฟังดนตรีบรรเลงเพื่อสมาธิ ประมาณ ๕ นาที ๕. เมื่อครบเวลาให้นักเรียนถอนออกจากสมาธิ ลืมตาแต่อยู่ในความสงบ ๖. ให้ตัวแทนนักเรียนบอกเล่าความรู้สึกของตนเอง ทั้งก่อนปฏิบัติกิจกรรม ระหว่างปฏิบัติ กิจกรรม และหลังจากทำกิจกรรมเสร็จแล้ว ๗. ครูกล่าวให้กำลังใจ ครูและนักเรียนแสดงความขอบคุณซึ่งกันและกัน ๓.๓ บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ) การปฏิบัตินั่งสมาธิเป็นวิธิการที่ง่ายๆ และนักเรียนเคยมีประสบการณ์มาบ้างแล้วจากหลายๆ โอกาส และเป็นสิ่งที่สามารถปฏิบัติได้ง่ายไม่ยุ่งยากซับซ้อน นักเรียนสามารถทำได้ด้วยตนเองในทุกสถานที่ทุกเวลา ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ.............................................................. (นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
  • 2. กิจกรรมที่ ๒ ๑. ชื่อกิจกรรม ข้อคิดจากภาพยนตร์ตัวอย่าง (ไวรัสล้างโลก) ๒. จุดประสงค์ ๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น ๒.๒ เพื่อกระตุ้นจิตนาการและแสดงออกถึงทัศนะของนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่ได้รับรู้ ๓. แผนการจัดกิจกรรม ๓.๑ ขั้นเตรียม  Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ  Focusing มีสติกับการจดจ่อ  Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว  Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย วิธีดำเนินการ ๑. ครูเตรียมภาพยนตร์เรื่องไวรัสล้างโลก ซึ่งมีเนื้อหาสอดคล้องทันสมัยกับเหตุการณ์ ๒. นักเรียนนั่งประจำที่และกำหนดสติด้วยการทำสมาธิสั้นๆ ๑ นาทีก่อนรับชมภาพยนต์ ๓.๒ ขั้นกิจกรรม ๑. นักเรียนรับชมภาพยนตร์ต่างประเทศพากษ์ไทย เรื่องไวรัสล้างโลก เป็นเวลา ๑๐ นาที ๒. เมื่อครบเวลา ครูหยุดภาพยนตร์ไว้และตั้งคำถามกับนักเรียน - ภาพยนตร์นี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องอะไร - นักเรียนเห็นตัวละครเป็นใครบ้างและตัวละครแต่ละตัวมีพฤติกรรมที่เด่นชัด อย่างไร - ภาพยนตร์เรื่องนี้ให้ข้อคิดอะไรกับนักเรียนบ้าง ๓. ครูกล่าวให้กำลังใจ ครูและนักเรียนแสดงความขอบคุณซึ่งกันและกัน ๓.๓ บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ) นักเรียนมีความตื่นเต้น จดจ่อกับภาพยนตร์โดยเฉพาะภาพยนตร์เรื่องไวรัสล้างโลกนี้ มีเนื้อหา ที่สอดคล้อง ทันสมัยกับเหตุการณ์โรคระบาดในปัจจุบัน ทำให้นักเรียนสามารถจินตนาการ และกล้าแสดงออก มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ กว้างขวาง สะท้อนแนวคิดของตนเองได้ ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ.............................................................. (นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ) ผู้บันทึกกิจกรรม
  • 3. กิจกรรมที่ ๓ ๑. ชื่อกิจกรรม ความสุข ๓ อย่าง ๒. จุดประสงค์ ๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น ๒.๒ เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ข้อคิดของการใช้ชีวิตซึ่งกันและกันจากกิจกรรม ๓. แผนการจัดกิจกรรม ๓.๑ ขั้นเตรียม  Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ  Focusing มีสติกับการจดจ่อ  Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว  Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย วิธีดำเนินการ ๑. ครูเตรียมกระดาษการ์ดเปล่า ๓ สี ให้เพียงพอกับจำนวนนักเรียน ๒. นักเรียนนั่งล้อมวงกลมที่พื้นห้อง ๓. นักเรียนทำสมาธิ ๑ นาที ก่อนปฏิบัติกิจกรรม ๔. นักเรียนรับฟังและทำความเข้าใจในวิธีการปฏิบัติ ๕. นักเรียนได้รับกระดาษการ์ดสีเปล่าคนละ ๓ ใบ สีชมพู สีเหลือง สีเขียว ๖. นักเรียนส่งกระดาษการ์ดให้กันอย่างนอบน้อม ๓.๒ ขั้นกิจกรรม ๑. เมื่อนักเรียนได้กระดาษการ์ดสี ๓ ใบ ครบทุกคนแล้ว ๒. ครั้งที่ ๑ กระดาษการ์ดสีชมพู ครูให้นักเรียนเขียนบอกสิ่งที่นักเรียนทำแล้วมีความสุข มากที่สุด ๑ อย่าง ลงในการ์ดสีชมพู ให้เวลาในการคิดและเขียนลงไป ๑ นาที ๓. ครั้งที่ ๒ กระดาษการ์ดสีเหลือง ครูให้นักเรียนเขียนบอกสิ่งที่นักเรียนทำแล้วมีความสุข มาก(เป็นอันดับ ๒) ลงในการ์ดสีเหลือง ให้เวลาในการคิดและเขียนลงไป ๑ นาที ๔. ครั้งที่ ๓ กระดาษการ์ดสีเขียว ครูให้นักเรียนเขียนบอกสิ่งที่นักเรียนทำแล้วมีความสุข (เป็นอันดับ ๓ ) ลงในกระดาษการ์ดสีเขียว ให้เวลาในการคิดและเขียนลงไป ๑ นาที ๕. เมื่อนักเรียนเขียนครบทุกกระดาษการ์ดสีแล้ว ครูติดกระดาษชาร์จ (หรือเขียนลง กระดาน) โดยแบ่งออกเป็น ๓ ช่อง คือ ช่อง ความสุขมากที่สุด ช่องความสุขมาก และ ช่องความสุข ๖. ตัวแทนนักเรียนรวบรวมการ์ดสีของทุกคน แยกเป็น ๓ กอง คือ การ์ดสีชมพู การ์ดสี เหลือง และการ์ดสีเขียว ๗. นำข้อความจากการ์ดสีชมพูของทุกคนเขียนลงในช่องความสุขมากที่สุด การ์ดสีเหลือง เขียนลงในช่องความสุขมาก การ์ดสีเขียวเขียนลงในช่องความสุข ๘. ให้นักเรียนร่วมกันดูข้อความในแต่ละช่องแห่งความสุขว่ามีที่เหมือนกันหรือแตกต่างกัน อย่างไร ๙. ให้นักเรียนลองวิเคราะห์แยกความสุขแต่ละอย่างว่า มีความสุขใดบ้างที่เป็นการทำเพื่อ ตนเองเพียงอย่างเดียว และมีความสุขอะไรบ้างที่เป็นการทำเพื่อผู้อื่น
