SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1 
เรื่อง ตัวแปร ชนิดของข้อมูล และตัวดาเนินการในภาษาซี 
o ตัวแปร (Variable) 
คือ ชื่อที่ใช้อ้างถึงตาแหน่งต่างๆ ในหน่วยความจา ซึ่งใช้เก็บข้อมูลต่างๆ ด้วยขนาดตามชนิดข้อมูล เช่น char, int, long, float, double, unsigned int, unsigned long int 
o การประกาศตัวแปร (variable declaration) 
คือ การจองเนื้อที่ในหน่วยความจาสาหรับเก็บค่าบางอย่างพร้อมทั้งกาหนดชื่อเรียกแทนหน่วยความจาในตาแหน่งนั้นเพื่อให้ ผู้เขียนโปรแกรมมีความสะดวกในการเข้าถึงค่าที่เก็บอยู่ในหน่วยความจาดังกล่าว 
o ชนิดของข้อมูล 
ภาษาซีเป็นอีกภาษาหนึ่งที่มีชนิดของข้อมูลให้ใช้งานหลายอย่างด้วยกัน ซึ่งชนิดของข้อมูลแต่ละอย่างมีขนาดเนื้อที่ที่ใช้ใน หน่วยความจาที่แตกต่างกัน และเนื่องจากการที่มีขนาดที่แตกต่างกันไป ดังนั้นในการเลือกใช้งานประเภทข้อมูลก็ควรจะ คานึงถึงความจาเป็นในการใช้งานด้วย สาหรับประเภทของข้อมูลมีดังนี้คือ 
1. ข้อมูลชนิดตัวอักษร (Character) คือข้อมูลที่เป็นรหัสแทนตัวอักษรหรือค่าจานวนเต็มได้แก่ ตัวอักษร ตัวเลข และกลุ่มตัวอักขระพิเศษใช้พื้นที่ในการเก็บข้อมูล 1 ไบต์ 
2. ข้อมูลชนิดจานวนเต็ม (Integer) คือข้อมูลที่เป็นเลขจานวนเต็ม ได้แก่ จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ ศูนย์ ใช้พื้นที่ในการเก็บ 2 ไบต์ 
3. ข้อมูลชนิดจานวนเต็มที่มีขนาด 2 เท่า (Long Integer) คือข้อมูลที่มีเลขเป็นจานวนเต็ม ใช้พื้นที่ 4 ไบต์ 
4. ข้อมูลชนิดเลขทศนิยม (Float) คือข้อมูลที่เป็นเลขทศนิยม ขนาด 4 ไบต์ 
5. ข้อมูลชนิดเลขทศนิยมอย่างละเอียด (Double) คือข้อมูลที่เป็นเลขทศนิยม ใช้พื้นที่ในการเก็บ 8 ไบต์ 
รายวิชา ง 31101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 
ผู้สอน นางสาวมณฑกานต์ ภักดีศรี
2 
ตารางแสดงชนิดของข้อมูลในภาษาซี รูปแบบของข้อมูล ชนิดของข้อมูล ขนาด (บิต) ขอบเขตของข้อความ อักขระ Char 8 อักขระตามรหัส ASCII หรือจานวนเต็ม -128 ถึง 127 Unsigned char 8 จานวนเต็ม 0 ถึง 255 จานวนเต็ม short 16 -32,768 ถึง 32,767 
unsigned short 
16 
0 ถึง 65,535 Int 16 -32,768 ถึง 32,767 
unsigned int 
16/32 
0 ถึง 65,535 หรือ 0 ถึง 4,294,967,295 long 32 -32,768 ถึง 32,767 
unsigned long 
32 
0 ถึง 65,535 ทศนิยม float 32 3.4 x 10-38 ถึง 3.4 x 1038 (ทศนิยม 6 ตาแหน่ง) double 64 1.7 x 10-308 ถึง 1.7 x 10308 (ทศนิยม 12 ตาแหน่ง) long double 128 3.4 x 10-4932 ถึง 3.4 x 104932 (ทศนิยม 24 ตาแหน่ง) 
รูปแบบในการประกาศตัวแปรในภาษา C 
การสร้างตัวแปรขึ้นมาใช้งานจะเรียกว่า การประกาศตัวแปร (Variable Declaration) โดยเขียนคาสั่งให้ถูกต้องตามแบบ การประกาศตัวแปร แสดงดังนี้ 
type name; 
type : ชนิดของตัวแปร 
name : ชื่อของตัวแปร ซึ่งต้องตั้งให้ถูกต้องตามหลักของภาษา C 
การเขียนคาสั่งเพื่อประกาศตัวแปร ส่วนใหญ่แล้วจะเขียนไว้ในส่วนหัวของโปรแกรมก่อนฟังก์ชัน main() ซึ่งการเขียน ไว้ในตาแหน่งดังกล่าวจะทาให้ตัวแปรเหล่านั้นสามารถเรียกใช้จากที่ใดก็ได้ในโปรแกรม 
