SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
1 
Integer Type (ชนิดข้อมูลแบบจานวนเต็ม) 
2 
Character Type (ชนิดข้อมูลแบบตัวอักษร) 
34 
การประกาศตัวแปรควรเลือกใช้ชนิดข้อมูลที่เหมาะสม และตั้ง ชื่อตัวแปรตามกฎในการตั้งชื่อเสมอ ซึ่งชนิดข้อมูลต่าง ๆ ในภาษา C มี ดังนี้ 
String Type (ชนิดข้อมูลแบบข้อความ) 
Floating Type (ชนิดข้อมูลแบบจานวนทศนิยม)
1 
Integer Type (ชนิดข้อมูลแบบจานวนเต็ม) Integer เป็นชนิดข้อมูลแบบจานวนเต็ม ประกอบไปด้วย จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ และจานวนเต็มศูนย์ ซึ่งใน ภาษา C ได้แบ่งจานวนเต็มออกเป็นชนิดต่าง ๆ ซึ่งแต่ละชนิดมี ขนาดและขอบเขตของการใช้งานที่แตกต่างกัน การเลือกใช้ จานวนเต็มชนิดใดในการประกาศตัวแปรนั้นก็ขึ้นอยู่กับขนาดใน การจัดเก็บข้อมูลของตัวแปรนั้น ๆ
1 
Integer Type (ชนิดข้อมูลแบบจานวนเต็ม) 
ในข้อมูลชนิดเดียวกันของภาษา C อาจจะมีความแตกต่างใน เรื่องของขนาดและขอบเขตชนิดข้อมูลได้ ซึ่งจะขึ้นอยู่กับระบบปฏิบัติการ ที่ใช้งาน เช่น 
•ในระบบปฏิบัติการ 16 บิต ข้อมูลชนิด intจะเป็น 16 บิต หรือ 2 ไบต์ 
•ในระบบปฏิบัติการ 32 บิต ข้อมูลชนิด intจะเป็น 32 บิต หรือ 4ไบต์
การกาหนดค่าให้กับตัวแปรชนิดจานวนเต็ม 
•จะต้องเป็นค่าตัวเลขไม่มีจุดทศนิยม 
•ห้ามใช้เครื่องหมาย , หรือช่องว่างคั่นระหว่างตัวเลข เช่น 1,234 ซึ่งถือว่าผิด 
•กรณีเป็นค่าบวกไม่จาเป็นต้องใส่เครื่องหมาย + นาหน้าค่า แต่ กรณีเป็นค่าลบต้องใส่เครื่องหมาย –นาหน้าค่า 
•ช่วงตัวเลขจานวนเต็มควรอยู่ในช่วงชนิดข้อมูลนั้น ๆ 
•สามารถใช้เครื่องหมาย suffix ต่อท้ายค่าที่กาหนดให้ตัวแปรได้ โดยใช้ L ต่อท้ายชนิดข้อมูล long หรือใช้ U ต่อท้ายค่าเป็น unsigned (ใช้ตัวพิมพ์ใหญ่หรือเล็กความหมายเหมือนกัน)
2 
Character Type (ชนิดข้อมูลแบบตัวอักษร) 
Char เป็นชนิดข้อมูลแบบอักษรตัวเดียว มีขนาด 1 ไบต์ หรือ 8 บิต โดยจะกาหนดค่าอยู่ในเครื่องหมาย ‘ ’ ซึ่งเป็นได้ทั้ง ตัวอักษร (Letter), ตัวเลข (Digit) และสัญลักษณ์พิเศษ (Special Symbols) ลักษณะสาคัญของข้อมูลชนิดนี้คือ ไม่ สามารถนาไปคานวณได้ ตัวอย่างเช่น ตัวอักษร ‘2’ แตกต่าง จากตัวเลข 2 ดังนั้น ‘2’ + 3 จึงไม่สามารถประมวลผลได้ในการ เขียนโปรแกรมภาษา C
3 
String Type (ชนิดข้อมูลแบบตัวข้อความ) 
ในความจริงนั้น ตัวแปรชนิดข้อความไม่มีการกาหนดไว้ใน ภาษา C แต่เราสามารถใช้ตัวแปรชนิดข้อความในรูปแบบของ ชุดตัวแปรอักขระได้โดยใช้เทคนิคในเรื่องของ Array เข้ามาช่วย 
การกาหนดค่าข้อความให้กับตัวแปรจะอยู่ภายใน เครื่องหมาย (‚ ‛) โดยในการสร้างต้องประกาศขนาด Array ไว้ล่วงหน้า เพื่อเป็นการจองพื้นที่สาหรับขนาดของข้อมูล เหนื่อย 
นัก 
ก็ 
พักก่อน
Floating Point Type เป็นชนิดข้อมูลแบบตัวเลขทศนิยม ที่สามารถนาไปคานวณทางคณิตศาสตร์ได้ ซึ่งอาจจะมีจุด ทศนิยมหรือไม่มีจุดทศนิยมก็ได้ โดยสามารถเขียนในรูป ทศนิยมได้ ดังนี้ 
•เลขทศนิยม เช่น 12.568, -13.5 
•เลขทศนิยมแบบยกกาลัง เช่น 2.004E+5, 4.10956E-25ซึ่ง 2.004E+5 ก็คือ 2.004 x 105ส่วน 4.10956E ก็คือ 4.10956 x 10-254 
Floating Point Type (ชนิดข้อมูลแบบตัวจานวนทศนิยม)
ชนิดข้อมูล 
ขนาดไบต์ 
ช่วงข้อมูล 
float 
4 
3.4 x 10-38ถึง 3.4 x 1038 
double 
8 
1.7 x 10-308ถึง 1.7 x 10308 
long double 