  • 4. ๑๐.ให้นักเรียนสะท้อนคิด แสดงทัศนส่วนตัวว่าการทำอะไรเพื่อความสุขของตนเองเพียง อย่างเดียว กับการทำสิ่งใดเพื่อความสุขของส่วนรวมแตกต่างหรือมีคุณค่าอย่างไร ๑๑.ตัวนักเรียนอยากจะปรับเปลี่ยนวิธีการแห่งความสุขของตนเองที่เขียนไปแล้วบ้างหรือไม่ อย่างไร ๑๒.ครูกล่าวให้กำลังใจ ครูและนักเรียนแสดงความขอบคุณซึ่งกันและกัน ๓.๓ บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ) นักเรียนได้เรียนรู้ว่าความสุขที่มีคุณค่าควรจะเป็นความสุขรูปแบบใด และถ้านักเรียนเคยมี ความสุขที่ทำเพื่อตนเองเพียงอย่างเดียว หากลองมาทำสิ่งที่เป็นประโยชน์เพื่อคนอื่น เพื่อส่วนรวมบ้างจะมี ความสุขและความภาคภูมิใจเพียงใด ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ.............................................................. (นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ) ผู้บันทึกกิจกรรม
  • 5. กิจกรรมที่ ๔ ๑. ชื่อกิจกรรม ตัวอักษรซ่อนฝัน ๒. จุดประสงค์ ๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น ๒.๒ เพื่อให้นักเรียนได้แสดงออกถึงจิตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง ๓. แผนการจัดกิจกรรม ๓.๑ ขั้นเตรียม  Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ  Focusing มีสติกับการจดจ่อ  Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว  Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย วิธีดำเนินการ ๑. ครูเตรียมกระดาษเปล่าและดินสอสี หรือปากกา ๒. นักเรียนนั่งประจำโต๊ะเรียน ๓. นักเรียนทำสมาธิ ๑ นาที ก่อนปฏิบัติกิจกรรม ๔. นักเรียนรับฟังและทำความเข้าใจในวิธีการปฏิบัติ ๕. นักเรียนได้รับกระดาษวาดภาพคนละ ๑ แผ่น และดินสอสีหรือปากกา ๓.๒ ขั้นกิจกรรม ๑. นักเรียนบอกอักษรที่มีอยู่ในชื่อของตนเองจะเป็นอักษรไทย หรืออักษรภาษาอังกฤษก็ได้ ซึ่งเป็นตัวอักษรที่นักเรียนชื่นชอบมากที่สุด ๒. ให้นักเรียนใช้ดินสอสี หรือปากกา เขียนตัวอักษรที่ชื่นชอบลงในกระดาษ ให้มีขนาดใหญ่ พอสมควร ๓. ครูให้นักเรียนยกกระดาษที่เขียนตัวอักษรของแต่ละคนแสดงให้เพื่อนๆได้เห็น และ ช่วยกันวิเคราะห์ว่า มีตัวอักษรอะไรที่ชอบเหมือนๆ กันมากที่สุด ๔. จากตัวอักษรที่เขียนแล้ว ให้นักเรียนต่อเติมเสริมภาพจากตัวอักษรนั้น ให้เป็นภาพตาม จิตนาการของตนเอง ให้เวลาในการต่อเติม ๑๐ นาที ๕. เมื่อหมดเวลาให้นักเรียนนำภาพที่ต่อเติมเสร็จแล้วติดลงบนกระดานหน้าห้องเรียน ๖. ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนบอกเล่าแนวคิดที่ต่อเติมภาพด้วยตัวอักษรของตนเอง ๗. ครูกล่าวให้กำลังใจ ครูและนักเรียนแสดงความขอบคุณซึ่งกันและกัน ๓.๓ บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ) นักเรียนได้แสดงออกทางศิลปะ มีความผ่อนคลายตามจิตนาการของตนเอง พัฒนาไปสู่ ความคิดสร้างสรรค์ด้านทัศนศิลป์ต่อไป ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ.............................................................. (นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ) ผู้บันทึกกิจกรรม
  • 6. กิจกรรมที่ ๕ ๑. ชื่อกิจกรรม ใบไม้ซ่อนฝัน ๒. จุดประสงค์ ๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น ๒.๒ เพื่อให้นักเรียนได้แสดงออกถึงจิตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง ๓. แผนการจัดกิจกรรม ๓.๑ ขั้นเตรียม  Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ  Focusing มีสติกับการจดจ่อ  Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว  Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย วิธีดำเนินการ ๑. ครูเตรียมกระดาษเปล่าและดินสอสี หรือปากกา ๒. ใช้สถานที่บริเวณหลังหอประชุม ๓. นักเรียนทำสมาธิ ๑ นาที ก่อนปฏิบัติกิจกรรม รับฟังและทำความเข้าใจในวิธีการปฏิบัติ ๓.๒ ขั้นกิจกรรม ๑. นักเรียนเลือกเก็บใบไม้ที่ร่วงหล่นตามพื้น ที่มีรูปร่างลักษณะถูกใจไว้สักใบ เลือกได้แล้ว นำกลับมายังลานกิจกรรม ๒. นักเรียนได้รับกระดาษวาดเขียนและอุปกรณ์วาดภาพ นำใบไม้ที่เลือกมาวางทาบลงบน กระดาษ แล้วลากเส้นรอบนอกใบ วาดเสร็จแล้วนำใบใม้นั้นกลับคืนสู่ธรรมชาติ ๓. จากลายเส้นที่ได้บนกระดาษ นักเรียนเติมแต่ง สร้างสรรค์เป็นภาพอะไรได้บ้าง ให้เวลา ในการต่อเติม ๑๐ นาที ๔. นักเรียน ยืนเป็นวงกลม นำภาพที่แต่งไว้วางที่พื้นตรงหน้า แล้วเดินขยับวงกลมไป ทางขวาเป็นจังหวะช้าๆ เพื่อให้ได้ชมผลงานของเพื่อนๆ ได้ครบทุกคนจนกลับมาถึง ผลงานของตัวเอง ๕. นักเรียนแต่ละคนบอกเล่า ความคิดของตนเองเกี่ยวกับภาพที่สร้างขึ้นมา ๖. ครูกล่าวให้กำลังใจ ครูและนักเรียนแสดงความขอบคุณซึ่งกันและกัน ๗. เก็บผลงานภาพที่สร้างสรรค์ไว้ไปติดบอร์ดแสดงแบ่งกันชม ๘. ๓.๓ บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ) นักเรียนได้แสดงออกทางศิลปะ มีความผ่อนคลายตามจิตนาการของตนเอง พัฒนาไปสู่ ความคิดสร้างสรรค์ด้านทัศนศิลป์ต่อไป ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ.............................................................. (นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ) ผู้บันทึกกิจกรรม