ในการประกาศตัวแปร สามารถประกาศครั้งละหลายตัวได้ ถ้าหากเป็นตัวแปรประเภทเดียวกันจะใช้เครื่องหมาย , คั่น ตัวอย่างเช่น ถ้าหากจะประกาศตัวแปรชื่อ Data1 และ Data2 สาหรับเก็บจานวนเต็ม สามารถทาได้ดังนี้ 
Int Data1 ,Data2;
3 
ตัวอย่างการประกาศตัวแปร 
#include <stdio.h> 
int num; สร้างตัวแปรชื่อ num เพื่อเก็บข้อมูลชนิดจานวนเต็ม float y; สร้างตัวแปรชื่อ y เพื่อเก็บข้อมูลชนิดเลขทศนิยม char n; สร้างตัวแปรชื่อ n เพื่อเก็บข้อมูลชนิดตัวอักขระ 
void main() 
{ 
printf("Enter number : ") scanf("%d",&num); printf("Enter name : "); scanf("%f",&n); printf("Thank you"); 
} 
ตัวแปร
4 
o ตัวดาเนินการ (Operator) 
ตัวดาเนินการเป็นตัวที่ทาหน้าที่รวมค่าต่างๆ และกระทากับค่าต่าง ๆ ให้เป็นค่าเดียวกัน เช่น +, -, *, / ซึ่งในการเขียน โปรแกรมภาษา C มีอยู่ 3 ประเภท คือ การคานวณทางคณิตศาสตร์ การดาเนินการทางตรรกศาสตร์ และการเปรียบเทียบ โดยตัวดาเนินการแต่ละประเภทจะมีเครื่องหมายที่ต้องใช้เพื่อเขียนคาสั่งสาหรับการดาเนินการประเภทนั้นๆ สามารถสรุปได้ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 
เครื่องหมายที่ใช้สาหรับการคานวณทางคณิตศาสตร์ 
เครื่องหมาย 
ความหมาย 
ตัวอย่าง + บวก 3+2 การบวกเลข 3 บวกกับ 2 ได้ผลลัพธ์คือ 5 
- 
ลบ 
3 - 2 การลบเลข 3 ลบกับ 2 ได้ผลลัพธ์คือ 1 * คูณ 2*3 การคูณเลข 3 บวกกับ 2 ได้ผลลัพธ์คือ 6 
/ 
หาร 
15/2 การหาร 15 หารกับ 2 ได้ผลลัพธ์คือ 7 % หารเอาเศษ 15%2 การหารเอาเศษ 15 หารกับ 2 ได้ผลลัพธ์คือ 1 
++ 
เพิ่มค่าขึ้น 1 โดย a++ จะนาค่าของ a ไปใช้ก่อนแล้วจึง เพิ่มค่าของ a ขึ้น 1 
b=a++; จะมีความหมายเทียบเท่ากับ 2 บรรทัดต่อไปนี้ b=a; a=a+1; ++a จะเพิ่มค่าของ a ขึ้น 1 ก่อนแล้วจึง นาค่าของ a ไปใช้ b=++a; จะมีความหมายเทียบเท่ากับ 2 บรรทัดต่อไปนี้ a=a+1; b=a; 
-- 
ลดค่า 1 โดย a-- จะนาค่าของ a ไปใช้ก่อน แล้วจึงลด ค่าของ a ลง 1 
b=a--; จะมีความหมายเทียบเท่ากับ 2 บรรทัดต่อไปนี้ b=a; a=a-1;
5 
เครื่องหมาย 
ความหมาย 
ตัวอย่าง --a จะลดค่าของ a ลง 1 ก่อน แล้วจึงนา ค่าของ a ไปใช้ b=--a; จะมีความหมายเทียบเท่ากับ 2 บรรทัดต่อไปนี้ a=a-1; b=a; 
ตัวดาเนินการเปรียบเทียบ 
ใช้เปรียบเทียบค่า 2 ค่าเพื่อแสดงการเลือก ซึ่งโปรแกรมโดยทั่วไปใช้ในการทดสอบเงื่อนไขตามที่กาหนด 
การเปรียบเทียบโดยการเท่ากันของ 2 ค่าจะใช้เครื่องหมาย == 
เครื่องหมาย 
ความหมาย 
ตัวอย่าง > มากกว่า a > b a มากกว่า b 
>== 
มากกว่าหรือเท่ากับ 
a >= b a มากกว่าหรือเท่ากับ b < น้อยกว่า a < b a น้อยกว่า b 
<== 
น้อยกว่าหรือเท่ากับ 
a <= b a น้อยกว่าหรือเท่ากับ b == เท่ากับ a == b a เท่ากับ b 
!= 
ไม่เท่ากับ 
a != b a ไม่เท่ากับ b 
ตัวดาเนินการตรรกะ 
การดาเนินการเปรียบเทียบค่าทางตรรกะ( และ หรือ ไม่) 
เครื่องหมาย 
ความหมาย 
ตัวอย่าง && และ x < 60 && x > 50 กาหนดให้ x มีค่าในช่วง 50 ถึง 60 
|| 
หรือ 
x == 10 || x == 15 กาหนดให้ x มีค่าเท่ากับตัวเลข 2 ค่า คือ 10 หรือ 15 ! ไม่ x = 10 !x กาหนดให้ x ไม่เท่ากับ 10