10 
3.4 x 10-4932ถึง 1.1 x 104932ตารางแสดงขนาดและขอบเขตข้อมูล
จุดสังเกตพบว่า ชนิดข้อมูลแบบทศนิยมจะเป็นแบบ signed (คิด เครื่องหมาย) เสมอ ซึ่งเราสามารถกาหนดค่าให้ตัวแปร โดยคานึงถึง ข้อกาหนดดังนี้จะต้องเป็นค่าตัวเลขที่สามารถมีจุดทศนิยมได้ 
•ห้ามใช้เครื่องหมาย , หรือช่องว่างคั่นระหว่างตัวเลข เช่น 1,234.03 
•กรณีเป็นค่าบวกไม่จาเป็นต้องใส่เครื่องหมาย + นาหน้าค่า แต่ใน กรณีเป็นค่าลบต้องใส่เครื่องหมาย –นาหน้าค่าเสมอ 
•การเขียนในรูปแบบใช้ตัวอักษร E ค่าที่ถูกกาหนดสามารถกาหนด ได้ทั้งค่าบวกและค่าลบ 
•สามารถใช้เครื่องหมาย suffix ต่อท้ายค่าที่กาหนดให้ตัวแปรได้ โดยใช้ L ต่อท้ายชนิดข้อมูล long double หรือใช้ F ต่อท้ายค่าที่เป็น double (ใช้ตัวพิมพ์ใหญ่หรือเล็กความหมายเหมือนกัน)
ชนิดข้อมูล 
ขนาดไบต์ 
ช่วงข้อมูล 
Char 
8 บิต 
ASCII character (-128 ถึง 127) 
Unsigned char 
8 บิต 
0-255 
Signed char 
8 บิต 
-128 ถึง 127 
Int 
16 บิต 
-32768 ถึง 32767 
Unsigned int 
16 บิต 
0 ถึง 65535 
Unsigned long int 
32 บิต 
0 ถึง 4294967296ตารางแสดงขนาดและขอบเขตข้อมูล
ค่าคงที่ (Constants) 
1. ระบุค่าโดยตรง (Literal Constants)เป็นการกาหนด ค่าคงที่เพื่อใช้งานโดยตรง โดยไม่มีการกาหนดค่าผ่านตัวแปร ใด ๆ ทั้งสิ้น ตัวอย่างเช่น ‘I’, ‚Love Thailand‛, ‘007’ เป็นต้น 
2. นิยามโดย # (Defined Constants) เป็นการกาหนดค่าคงที่ โดยการประกาศใช้งานไว้ในส่วนของเฮดเดอร์ไฟล์ 3. เก็บไว้ในตัวแปร (Memory Constants) เป็นการกาหนด ค่าคงที่ในรูปแบบของตัวแปร 
ค่าคงที่ (Constants) คือ ค่าข้อมูลชนิดใดชนิดหนึ่งที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใน ขณะที่โปรแกรมทางาน ตัวอย่างเช่น ค่า  ซึ่งมีค่าเท่ากับ 3.14 เป็นต้น ซึ่งใน ภาษา C สามารถใช้งานค่าคงที่ได้ 3 รูปแบบดังนี้
กฎของการแปลงชนิดของข้อมูล (Data Type Conversion) Implicit Type Conversion 
ในการเขียนโปรแกรมเพื่อกาหนดการทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง บาครั้ง อาจมีชนิดข้อมูลต่าง ๆ ในการประมวลผลมากกว่า 1 ชนิด ดังนั้น ก่อน ประมวลผลข้อมูลก็ควรแปลงข้อมูลต่าง ๆ ให้มีชนิดข้อมูลเดียวกันก่อน หลักในการแปลงชนิดของข้อมูล ซึ่งสามารถแปลงได้ 2 วิธีดังนี้ 
Explicit Type Conversion
charImplicit Type ConversionImplicit Type Conversionหลักการแปลงชนิดข้อมูลในวิธีนี้คือ คอมไพเลอร์จะทาหน้าที่แปลง ชนิดข้อมูลของข้อมูลที่มีค่านัยสาคัญต่าไปเป็นชนิดข้อมูลชนิดเดียวกันกับข้อมูล ที่มีค่านัยสาคัญสูงกว่าในชุดคาสั่งนั้น ๆ โดยอัตโนมัติ สาหรับลาดับนัยสาคัญ ของชนิดข้อมูล สามารถอธิบายได้ ดังรูป 
ลาดับนัยสาคัญ 
(Signifiance) shortintunsigned int 
long int 
unsigned long int 
floatdouble 
Long double
Explicit Type Conversion (Casting) เป็นการเปลี่ยนประเภทชนิดข้อมูลเป็นชนิดข้อมูลตามที่เราต้องการ โดยใช้ Explicit Type Conversion (Casting) ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ โดยที่ DataType คือ ชนิดข้อมูลปลายทาง ExpressionOrVariableNameคือ นิพจน์หรือตัวแปรที่ต้องการ แปลงข้อมูล 
(DataType) ExpressionOrVariableName
ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา สานักพิมพ์ IDC PREMIER