  • 7. กิจกรรมที่ ๖ ๑. ชื่อกิจกรรม เส้นเดียว ไม่ยก ไม่มอง ๒. จุดประสงค์ ๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น ๒.๒ เพื่อให้นักเรียนได้แสดงออกถึงจิตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง ๓. แผนการจัดกิจกรรม ๓.๑ ขั้นเตรียม  Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ  Focusing มีสติกับการจดจ่อ  Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว  Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย วิธีดำเนินการ ๑. ครูเตรียมกระดาษเปล่าและดินสอสี หรือปากกา ๒. ให้นักเรียนจับคู่กัน และนั่งเป็นวงกลมซ้อนกัน ๒ วง โดยแต่ละคู่ให้นั่งหันหน้าเข้าหากัน ๓. นักเรียนทำสมาธิ ๑ นาที ก่อนปฏิบัติกิจกรรม รับฟังและทำความเข้าใจในวิธีการปฏิบัติ ๔. กติกาคือการลากเส้นขณะปฏิบัติกิจกรรมนี้นักเรียนต้องลากเส้นต่อเนื่องไปจนกว่าจะ เสร็จ โดยที่สายตาต้องมองไปที่แบบ แต่ไม่มองที่มือหรือกระดาษที่กำลังวาด และต้องไม่ ยกมือ ถ้ายกมือ หรือเผลอมองกระดาษ ให้ยุติการวาดแต่เพียงเท่านั้นในแต่ละครั้ง ๓.๒ ขั้นกิจกรรม ๑. นักเรียนกล่าวคำว่า “เส้นเดียว ไม่ยก ไม่มอง” ทุกครั้งก่อนลงมือวาด ๒. กระดาษวางที่พื้นห้อง สายตาจับจ้องไปที่ใบหน้าเพื่อนที่อยู่ตรงหน้าเรา แล้วกำหนดสติ ลากเส้นเป็นใบหน้าเพื่อนตรงหน้า โดยปฏิบัติตามกติกาอย่างเคร่งครัด ๓. เมื่อเสร็จแล้วให้หยุดวาด เขียนชื่อเพื่อนและยกภาพหน้าเพื่อนให้เพื่อนดู ๔. ครูให้ขยับวงเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนคู่กันไปเช่น ให้วงนอกขยับเปลี่ยนที่ไปทางขวา ๒ ตำแหน่ง เพื่อให้ได้เพื่อนคนใหม่ในการวาด ๕. ครูให้วาด เส้นเดียว ไม่ยก ไม่มอง ประมาณ ๔- ๕ คน หรือตามเวลาที่เหมาะสมแล้วหยุด กิจกรรม ๖. นักเรียนแต่ละคนบอกเล่า ความรู้สึกของตนเองขณะปฏิบัติกิจกรรม ๗. ครูกล่าวให้กำลังใจ ครูและนักเรียนแสดงความขอบคุณซึ่งกันและกัน ๘. เก็บผลงานภาพที่สร้างสรรค์ไว้ไปติดบอร์ดแสดงแบ่งกันชม ๓.๓ บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ) นักเรียนได้แสดงออกทางศิลปะ มีความผ่อนคลายได้ฝึกความซื่อสัตย์ พัฒนาไปสู่ความคิด สร้างสรรค์ด้านทัศนศิลป์ต่อไป ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ.............................................................. (นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ) ผู้บันทึกกิจกรรม
  • 8. กิจกรรมที่ ๗ ๑. ชื่อกิจกรรมBody Scan ๒. จุดประสงค์ ๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น ๒.๒ เพื่อการดึงจิตกลับมาอยู่ที่ความรู้สึกทางกายไม่ให้ฟุ้งซ่าน ๒.๓ เพื่อให้ครูที่ปรึกษาประจำชั้นได้พบนักเรียนของตนอย่างใกล้ชิด ใช้เวลาให้เกิดประโยชน์อย่าง เต็มที่ และมีเป้าหมายนอกเหนือจากการสอนตามปกติ ๓. แผนการจัดกิจกรรม ๓.๑ ขั้นเตรียม Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ ❑ Focusing มีสติกับการจดจ่อ Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว ❑ Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย วิธีดำเนินการ ๑. นักเรียนยืนแยกเท้าทั้งสองข้างออกพอประมาณช่วงไหล่ เพื่อทำให้การทรงตัวดีขึ้น ปล่อยมือตามสบายแนบข้างลำตัว หย่อนหัวไหล่เล็กน้อยให้หัวไหล่ผ่อนคลายแล้วปิดเปลือกตาลงอย่างผ่อน คลาย หายใจเข้าออกยาวๆ ๒. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า เพื่อทำกิจกรรม Sketching มีสติกับการยืด เหยียด โดยให้นักเรียนนั่ง ชันเข่า มือสองข้างประสานกันที่ท้ายทอย เอียงข้อศอกซ้ายแตะที่หัวเข่าขวา ยกข้อศอกซ้ายกลับไปที่เดิม เปลี่ยนเป็นเอียงข้อศอกขวา ๓.๒ ขั้นกิจกรรม ๑. ครูที่ปรึกษาแจกครึ่งกระดาษ ให้กับนักเรียนทุกคนเพื่อเข้าสู้กิจกรรมต่อไป ๒. ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนสังเกตร่างกายตนเองและเขียนสิ่งที่นักเรียนสังเกตที่เป็นจุดเด่นซึ่ง ทุกคนสามารถมองเห็นและรู้ว่าเป็นตนเองลงในกระดาษคนละ ๕ ข้อ ๓.จากนั้นให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนแลกเปลี่ยนกันสังเกตซึ่งกันและกัน และให้เพื่อนพูดถึงสิ่ง ที่สังเกตและเป็นจุดเด่นที่เพื่อนสามารถสังเกตเราได้ ๔. จากนั้นให้นักเรียนทำเครื่องหมายที่ตรงกับที่เพื่อนสังเกต และเขียนเพิ่มเติมในสิ่งที่เพื่อน สังเกตเพิ่มได้ ๕. ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนพูดเกี่ยวกับการทำกิจกรรม โดยมีประเด็นคำถาม ดังนี้ - รู้สึกอย่างไรที่เพื่อนสังเกตเราได้ตรงกับที่เราสังเกตตนเอง - รู้สึกอย่างไรที่มีจุดที่เพื่อนสังเกตได้แตกต่างออกไป
  • 9. ๖. ครูที่ปรึกษากล่าวคำขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรมให้สำเร็จลุล่วงไปได้ ๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ) หลังจากการทำBody Scan นักเรียนสามารถจดจ่ออยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลาหนึ่งได้จากการ นั่งสมาธิ ซึ่งช่วยให้เกิดความสงบและสติในการทำกิจกรรมSketching และการสะท้อนความรู้สึกที่เพื่อน สามารถมองเห็นในมุมที่แตกต่างออกไปที่เรามองไม่เห็นตัวเอง ทำให้นักเรียนรู้จักมุมมองใหม่ๆที่เพื่อนมองเห็น มากขึ้น และทำให้รู้จักตนเองมากขึ้น ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ.............................................................. (นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ) ผู้บันทึกกิจกรรม