More Related Content

What's hot

บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีKomkai Pawuttanon
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)Visaitus Palasak
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานJa Phenpitcha
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Thank Chiro
 
ตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซี
ตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซีตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซี
ตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซีkorn27122540
 
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมpongpakorn Suklertpong
 
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2Tay Atcharawan
 
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้นแนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้นPhusit Konsurin
 

What's hot (20)

ตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวนตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวน
 
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
ภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้นภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้น
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซี
ตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซีตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซี
ตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซี
 
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
 
12
1212
12
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
 
Sheet4
Sheet4Sheet4
Sheet4
 
ภาษาซึี
ภาษาซึีภาษาซึี
ภาษาซึี
 
หน่วยที่4 ตัวแปร (Variable)
หน่วยที่4 ตัวแปร (Variable)หน่วยที่4 ตัวแปร (Variable)
หน่วยที่4 ตัวแปร (Variable)
 
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้นแนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 

Viewers also liked

Viewers also liked (16)

Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2
 
Expression Language 3.0
Expression Language 3.0Expression Language 3.0
Expression Language 3.0
 
Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2
 
Plural of nouns
Plural of nounsPlural of nouns
Plural of nouns
 
Plural of nouns
Plural of nounsPlural of nouns
Plural of nouns
 
Multi touch table by vinay jain
Multi touch table by vinay jainMulti touch table by vinay jain
Multi touch table by vinay jain
 
Web2 0
Web2 0Web2 0
Web2 0
 
content1
content1content1
content1
 
content 2
content 2content 2
content 2
 
lesson 2
lesson 2lesson 2
lesson 2
 
lesson 4
lesson 4lesson 4
lesson 4
 
Google Docs
Google DocsGoogle Docs
Google Docs
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2
 
lesson1
lesson1lesson1
lesson1
 
Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2
 

Similar to lesson 3

บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา JavaItslvle Parin
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา JavaItslvle Parin
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1Little Tukta Lita
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานBoOm mm
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นDararat Worasut
 
โครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีPatipat04
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซีmansuang1978
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาSaranporn Rungrueang
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถามkruthanyaporn
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ Areeya Onnom
 
โปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซีโปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซีfinverok
 
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูลตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูลKornnicha Wonglai
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีณัฐพล บัวพันธ์
 

Similar to lesson 3 (20)

บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
Chapter 02 Flowchart
Chapter 02 FlowchartChapter 02 Flowchart
Chapter 02 Flowchart
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้น
 
งานทำ Blog บทที่ 2
งานทำ Blog บทที่ 2งานทำ Blog บทที่ 2
งานทำ Blog บทที่ 2
 
php
phpphp
php
 
โครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซี
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี
 
Introduction toc
Introduction tocIntroduction toc
Introduction toc
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถาม
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
โปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซีโปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซี
 