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีการประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีmycomc55
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.Mink Kamolwan
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)Visaitus Palasak
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกกลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกNaphamas
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกSupicha Ploy
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1Little Tukta Lita
 
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมpongpakorn Suklertpong
 

What's hot (18)

ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีการประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 
ภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้นภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้น
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกกลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
งานคอม 1
งานคอม 1งานคอม 1
งานคอม 1
 
C slide
C slideC slide
C slide
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Intro c
Intro cIntro c
Intro c
 
งาน
งานงาน
งาน
 
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
 

Viewers also liked

Viewers also liked (9)

Java Programming [9/12]: Exception Handling
Java Programming [9/12]: Exception HandlingJava Programming [9/12]: Exception Handling
Java Programming [9/12]: Exception Handling
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
 
การรับรู้ข้อมูล
การรับรู้ข้อมูลการรับรู้ข้อมูล
การรับรู้ข้อมูล
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน
 
นิพจน์
นิพจน์นิพจน์
นิพจน์
 
การแสดงผลและการรับข้อมูล
การแสดงผลและการรับข้อมูลการแสดงผลและการรับข้อมูล
การแสดงผลและการรับข้อมูล
 

Similar to 3.3. ชนิดของข้อมูล

ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่ปณพล ดาดวง
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา JavaItslvle Parin
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา JavaItslvle Parin
 
Java Programming [2/12] : Overview of Java Programming Language
Java Programming [2/12] : Overview of Java Programming LanguageJava Programming [2/12] : Overview of Java Programming Language
Java Programming [2/12] : Overview of Java Programming LanguageIMC Institute
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Thank Chiro
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่  5ใบความรู้ที่  5
ใบความรู้ที่ 5SubLt Masu
 

Similar to 3.3. ชนิดของข้อมูล (20)

3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
งานทำ Blog บทที่ 2
งานทำ Blog บทที่ 2งานทำ Blog บทที่ 2
งานทำ Blog บทที่ 2
 