  • 10. กิจกรรมที่ ๘ ๑. ชื่อกิจกรรมเสียงกระซิบ ๒. จุดประสงค์ ๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น ๒.๒ เพื่อฝึกการจินตนาการจากสิ่งที่ได้รับฟังเพื่อถ่ายทอดออกมาในรูปแบบภาพวาด ๒.๓ เพื่อให้ครูที่ปรึกษาประจำชั้นได้พบนักเรียนของตนอย่างใกล้ชิด ใช้เวลาให้เกิดประโยชน์อย่าง เต็มที่ และมีเป้าหมายนอกเหนือจากการสอนตามปกติ ๓. แผนการจัดกิจกรรม ๓.๑ ขั้นเตรียม Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ ❑ Focusing มีสติกับการจดจ่อ ❑ Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย วิธีดำเนินการ ๑. นักเรียนค่อยๆหลับตาสมาธิใช้เวลาสิบวินาที เมื่อครูเริ่มนับ ทุกๆคนก็จะเริ่มหลับตาและ อยู่กับตัวเอง ๒. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า เพื่อทำกิจกรรมRelaxationโดยการเปิดเพลงพร้อมแจกกระดาษให้กับ นักเรียนตามจังหวะเพลง ให้นักเรียนตั้งใจฟังเพลงและคิดตามไปอย่างช้าๆ ๓.๒ ขั้นกิจกรรม ๑. เมื่อทุกคนได้รับอุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว ครูที่ปรึกษาเล่าเรื่องราวโดยในช่วงที่เล่าก็จะให้ นักเรียนวาดสิ่งที่ได้ฟังลงบนกระดาษ เรื่องเล่า “มีต้นไม้ต้นหนึ่ง ซึ่งบนต้นไม้นั้นมีผลไม้ติดอยู่ ๑ ผล ซึ่งข้างๆต้นไม้ต้นนั้นได้มีบ้าน หลังเล็กๆ ตั้งอยู่ บ้านหลังนี้มีประตูจำนวน ๑ บาน ข้างๆบ้านที่น่ารักหลังนั้นมีโอ่งน้ำ วางอยู่ ๒ ใบ แต่ละใบมี รูปดาวน้อยติดอยู่ และสักครู่ ก็มีนกน้อยบินมาจับบนฝาโอ่งน้ำแต่ละใบ ข้างๆโองน้ำนั้นมีมดเดินมาด้วยกัน ๓ ตัว แต่ละตัวเป็นเพื่อนกับผีเสื้อ ซึ่งผีเสื้อกำลังบินมาเกาะที่ดอกไม้แสนสวย ซึ่งดอกไม้แสนสวยนั้นก็มีเพื่อน เช่นกัน เพื่อนของเขาเป็นดอกไม้ชนิดหนึ่งมีกลีบทั้งหมด ๕ กลีบ และในวันนั้นเองบนท้องฟ้า ก็มีเมฆน้อยลอย อยู่ด้วยกันทั้งหมด ๔ ก้อน แต่ละก้อนเริ่มมีหยาดฝนเล็กๆโปรยปรายลงมา ในคราวเดียวกัน ก็มีเด็กหญิงตัว เล็กๆกำลังยืนกางร่มของเธอท่ามกลายสายฝน” ๒. ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนวาดภาพบริเวณที่นักเรียนอยากอยู่ที่ใดก็ได้ ๓.ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนพูดเกี่ยวกับการทำกิจกรรม โดยมีประเด็นคำถาม ดังนี้ -ในภาพที่ตนเองวาดนักเรียนประทับใจอะไรมากที่สุด -นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากกิจกรรมนี้ ๔. ครูที่ปรึกษากล่าวคำขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรมให้สำเร็จลุล่วงไปได้ ๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ)
  • 11. หลังจากการทำเสียงกระซิบนักเรียนสามารถจดจ่ออยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลาหนึ่งได้จากการ นั่งสมาธิ ซึ่งช่วยให้เกิดความสงบ นักเรียนสามารถจินตนาการและรู้สึกไปกับเรื่องราวที่เล่า ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ.............................................................. (นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ) ผู้บันทึกกิจกรรม
  • 12. กิจกรรมที่ ๙ ๑. ชื่อกิจกรรมธรรมชาติ ๒. จุดประสงค์ ๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น ๒.๒ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและสามารถถ่ายทอดเรื่องราวให้ผู้อื่นได้ร่วมชื่นชม ๒.๓ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและเชื่อมโยงจินตนาการ สร้างงานศิลปะจาก วัสดุธรรมชาติที่มีอยู่จริง ๓. แผนการจัดกิจกรรม ๓.๑ ขั้นเตรียม Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ Focusing มีสติกับการจดจ่อ ❑ Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว ❑ Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย วิธีดำเนินการ ๑. นักเรียนค่อยๆหลับตาสมาธิใช้เวลาสิบวินาที เมื่อครูเริ่มนับ ทุกๆคนก็จะเริ่มหลับตาและ อยู่กับตัวเองโดยการเปิดเพลงประกอบ ๒. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า เพื่อทำกิจกรรมจดจ่อ โดยการให้นักเรียนจับอวัยวะสลับข้างกับที่ครูพูด เช่น จับแขนขวา นักเรียนจะต้องจับแขนซ้าย ๓.๒ ขั้นกิจกรรม ๑. ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนเลือกกิ่งไม้ ใบไม้ รูปร่างต่างๆที่ครูนำมาเตรียมไว้ให้ และให้ นักเรียนเลือกสีและกระดาษ นำไปวาดรูปพร้อมตั้งชื่อกิ่งไม้หรือไม้ของตัวเอง ๒. จากนั้นคุณครูที่ปรึกษาจับสลากชื่อนักเรียนแต่ละคน และให้นักเรียนเล่าเกี่ยวกับภาพที่ วาด ๓.ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนพูดเกี่ยวกับการทำกิจกรรม โดยมีประเด็นคำถาม ดังนี้ - นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากกิจกรรมนี้ ๔. ครูที่ปรึกษากล่าวคำขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรมให้สำเร็จลุล่วงไปได้ ๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ) หลังจากการทำธรรมชาตินักเรียนสามารถจดจ่ออยู่กับสิ่งที่ทำ ในช่วงแรกมีการทำไม่ถูกต้องบ้าง แต่ เมื่อทำไประยะหนึ่งนักเรียนทำไม่ถูกต้องน้อยลง ทั้งยังสามารถสร้างเสียงหัวเราะให้กับนักเรียน นักเรียน สามารถจินตนาการและพูดถึงภาพที่ตนเองวาด ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ.............................................................. (นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ) ผู้บันทึกกิจกรรม