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูลตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 

lesson 3

  • 1. 1 เรื่อง ตัวแปร ชนิดของข้อมูล และตัวดาเนินการในภาษาซี o ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ใช้อ้างถึงตาแหน่งต่างๆ ในหน่วยความจา ซึ่งใช้เก็บข้อมูลต่างๆ ด้วยขนาดตามชนิดข้อมูล เช่น char, int, long, float, double, unsigned int, unsigned long int o การประกาศตัวแปร (variable declaration) คือ การจองเนื้อที่ในหน่วยความจาสาหรับเก็บค่าบางอย่างพร้อมทั้งกาหนดชื่อเรียกแทนหน่วยความจาในตาแหน่งนั้นเพื่อให้ ผู้เขียนโปรแกรมมีความสะดวกในการเข้าถึงค่าที่เก็บอยู่ในหน่วยความจาดังกล่าว o ชนิดของข้อมูล ภาษาซีเป็นอีกภาษาหนึ่งที่มีชนิดของข้อมูลให้ใช้งานหลายอย่างด้วยกัน ซึ่งชนิดของข้อมูลแต่ละอย่างมีขนาดเนื้อที่ที่ใช้ใน หน่วยความจาที่แตกต่างกัน และเนื่องจากการที่มีขนาดที่แตกต่างกันไป ดังนั้นในการเลือกใช้งานประเภทข้อมูลก็ควรจะ คานึงถึงความจาเป็นในการใช้งานด้วย สาหรับประเภทของข้อมูลมีดังนี้คือ 1. ข้อมูลชนิดตัวอักษร (Character) คือข้อมูลที่เป็นรหัสแทนตัวอักษรหรือค่าจานวนเต็มได้แก่ ตัวอักษร ตัวเลข และกลุ่มตัวอักขระพิเศษใช้พื้นที่ในการเก็บข้อมูล 1 ไบต์ 2. ข้อมูลชนิดจานวนเต็ม (Integer) คือข้อมูลที่เป็นเลขจานวนเต็ม ได้แก่ จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ ศูนย์ ใช้พื้นที่ในการเก็บ 2 ไบต์ 3. ข้อมูลชนิดจานวนเต็มที่มีขนาด 2 เท่า (Long Integer) คือข้อมูลที่มีเลขเป็นจานวนเต็ม ใช้พื้นที่ 4 ไบต์ 4. ข้อมูลชนิดเลขทศนิยม (Float) คือข้อมูลที่เป็นเลขทศนิยม ขนาด 4 ไบต์ 5. ข้อมูลชนิดเลขทศนิยมอย่างละเอียด (Double) คือข้อมูลที่เป็นเลขทศนิยม ใช้พื้นที่ในการเก็บ 8 ไบต์ รายวิชา ง 31101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้สอน นางสาวมณฑกานต์ ภักดีศรี
  • 2. 2 ตารางแสดงชนิดของข้อมูลในภาษาซี รูปแบบของข้อมูล ชนิดของข้อมูล ขนาด (บิต) ขอบเขตของข้อความ อักขระ Char 8 อักขระตามรหัส ASCII หรือจานวนเต็ม -128 ถึง 127 Unsigned char 8 จานวนเต็ม 0 ถึง 255 จานวนเต็ม short 16 -32,768 ถึง 32,767 unsigned short 16 0 ถึง 65,535 Int 16 -32,768 ถึง 32,767 unsigned int 16/32 0 ถึง 65,535 หรือ 0 ถึง 4,294,967,295 long 32 -32,768 ถึง 32,767 unsigned long 32 0 ถึง 65,535 ทศนิยม float 32 3.4 x 10-38 ถึง 3.4 x 1038 (ทศนิยม 6 ตาแหน่ง) double 64 1.7 x 10-308 ถึง 1.7 x 10308 (ทศนิยม 12 ตาแหน่ง) long double 128 3.4 x 10-4932 ถึง 3.4 x 104932 (ทศนิยม 24 ตาแหน่ง) รูปแบบในการประกาศตัวแปรในภาษา C การสร้างตัวแปรขึ้นมาใช้งานจะเรียกว่า การประกาศตัวแปร (Variable Declaration) โดยเขียนคาสั่งให้ถูกต้องตามแบบ การประกาศตัวแปร แสดงดังนี้ type name; type : ชนิดของตัวแปร name : ชื่อของตัวแปร ซึ่งต้องตั้งให้ถูกต้องตามหลักของภาษา C การเขียนคาสั่งเพื่อประกาศตัวแปร ส่วนใหญ่แล้วจะเขียนไว้ในส่วนหัวของโปรแกรมก่อนฟังก์ชัน main() ซึ่งการเขียน ไว้ในตาแหน่งดังกล่าวจะทาให้ตัวแปรเหล่านั้นสามารถเรียกใช้จากที่ใดก็ได้ในโปรแกรม ในการประกาศตัวแปร สามารถประกาศครั้งละหลายตัวได้ ถ้าหากเป็นตัวแปรประเภทเดียวกันจะใช้เครื่องหมาย , คั่น ตัวอย่างเช่น ถ้าหากจะประกาศตัวแปรชื่อ Data1 และ Data2 สาหรับเก็บจานวนเต็ม สามารถทาได้ดังนี้ Int Data1 ,Data2;