3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล
 
ชนิดของข้อมูล
ชนิดของข้อมูลชนิดของข้อมูล
ชนิดของข้อมูล
 
3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล
 
3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล
 
ชนิดของข้อมูล
ชนิดของข้อมูลชนิดของข้อมูล
ชนิดของข้อมูล
 
ชนิดของข้อมูล
ชนิดของข้อมูลชนิดของข้อมูล
ชนิดของข้อมูล
 
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
โครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา Cโครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา C
 
Work
WorkWork
Work
 
Java Programming [2/12] : Overview of Java Programming Language
Java Programming [2/12] : Overview of Java Programming LanguageJava Programming [2/12] : Overview of Java Programming Language
Java Programming [2/12] : Overview of Java Programming Language
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่  5ใบความรู้ที่  5
ใบความรู้ที่ 5
 
lesson 3
lesson 3lesson 3
lesson 3
 
content 3
content 3content 3
content 3
 
12
1212
12
 
Chapter 02 Flowchart
Chapter 02 FlowchartChapter 02 Flowchart
Chapter 02 Flowchart
 

More from รัสนา สิงหปรีชา

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบรัสนา สิงหปรีชา
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกรัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์รัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์รัสนา สิงหปรีชา
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้รัสนา สิงหปรีชา
 

More from รัสนา สิงหปรีชา (20)

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 
คู่มือนักเรียน
คู่มือนักเรียนคู่มือนักเรียน
คู่มือนักเรียน
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
วิธีการสมัคร Adobe id
วิธีการสมัคร Adobe idวิธีการสมัคร Adobe id
วิธีการสมัคร Adobe id
 
กฎของการแปลงชนิดของข้อมูล
กฎของการแปลงชนิดของข้อมูลกฎของการแปลงชนิดของข้อมูล
กฎของการแปลงชนิดของข้อมูล
 