  • 13. กิจกรรมที่ ๑๐ ๑. ชื่อกิจกรรมนิทานสอนใจ (ตอน เดี๋ยวก่อน) ๒. จุดประสงค์ ๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น ๒.๒ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและสามารถถ่ายทอดเรื่องราวให้ผู้อื่นได้ร่วมชื่นชม ๒.๓ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและเชื่อมโยงจินตนาการ สร้างงานศิลปะจาก วัสดุธรรมชาติที่มีอยู่จริง ๓. แผนการจัดกิจกรรม ๓.๑ ขั้นเตรียม Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ Focusing มีสติกับการจดจ่อ ❑ Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว ❑ Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย วิธีดำเนินการ ๑. นักเรียนค่อยๆหลับตาสมาธิใช้เวลาสิบวินาที เมื่อครูเริ่มนับ ทุกๆคนก็จะเริ่มหลับตาและ อยู่กับตัวเองโดยการเปิดเพลงประกอบ ๒. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า เพื่อทำกิจกรรมจดจ่อ โดยการให้นักเรียนนับนิ้วโดยการไล่นิ้วไปทีละนิ้ว และไล่นิ้วกลับมา จากนิ้วโป้งทั้งสองข้าง และเปลี่ยนเป็นข้างซ้ายนิ้วก้อย ข้างขวานิ้วโป้ง ๓.๒ ขั้นกิจกรรม ๑. ครูที่ปรึกษาแจกกระดาษให้กับนักเรียน โดยให้นักเรียนดูนิทานสอนใจ จากนั้นให้สรุปเป็น ความคิดของตัวเองว่าเรื่องเกี่ยวกับอะไร นิทานสอนใจ เรื่อง เดี๋ยวก่อน ๒.ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนพูดเกี่ยวกับการทำกิจกรรม โดยมีประเด็นคำถาม ดังนี้ - นิทานสอนใจเล่าเรื่องเกี่ยวกับอะไร - นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากกิจกรรมนี้ - นักเรียนได้ข้อคิดเกี่ยวกับเรื่องใด ๓. ครูที่ปรึกษากล่าวคำขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรมให้สำเร็จลุล่วงไปได้ ๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ) หลังจากการทำนิทานสอนใจ (ตอน เดี๋ยวก่อน) นักเรียนสามารถจดจ่ออยู่กับการสัมผัสปลายนิ้ว เมื่อ นักเรียนทำไปได้ระยะหนึ่งนักเรียนสามารถทำได้ถูกต้องและไล่ได้ตามตัวเลขโดยไม่ผิด เมื่อนักเรียนฟังเรื่องเล่า นักเรียนได้ข้อคิดคือ ควรทำในสิ่งที่คิดและลงมือทำ ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ.............................................................. (นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ) ผู้บันทึกกิจกรรม
  • 14. กิจกรรมที่ ๑๑ ๑. ชื่อกิจกรรมไพ่ได้ใจ ๒. จุดประสงค์ ๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น ๒.๒ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและสามารถถ่ายทอดเรื่องราวให้ผู้อื่นได้ร่วมชื่นชม ๒.๓ เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้การรับฟัง และรับรู้ความรู้สึกของคนอื่นรวมทั้งการเลือกใช้คำเพื่อช่วยเหลือ ด้านอารมณ์ความรู้สึก ๓. แผนการจัดกิจกรรม ๓.๑ ขั้นเตรียม Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ Focusing มีสติกับการจดจ่อ ❑ Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว ❑ Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย วิธีดำเนินการ ๑. นักเรียนค่อยๆหลับตาสมาธิใช้เวลาสิบวินาที เมื่อครูเริ่มนับ ทุกๆคนก็จะเริ่มหลับตา หายใจเข้าลึกๆ ผ่อนคลายร่างกายทุกส่วน ผ่อนคลายบริเวณกระหม่อม ให้จินตนาการว่ามีนํ้าพุผุดออกมา นํ้า ไหลชโลมลงมาที่หน้าผาก ๒. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า เพื่อทำกิจกรรมจดจ่อ โดยการให้นักเรียนใช้ปลายนิ้วสัมผัสกันและให้ ขยับคล้ายปรบมือแต่ไม่มีเสียง โดยให้มีเพียงปลายนิ้วเท่านั้นที่สัมผัสกัน ๓.๒ ขั้นกิจกรรม ๑. ให้นักเรียนจับกลุ่มกัน ๓ - ๔ คน จากนั้นให้ตัวแทนเริ่มเล่าเรื่อง โดยให้คนที่เริ่มก่อนนั้น เป็น “เจ้ามือ” โดยทุกคนจะต้องตั้งใจฟังและไม่ตั้งคำถามและเจ้ามือจะแจกบัตรคำที่แสดงความรู้สึก (บัตรสี เหลือง) และบัตรแสดงความต้องการ (บัตรสีชมพู) ให้กับสมาชิกในกลุ่ม ๒.ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนพูดเกี่ยวกับการทำกิจกรรม โดยมีประเด็นคำถาม ดังนี้ - นิทานสอนใจเล่าเรื่องเกี่ยวกับอะไร - นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากกิจกรรมนี้ - นักเรียนได้ข้อคิดเกี่ยวกับเรื่องใด ๓. ครูที่ปรึกษากล่าวคำขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรมให้สำเร็จลุล่วงไปได้ ๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ) หลังจากการทำนิทานสอนใจ (ตอน เดี๋ยวก่อน) นักเรียนสามารถจดจ่ออยู่กับการสัมผัสปลายนิ้ว เมื่อ นักเรียนทำไปได้ระยะหนึ่งนักเรียนสามารถทำได้ถูกต้องและไล่ได้ตามตัวเลขโดยไม่ผิด เมื่อนักเรียนฟังเรื่องเล่า นักเรียนได้ข้อคิดคือ ควรทำในสิ่งที่คิดและลงมือทำ ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ.............................................................. (นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ) ผู้บันทึกกิจกรรม
  • 15. กิจกรรมที่๑๒ ๑. ชื่อกิจกรรมBrain Gym ๒. จุดประสงค์ ๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น ๒.๒ เพื่อฝึกสมองทั้งสองซีกจาการทำกิจกรรม Brain Gym ๓. แผนการจัดกิจกรรม ๓.๑ ขั้นเตรียม Breathingมีสติอยู่กับลมหายใจ ❑ Focusingมีสติกับการจดจ่อ Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย วิธีดำเนินการ ๑. ครูที่ปรึกษาพานักเรียนทำสมาธิในระยะเวลาสั้นๆ ๑-๒ นาที ประกอบเสียงเพลงที่ทำให้ นักเรียนความรู้สึกผ่อนคลาย ๓.๒ ขั้นกิจกรรม ๑. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว ครู ที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า ด้วยน้ำเสียงที่นุ่มนวล เพื่อทำกิจกรรม Sketching หูจมูก๒จังหวะ สลับกัน ตามเสียงกระดิ่ง ซึ่งประกอบด้วย - นับ ๑ มือซ้ายจับจมูก มือขวาจับหูด้านซ้าย - นับ ๒ มือขวาจับจมูก มือซ้ายจับหูด้านขวา หมายเหตุการทำกิจกรรม Sketching หูจมูก๒จังหวะ สามารถเริ่มจากนับช้า ๆ ก่อนจะเพิ่มความเร็ว ๒. ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนได้สำรวจตนเองว่าจากการทำกิจกรรม หากให้คะแนนตนเองเต็ม ๑๐คะแนน นักเรียนสามารถให้คะแนนตนเองเท่าไรครูที่ปรึกษาขออาสาสมัครสะท้อนความคิดของตนเอง คะแนนที่ตนเองให้เท่าไร และเพราะเหตุใด ๓. ครูที่ปรึกษากล่าวคำขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรมให้สำเร็จลุล่วงไปได้ และให้ นักเรียนภายในห้องได้ขอบคุณซึ่งกันและกัน ๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ) นักเรียนสามารถจดจ่ออยู่กับการนั่งสมาธิในระยะสั้น ๆซึ่งช่วยให้เกิดความสงบและสติในการทำ กิจกรรม Sketching หูจมูก๒จังหวะ ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ.............................................................. (นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ) ผู้บันทึกกิจกรรม