  • 3. 3 ตัวอย่างการประกาศตัวแปร #include <stdio.h> int num; สร้างตัวแปรชื่อ num เพื่อเก็บข้อมูลชนิดจานวนเต็ม float y; สร้างตัวแปรชื่อ y เพื่อเก็บข้อมูลชนิดเลขทศนิยม char n; สร้างตัวแปรชื่อ n เพื่อเก็บข้อมูลชนิดตัวอักขระ void main() { printf("Enter number : ") scanf("%d",&num); printf("Enter name : "); scanf("%f",&n); printf("Thank you"); } ตัวแปร
  • 4. 4 o ตัวดาเนินการ (Operator) ตัวดาเนินการเป็นตัวที่ทาหน้าที่รวมค่าต่างๆ และกระทากับค่าต่าง ๆ ให้เป็นค่าเดียวกัน เช่น +, -, *, / ซึ่งในการเขียน โปรแกรมภาษา C มีอยู่ 3 ประเภท คือ การคานวณทางคณิตศาสตร์ การดาเนินการทางตรรกศาสตร์ และการเปรียบเทียบ โดยตัวดาเนินการแต่ละประเภทจะมีเครื่องหมายที่ต้องใช้เพื่อเขียนคาสั่งสาหรับการดาเนินการประเภทนั้นๆ สามารถสรุปได้ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ เครื่องหมายที่ใช้สาหรับการคานวณทางคณิตศาสตร์ เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง + บวก 3+2 การบวกเลข 3 บวกกับ 2 ได้ผลลัพธ์คือ 5 - ลบ 3 - 2 การลบเลข 3 ลบกับ 2 ได้ผลลัพธ์คือ 1 * คูณ 2*3 การคูณเลข 3 บวกกับ 2 ได้ผลลัพธ์คือ 6 / หาร 15/2 การหาร 15 หารกับ 2 ได้ผลลัพธ์คือ 7 % หารเอาเศษ 15%2 การหารเอาเศษ 15 หารกับ 2 ได้ผลลัพธ์คือ 1 ++ เพิ่มค่าขึ้น 1 โดย a++ จะนาค่าของ a ไปใช้ก่อนแล้วจึง เพิ่มค่าของ a ขึ้น 1 b=a++; จะมีความหมายเทียบเท่ากับ 2 บรรทัดต่อไปนี้ b=a; a=a+1; ++a จะเพิ่มค่าของ a ขึ้น 1 ก่อนแล้วจึง นาค่าของ a ไปใช้ b=++a; จะมีความหมายเทียบเท่ากับ 2 บรรทัดต่อไปนี้ a=a+1; b=a; -- ลดค่า 1 โดย a-- จะนาค่าของ a ไปใช้ก่อน แล้วจึงลด ค่าของ a ลง 1 b=a--; จะมีความหมายเทียบเท่ากับ 2 บรรทัดต่อไปนี้ b=a; a=a-1;
  • 5. 5 เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง --a จะลดค่าของ a ลง 1 ก่อน แล้วจึงนา ค่าของ a ไปใช้ b=--a; จะมีความหมายเทียบเท่ากับ 2 บรรทัดต่อไปนี้ a=a-1; b=a; ตัวดาเนินการเปรียบเทียบ ใช้เปรียบเทียบค่า 2 ค่าเพื่อแสดงการเลือก ซึ่งโปรแกรมโดยทั่วไปใช้ในการทดสอบเงื่อนไขตามที่กาหนด การเปรียบเทียบโดยการเท่ากันของ 2 ค่าจะใช้เครื่องหมาย == เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง > มากกว่า a > b a มากกว่า b >== มากกว่าหรือเท่ากับ a >= b a มากกว่าหรือเท่ากับ b < น้อยกว่า a < b a น้อยกว่า b <== น้อยกว่าหรือเท่ากับ a <= b a น้อยกว่าหรือเท่ากับ b == เท่ากับ a == b a เท่ากับ b != ไม่เท่ากับ a != b a ไม่เท่ากับ b ตัวดาเนินการตรรกะ การดาเนินการเปรียบเทียบค่าทางตรรกะ( และ หรือ ไม่) เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง && และ x < 60 && x > 50 กาหนดให้ x มีค่าในช่วง 50 ถึง 60 || หรือ x == 10 || x == 15 กาหนดให้ x มีค่าเท่ากับตัวเลข 2 ค่า คือ 10 หรือ 15 ! ไม่ x = 10 !x กาหนดให้ x ไม่เท่ากับ 10