3.3. ชนิดของข้อมูล

  • 1.
  • 2. 1 Integer Type (ชนิดข้อมูลแบบจานวนเต็ม) 2 Character Type (ชนิดข้อมูลแบบตัวอักษร) 34 การประกาศตัวแปรควรเลือกใช้ชนิดข้อมูลที่เหมาะสม และตั้ง ชื่อตัวแปรตามกฎในการตั้งชื่อเสมอ ซึ่งชนิดข้อมูลต่าง ๆ ในภาษา C มี ดังนี้ String Type (ชนิดข้อมูลแบบข้อความ) Floating Type (ชนิดข้อมูลแบบจานวนทศนิยม)
  • 3. 1 Integer Type (ชนิดข้อมูลแบบจานวนเต็ม) Integer เป็นชนิดข้อมูลแบบจานวนเต็ม ประกอบไปด้วย จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ และจานวนเต็มศูนย์ ซึ่งใน ภาษา C ได้แบ่งจานวนเต็มออกเป็นชนิดต่าง ๆ ซึ่งแต่ละชนิดมี ขนาดและขอบเขตของการใช้งานที่แตกต่างกัน การเลือกใช้ จานวนเต็มชนิดใดในการประกาศตัวแปรนั้นก็ขึ้นอยู่กับขนาดใน การจัดเก็บข้อมูลของตัวแปรนั้น ๆ
  • 4. 1 Integer Type (ชนิดข้อมูลแบบจานวนเต็ม) ในข้อมูลชนิดเดียวกันของภาษา C อาจจะมีความแตกต่างใน เรื่องของขนาดและขอบเขตชนิดข้อมูลได้ ซึ่งจะขึ้นอยู่กับระบบปฏิบัติการ ที่ใช้งาน เช่น •ในระบบปฏิบัติการ 16 บิต ข้อมูลชนิด intจะเป็น 16 บิต หรือ 2 ไบต์ •ในระบบปฏิบัติการ 32 บิต ข้อมูลชนิด intจะเป็น 32 บิต หรือ 4ไบต์
  • 5. การกาหนดค่าให้กับตัวแปรชนิดจานวนเต็ม •จะต้องเป็นค่าตัวเลขไม่มีจุดทศนิยม •ห้ามใช้เครื่องหมาย , หรือช่องว่างคั่นระหว่างตัวเลข เช่น 1,234 ซึ่งถือว่าผิด •กรณีเป็นค่าบวกไม่จาเป็นต้องใส่เครื่องหมาย + นาหน้าค่า แต่ กรณีเป็นค่าลบต้องใส่เครื่องหมาย –นาหน้าค่า •ช่วงตัวเลขจานวนเต็มควรอยู่ในช่วงชนิดข้อมูลนั้น ๆ •สามารถใช้เครื่องหมาย suffix ต่อท้ายค่าที่กาหนดให้ตัวแปรได้ โดยใช้ L ต่อท้ายชนิดข้อมูล long หรือใช้ U ต่อท้ายค่าเป็น unsigned (ใช้ตัวพิมพ์ใหญ่หรือเล็กความหมายเหมือนกัน)
  • 6. 2 Character Type (ชนิดข้อมูลแบบตัวอักษร) Char เป็นชนิดข้อมูลแบบอักษรตัวเดียว มีขนาด 1 ไบต์ หรือ 8 บิต โดยจะกาหนดค่าอยู่ในเครื่องหมาย ‘ ’ ซึ่งเป็นได้ทั้ง ตัวอักษร (Letter), ตัวเลข (Digit) และสัญลักษณ์พิเศษ (Special Symbols) ลักษณะสาคัญของข้อมูลชนิดนี้คือ ไม่ สามารถนาไปคานวณได้ ตัวอย่างเช่น ตัวอักษร ‘2’ แตกต่าง จากตัวเลข 2 ดังนั้น ‘2’ + 3 จึงไม่สามารถประมวลผลได้ในการ เขียนโปรแกรมภาษา C
  • 7. 3 String Type (ชนิดข้อมูลแบบตัวข้อความ) ในความจริงนั้น ตัวแปรชนิดข้อความไม่มีการกาหนดไว้ใน ภาษา C แต่เราสามารถใช้ตัวแปรชนิดข้อความในรูปแบบของ ชุดตัวแปรอักขระได้โดยใช้เทคนิคในเรื่องของ Array เข้ามาช่วย การกาหนดค่าข้อความให้กับตัวแปรจะอยู่ภายใน เครื่องหมาย (‚ ‛) โดยในการสร้างต้องประกาศขนาด Array ไว้ล่วงหน้า เพื่อเป็นการจองพื้นที่สาหรับขนาดของข้อมูล เหนื่อย นัก ก็ พักก่อน
  • 8. Floating Point Type เป็นชนิดข้อมูลแบบตัวเลขทศนิยม ที่สามารถนาไปคานวณทางคณิตศาสตร์ได้ ซึ่งอาจจะมีจุด ทศนิยมหรือไม่มีจุดทศนิยมก็ได้ โดยสามารถเขียนในรูป ทศนิยมได้ ดังนี้ •เลขทศนิยม เช่น 12.568, -13.5 •เลขทศนิยมแบบยกกาลัง เช่น 2.004E+5, 4.10956E-25ซึ่ง 2.004E+5 ก็คือ 2.004 x 105ส่วน 4.10956E ก็คือ 4.10956 x 10-254 Floating Point Type (ชนิดข้อมูลแบบตัวจานวนทศนิยม)
  • 9. ชนิดข้อมูล ขนาดไบต์ ช่วงข้อมูล float 4 3.4 x 10-38ถึง 3.4 x 1038 double 8 1.7 x 10-308ถึง 1.7 x 10308 long double 10 3.4 x 10-4932ถึง 1.1 x 104932ตารางแสดงขนาดและขอบเขตข้อมูล