  • 16. กิจกรรมที่๑๓ ๑. ชื่อกิจกรรมปรบมือตามวันเดือนปีเกิด ๒. จุดประสงค์ ๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น ๒.๒ เพื่อให้ครูที่ปรึกษาประจำชั้นได้พบนักเรียนของตนอย่างใกล้ชิด ใช้เวลาให้เกิดประโยชน์อย่าง เต็มที่ และมีเป้าหมายนอกเหนือจากการสอนตามปกติ ๓. แผนการจัดกิจกรรม ๓.๑ ขั้นเตรียม Breathingมีสติอยู่กับลมหายใจ ❑ Focusingมีสติกับการจดจ่อ Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย วิธีดำเนินการ ๑. ครูที่ปรึกษาพานักเรียนทำสมาธิในระยะเวลาสั้นๆ ๑-๒ นาที ประกอบเสียงเพลงที่ทำให้ นักเรียนความรู้สึกผ่อนคลาย เมื่อนักเรียนนิ่งพร้อมให้ดำเนินกิจกรรมต่อไปแล้วให้นักเรียน ๒. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว ครู ที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า ด้วยน้ำเสียงที่นุ่มนวล แล้วปรบมือเป็นจังหวะ ๑๒๑๒๓๑๒๑๒๑ ๓.๒ ขั้นกิจกรรม ๑. ครูที่ปรึกษา สาธิตการปรบมือตามวันเดือนปีเกิดโดยที่เลขคู่ให้ฝามือตบฝากมือ แต่เลขคี่ ใช้หลังมือตบหลังมือ เช่น ๐๙๐จะเป็น ฝามือตบฝากมือ หลังมือตบหลังมือ และฝามือตบฝากมือ ๒. นักเรียนฝึกปรบมือตามเบอร์ของครูที่กำหนดให้ เพื่อฟังอย่างตั้งใจ หลังจากนั้นครูขอ อาสาสมัคร/ตัวแทนออกมาเป็นผู้นำ บอกหมายเลขแทนครู ๓. ครูที่ปรึกษาได้เชื่อมโยงในเรื่องของการฟังอย่างตั้งใจ ให้นักเรียนหัดเป็นผู้รับฟัง และให้ ข้อคิดของการเสนอตนเองในการทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมในด้านความกล้าแสดงออก ๔. ครูที่ปรึกษากล่าวคำขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรมให้สำเร็จลุล่วงไปได้ และให้ นักเรียนภายในห้องได้ขอบคุณซึ่งกันและกัน ๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ) นักเรียนสนุกสนานในการปรบมือตามเบอร์โทรศัพท์และได้ใช้ทักษะการฟังตั้งใจในการทำ กิจกรรมให้สำเร็จลุล่วง ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ.............................................................. (นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ) ผู้บันทึกกิจกรรม ผู้บันทึกกิจกรรม
  • 17. กิจกรรมที่๑๔ ๑. ชื่อกิจกรรมนับเลขการฟังอย่างตั้งใจ ๒. จุดประสงค์ ๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น ๒.๒ เพื่อให้ครูที่ปรึกษาประจำชั้นได้พบนักเรียนของตนอย่างใกล้ชิด ใช้เวลาให้เกิดประโยชน์อย่าง เต็มที่ และมีเป้าหมายนอกเหนือจากการสอนตามปกติ ๓. แผนการจัดกิจกรรม ๓.๑ ขั้นเตรียม Breathingมีสติอยู่กับลมหายใจ ❑ Focusingมีสติกับการจดจ่อ Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย วิธีดำเนินการ ๑. ครูที่ปรึกษาพานักเรียนทำสมาธิในระยะเวลาสั้นๆ ๑-๒ นาที ประกอบเสียงเพลงที่ทำให้ นักเรียนความรู้สึกผ่อนคลาย เมื่อนักเรียนนิ่งพร้อมให้ดำเนินกิจกรรมต่อไปแล้วให้นักเรียน ๒. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว ครู ที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า ด้วยน้ำเสียงที่นุ่มนวล แล้วปรบมือเป็นจังหวะ ๑๒๑๒๓๑๒๑๒๑ ๓.๒ ขั้นกิจกรรม ๑. ครูที่ปรึกษานำนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมนับเลขการฟังอย่างตั้งใจ โดยขั้นแรกจะให้นักเรียน สังเกตคนข้างหน้าและคนข้างหลังตนเอง เมื่อเสร็จแล้วครูที่ปรึกษาให้นักเรียนหลับตา และเริ่มนับจำนวนคนใน ห้องจากด้านซ้ายไปขวาเริ่มจากช้า ๆ ก่อนจะเพิ่มความเร็ว ๒. เพิ่มความยากของการนับจากคนสุดท้ายมาคนแรก หรือการนับด้วยจำนวนคี่ จำนวนห่าง กัน ๓จำนวน นับไปพร้อมนับกลับ ใช้เวลาประมาณ ๕ นาที ถ้านักเรียนนับช้าหรือนับผิดครูจะให้นักเรียนเริ่ม นับใหม่เสมอ ๓. ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนสะท้อนความรู้สึกจากการทำกิจกรรมและครูที่ปรึกษากล่าวคำ ขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรม และให้นักเรียนภายในห้องได้ขอบคุณซึ่งกันและกัน ๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ) ขณะทำกิจกรรมนับเลขแรก ๆ นักเรียนมักเกิดความผิดพลาดได้มาก แต่เมื่อได้ทำซ้ำและมีสมาธิมาก ขึ้น การนับเลขก็เป็นกิจกรรมที่ถือว่าประสบความสำเร็จในการฝึกการฟัง ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ.............................................................. (นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ) ผู้บันทึกกิจกรรม กิจกรรมที่๑๕