  • 10. จุดสังเกตพบว่า ชนิดข้อมูลแบบทศนิยมจะเป็นแบบ signed (คิด เครื่องหมาย) เสมอ ซึ่งเราสามารถกาหนดค่าให้ตัวแปร โดยคานึงถึง ข้อกาหนดดังนี้จะต้องเป็นค่าตัวเลขที่สามารถมีจุดทศนิยมได้ •ห้ามใช้เครื่องหมาย , หรือช่องว่างคั่นระหว่างตัวเลข เช่น 1,234.03 •กรณีเป็นค่าบวกไม่จาเป็นต้องใส่เครื่องหมาย + นาหน้าค่า แต่ใน กรณีเป็นค่าลบต้องใส่เครื่องหมาย –นาหน้าค่าเสมอ •การเขียนในรูปแบบใช้ตัวอักษร E ค่าที่ถูกกาหนดสามารถกาหนด ได้ทั้งค่าบวกและค่าลบ •สามารถใช้เครื่องหมาย suffix ต่อท้ายค่าที่กาหนดให้ตัวแปรได้ โดยใช้ L ต่อท้ายชนิดข้อมูล long double หรือใช้ F ต่อท้ายค่าที่เป็น double (ใช้ตัวพิมพ์ใหญ่หรือเล็กความหมายเหมือนกัน)
  • 11. ชนิดข้อมูล ขนาดไบต์ ช่วงข้อมูล Char 8 บิต ASCII character (-128 ถึง 127) Unsigned char 8 บิต 0-255 Signed char 8 บิต -128 ถึง 127 Int 16 บิต -32768 ถึง 32767 Unsigned int 16 บิต 0 ถึง 65535 Unsigned long int 32 บิต 0 ถึง 4294967296ตารางแสดงขนาดและขอบเขตข้อมูล
  • 12. ค่าคงที่ (Constants) 1. ระบุค่าโดยตรง (Literal Constants)เป็นการกาหนด ค่าคงที่เพื่อใช้งานโดยตรง โดยไม่มีการกาหนดค่าผ่านตัวแปร ใด ๆ ทั้งสิ้น ตัวอย่างเช่น ‘I’, ‚Love Thailand‛, ‘007’ เป็นต้น 2. นิยามโดย # (Defined Constants) เป็นการกาหนดค่าคงที่ โดยการประกาศใช้งานไว้ในส่วนของเฮดเดอร์ไฟล์ 3. เก็บไว้ในตัวแปร (Memory Constants) เป็นการกาหนด ค่าคงที่ในรูปแบบของตัวแปร ค่าคงที่ (Constants) คือ ค่าข้อมูลชนิดใดชนิดหนึ่งที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใน ขณะที่โปรแกรมทางาน ตัวอย่างเช่น ค่า  ซึ่งมีค่าเท่ากับ 3.14 เป็นต้น ซึ่งใน ภาษา C สามารถใช้งานค่าคงที่ได้ 3 รูปแบบดังนี้
  • 13. กฎของการแปลงชนิดของข้อมูล (Data Type Conversion) Implicit Type Conversion ในการเขียนโปรแกรมเพื่อกาหนดการทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง บาครั้ง อาจมีชนิดข้อมูลต่าง ๆ ในการประมวลผลมากกว่า 1 ชนิด ดังนั้น ก่อน ประมวลผลข้อมูลก็ควรแปลงข้อมูลต่าง ๆ ให้มีชนิดข้อมูลเดียวกันก่อน หลักในการแปลงชนิดของข้อมูล ซึ่งสามารถแปลงได้ 2 วิธีดังนี้ Explicit Type Conversion
  • 14. charImplicit Type ConversionImplicit Type Conversionหลักการแปลงชนิดข้อมูลในวิธีนี้คือ คอมไพเลอร์จะทาหน้าที่แปลง ชนิดข้อมูลของข้อมูลที่มีค่านัยสาคัญต่าไปเป็นชนิดข้อมูลชนิดเดียวกันกับข้อมูล ที่มีค่านัยสาคัญสูงกว่าในชุดคาสั่งนั้น ๆ โดยอัตโนมัติ สาหรับลาดับนัยสาคัญ ของชนิดข้อมูล สามารถอธิบายได้ ดังรูป ลาดับนัยสาคัญ (Signifiance) shortintunsigned int long int unsigned long int floatdouble Long double
  • 15. Explicit Type Conversion (Casting) เป็นการเปลี่ยนประเภทชนิดข้อมูลเป็นชนิดข้อมูลตามที่เราต้องการ โดยใช้ Explicit Type Conversion (Casting) ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ โดยที่ DataType คือ ชนิดข้อมูลปลายทาง ExpressionOrVariableNameคือ นิพจน์หรือตัวแปรที่ต้องการ แปลงข้อมูล (DataType) ExpressionOrVariableName
  • 16. ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา สานักพิมพ์ IDC PREMIER