  • 18. ๑. ชื่อกิจกรรมเพลงเป็ด ๒. จุดประสงค์ ๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น ๒.๒ เพื่อให้ครูที่ปรึกษาประจำชั้นได้พบนักเรียนของตนอย่างใกล้ชิด ใช้เวลาให้เกิดประโยชน์อย่าง เต็มที่ และมีเป้าหมายนอกเหนือจากการสอนตามปกติ ๓. แผนการจัดกิจกรรม ๓.๑ ขั้นเตรียม Breathingมีสติอยู่กับลมหายใจ ❑ Focusingมีสติกับการจดจ่อ Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย วิธีดำเนินการ ๑. ครูที่ปรึกษาพานักเรียนทำสมาธิในระยะเวลาสั้นๆ ๑-๒ นาที ประกอบเสียงเพลงที่ทำให้ นักเรียนความรู้สึกผ่อนคลาย เมื่อนักเรียนนิ่งพร้อมให้ดำเนินกิจกรรมต่อไปแล้วให้นักเรียน ๒. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว ครู ที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า ด้วยน้ำเสียงที่นุ่มนวล แล้วปรบมือเป็นจังหวะ ๑๒๑๒๓๑๒๑๒๑ ๓.๒ ขั้นกิจกรรม ๑. ครูที่ปรึกษานำเข้าสู่กิจกรรมโดยให้นักเรียนร่วมกันร้องเพลงเป็ด ๑ รอบ ๒. เมื่อร้องเพลงจบแล้วแล้ว ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนตบมือตามคำที่ร้องเพลงช้าง ซึ่งเป็นการ ปรบมือที่ไม่ตรงจังหวะ แต่จะตรงกับคำที่นักเรียนเปล่งเสียง ๓. เพิ่มความยากของร้องเพลงช้างโดยการร้องเพลงในใจแต่ปรบมือ และ การร้องเพลงในใจ ปรบมือในใจ แล้วปรบมือทันทีที่ร้องเพลงจบพร้อมออกเสียงคำว่า เฮ้ ๔. ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนสะท้อนความรู้สึกจากการทำกิจกรรมและ และให้นักเรียนภายใน ห้องได้ขอบคุณซึ่งกันและกัน ๓.๓ บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ) เพิ่มความยากของร้องเพลงช้างโดยการร้องเพลงในใจแต่ปรบมือ และการร้องเพลงในใจ ปรบมือ ในใจ นักเรียนไม่สามารถทำสำเร็จในครั้งแรก ครูที่ปรึกษาต้องมีการให้กำลังใจแก่นักเรียนและให้โอกาส นักเรียนได้เริ่มใหม่อีกครั้งเพื่อให้เกิดความสามัคคี ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ.............................................................. (นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ) ผู้บันทึกกิจกรรม
  • 19. กิจกรรมที่๑๖ ๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ซึ่ง จะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น ๒.๒ เพื่อฝึกการจินตนาการจากสิ่งที่ได้รับฟังเพื่อถ่ายทอดออกมาในรูปแบบภาพวาด ๒.๓ เพื่อให้ครูที่ปรึกษาประจำชั้นได้พบนักเรียนของตนอย่างใกล้ชิด ใช้เวลาให้เกิดประโยชน์อย่าง เต็มที่ และมีเป้าหมายนอกเหนือจากการสอนตามปกติ ๓. แผนการจัดกิจกรรม ๓.๑ ขั้นเตรียม Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ ❑ Focusing มีสติกับการจดจ่อ ❑ Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย วิธีดำเนินการ ๑. นักเรียนค่อยๆหลับตาสมาธิใช้เวลาสิบวินาที เมื่อครูเริ่มนับ ทุกๆคนก็จะเริ่มหลับตาและ อยู่กับตัวเอง ๒. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า เพื่อทำกิจกรรม Relaxation โดยการเปิดเพลงพร้อมแจกกระดาษให้กับ นักเรียนตามจังหวะเพลง ให้นักเรียนตั้งใจฟังเพลงและคิดตามไปอย่างช้าๆ ๓.๒ ขั้นกิจกรรม ๑. ครูที่ปรึกษานำนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมเรียกชื่อเพื่อน โดยให้นักเรียนคนแรกเรียกชื่อเพื่อน แต่เจ้าของชื่อห้ามขานตอบรับ คนที่อยู่ข้างซ้ายต้องขานตอบรับแทน และเรียกชื่อเพื่อนคนถัดไป เล่นวนกัน ภายในห้องเรียน นักเรียนต้องมีสติและสมาธิจดจ่อกับการขานชื่อ เพิ่มความสัมพันธ์ภายในห้องเรียน ๒. ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนสะท้อนความรู้สึกจากการทำกิจกรรมและครูที่ปรึกษากล่าวคำ ขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรม และให้นักเรียนภายในห้องได้ขอบคุณซึ่งกันและกัน ๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ) ขณะทำกิจกรรมเรียกชื่อเพื่อนสามารถทำให้นักเรียนต้องมีสติและสมาธิจดจ่อกับการฟังชื่อเพื่อนและ เป็นการเพิ่มความสัมพันธ์ภายในห้องเรียน ลดความขัดแย้ง ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ.............................................................. (นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ) ผู้บันทึกกิจกรรม
  • 20. กิจกรรมที่ ๑๗ ๑. ชื่อกิจกรรมback to back ๒. จุดประสงค์ ๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น ๒.๒ เพื่อการดึงจิตกลับมาอยู่ที่ความรู้สึกทางกายไม่ให้ฟุ้งซ่าน ๓. แผนการจัดกิจกรรม ๓.๑ ขั้นเตรียม Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ ❑ Focusing มีสติกับการจดจ่อ Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว ❑ Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย วิธีดำเนินการ ๑. นักเรียนยืนแยกเท้าทั้งสองข้างออกพอประมาณช่วงไหล่ เพื่อทำให้การทรงตัวดีขึ้น ปล่อยมือตามสบายแนบข้างลำตัว หย่อนหัวไหล่เล็กน้อยให้หัวไหล่ผ่อนคลายแล้วปิดเปลือกตาลงอย่างผ่อน คลาย หายใจเข้าออกยาวๆ ๒. เมื่อนักเรียนมีสมาธิ พร้อมทำกิจกรรมCalm Classroom/ห้องเรียนแห่งสติแล้ว ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนลืมตาอย่างช้า เพื่อทำกิจกรรม Sketching มีสติกับการยืด เหยียด โดยให้นักเรียนนั่ง ชันเข่า มือสองข้างประสานกันที่ท้ายทอย เอียงข้อศอกซ้ายแตะที่หัวเข่าขวา ยกข้อศอกซ้ายกลับไปที่เดิม เปลี่ยนเป็นเอียงข้อศอกขวา ๓.๒ ขั้นกิจกรรม ๑. ครูที่ปรึกษานำนักเรียนจับคู่ แล้วนั่งให้หลังพิงกันและกัน ครูจับเวลา ๑ นาที ให้นักเรียน นับจังหวะลมหายใจเข้าออกของเพื่อนที่จับคู่ด้วย เมื่อครบ๑นาทีแล้ว ขอตัวแทนนำเสนอ ๒-๓คน ครูทำซ้ำอีก ๒ ครั้ง โดยในแต่ละครั้งครูจะเพิ่มเวลามากขึ้น ๒. เมื่อนักเรียนสังเกตการณ์หายใจเพื่อนครบ ๓ครั้งแล้ว ครูที่ปรึกษาถามว่า ลมหายใจของ เพื่อนและของตนเองนั้น เป็นอย่างไร ให้นักเรียนสะท้อนความรู้สึกจากการทำกิจกรรม๔-๕ คน ๓. ครูที่ปรึกษากล่าวคำขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรม และให้นักเรียนภายในห้อง ได้ขอบคุณซึ่งกันและกัน ๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ) การที่นักเรียนมีสมาธิอยู่กับการหายใจทำให้สามารถลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ได้ นักเรียนให้ความ ร่วมมือในกิจกรรมได้ดีขึ้น ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ.............................................................. (นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ) ผู้บันทึกกิจกรรม
  • 21. กิจกรรมที่ ๑๘ ๑. ชื่อกิจกรรมคู่คี่ ๒. จุดประสงค์ ๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น ๒.๒ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและสามารถถ่ายทอดเรื่องราวให้ผู้อื่นได้ร่วมชื่นชม ๓.๑ ขั้นเตรียม Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ Focusing มีสติกับการจดจ่อ ❑ Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว ❑ Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย วิธีดำเนินการ วิธีดำเนินการ ๑. ให้นักเรียนหงายมือแล้ววางไว้บนโต๊ะ หลับตาอย่างช้า ๆ ให้นักเรียนทำสมาธิในระยะเวลา สั้นๆ ๒-๕ นาที ระหว่างขณะที่นักเรียนทำสมาธิครูจะเปิดเสียงเพลงประกอบโดยมีวัตถุประสงค์ให้นักเรียน ความรู้สึกผ่อนคลาย ๒. ครูที่ปรึกษานำเข้าสู่กิจกรรมโดยให้นักเรียนทำกิจกรรมปรบมือสเตปมือ ได้แก่ - ตัก มือ ตัก ตัก มือ ตัก ตัก มือ ขวา ซ้าย ขวา ซ้าย มือ - ตัก ตัก มือ มือ หมุน หมุน มือ ตัก ตัก มือ มือ อก อก มือ - ยกมือซ้าย ยกมือขวา ประกบกันตรงหน้า กล่าวคำว่า “สวัสดีครับ/ค่ะ” ๓.๒ ขั้นกิจกรรม ๑. ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนปรบมือตามตัวเลขที่กำหนด เมื่อนักเรียนสามารถปรบมือได้พร้อม เพรียงแล้วให้นักเรียนชูนิ้วชี้ข้างซ้ายเมื่อได้จำเลขจำนวนเลขคู่ ชูนิ้วชี้ข้างขวาเมื่อได้จำเลขจำนวนเลขคี่ครั้งแรก อาจจะให้นักเรียนลืมตา แต่ครั้งที่ ๒ควรให้นักเรียนหลับตา เพื่อป้องกันการทำตามเพื่อนการเป็นการฝึกการฟัง ครูที่ปรึกษาจะเพิ่มความเร็วในการบอกตัวเลข ๒. ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนปรบมือตามตัวเลขที่กำหนด และสำรวจตนเองว่าจากการทำ กิจกรรม หากให้คะแนนตนเองเต็ม ๑๐คะแนน นักเรียนสามารถให้คะแนนตนเองเท่าไร เพราะเหตุใด ๓. ครูที่ปรึกษากล่าวคำขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจในการทำกิจกรรมให้สำเร็จลุล่วงไปได้ และให้ นักเรียนภายในห้องได้ขอบคุณซึ่งกันและกัน ๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ) นักเรียนสามารถคิดเลขได้เร็วขึ้นเมื่อมีการทบทวนและมีสมาธิมาขึ้นหากไปมีเสียงรบกวนจาก เพื่อนๆ ทำให้นักเรียนสามารถฟังและปฏิบัติการยกนิ้วชี้ได้ถูกต้อง ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ.............................................................. (นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ) ผู้บันทึกกิจกรรม
  • 22. กิจกรรมที่ ๑๙ ๑. ชื่อกิจกรรมอวัยวะ ๒. จุดประสงค์ ๒.๑ เพื่อสร้างห้องเรียนแห่งสติ ฝึกปฏิบัติที่ใช้ความตั้งมั่น จดจ่อ อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสงบหรือมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น ๒.๒ เพื่อฝึกการจินตนาการจากสิ่งที่ได้รับฟังเพื่อถ่ายทอดออกมาในรูปแบบภาพวาด ๒.๓ เพื่อฝึกการฟังอย่างตั้งใจ และไหวพริบ ๓. แผนการจัดกิจกรรม ๓.๑ ขั้นเตรียม Breathing มีสติอยู่กับลมหายใจ ❑ Focusing มีสติกับการจดจ่อ ❑ Sketching มีสติกับการยืด เหยียด หรือการเคลื่อนไหว Relaxation มีสติกับการผ่อนคลาย วิธีดำเนินการ วิธีดำเนินการ ๑. ให้นักเรียนหงายมือแล้ววางไว้บนโต๊ะ หลับตาอย่างช้า ๆ ให้นักเรียนทำสมาธิในระยะเวลา สั้นๆ ๒-๕ นาที ระหว่างขณะที่นักเรียนทำสมาธิครูจะเปิดเสียงเพลงประกอบโดยมีวัตถุประสงค์ให้นักเรียน ความรู้สึกผ่อนคลาย ๒. ครูที่ปรึกษานำเข้าสู่กิจกรรมโดยกำหนดอวัยวะกับตัวเลข เช่น เลข ๑ จับหู เลข ๒ จับจมูก เลข ๓ จับปาก เลข ๔ จับไหล่ เลข ๕ จับท้องครูกำหนดตัวเลขแล้วให้นักเรียนทำท่าโดยเริ่มจากง่าย ไปยาก ๓.๒ ขั้นกิจกรรม ๑. ครูที่ปรึกษาเพิ่มความยากของการทำท่าโดยบอกเป็นชุดตัวเลข ตั้งแต่ ๓ หลักขึ้นไป และ ในการทำท่านั้น นักเรียนจะต้องทำให้พร้อมเพรียงกัน ๒.นักเรียนสะท้อนความรู้สึกการทำกิจกรรมครั้งแรกกับครั้งสุดท้ายลงในสมุด Calm Classroomว่า การทำท่าตามตัวเลขนั้นมีสำเร็จที่ได้เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ๓. สะท้อนความรู้สึกจากการทำกิจกรรมและครูที่ปรึกษากล่าวคำขอบคุณที่นักเรียนตั้งใจใน การทำกิจกรรม และให้นักเรียนภายในห้องได้ขอบคุณซึ่งกันและกัน ๓.๓บันทึกหลังกิจกรรม (ผลสำเร็จ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ) กิจกรรมนี้ทำให้นักเรียนได้ฝึกการจำและฝึกสมาธิ ลงชื่อ.............................................................. ลงชื่อ.............................................................. (นายยุทธศักดิ์ สังเกต ) (นางรุ่งภาณี ปิติยะ) ผู้บันทึกกิจกรรม