SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
บทที่ 2
โครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา C
ภาษา C เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ถูกค้นคิดขึ้นโดย
Dennis Ritchie ในปี ค.ศ. 1970 โดยใช้ระบบปฏิบัติการ
ของยูนิกซ์ (UNIX) นับจากนั้นมาก็ได้รับความนิยมเพิ่มขั้น
จนถึงปัจจุบัน ภาษา C สามารถติดต่อในระดับฮาร์ดแวร์ได้ดี
กว่าภาษาระดับสูงอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาษาเบสิกฟอร์แทน
ขณะเดียวกันก็มีคุณสมบัติของภาษาระดับสูงอยู่ด้วย ด้วย
เหตุผลดังกล่าวจึงจัดได้ว่าภาษา C เป็นภาษาระดับกลาง
(Middle –lever language)
ภาษา C เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ชนิดคอมไพล์ (compiled
Language) ซึ่งมีคอมไพลเลอร์ (Compiler) ทำาหน้าที่ใน
การคอมไพล์ (Compile) หรือแปลงคำาสั่งทั้งหมดใน
โปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่อง (Machine Language) เพื่อ
ให้เครื่องคอมพิวเตอร์นำาคำาสั่งเหล่านั้นไปทำางานต่อไป
โครงสร้างของภาษา C ทุกโปรแกรมของภาษา C มีโครงสร้างเป็นลักษณะดังรูป
Int main (void)
{
เฮดเดอร์ไฟล์ (Header Files)
เป็นส่วนที่เก็บไลบรารี่มาตรฐานของภาษา C ซึ่งจะถูกดึงเข้ามารวมกับ
โปรแกรมในขณะที่กำาลังทำาการคอมไพล์ โดยใช้คำาสั่ง
#include<ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์> หรือ
#include  “ ”ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์
ตัวอย่าง
#include<stdio.h>
เฮดเดอร์ไฟล์นี้จะมีส่วนขยายเป็น .h เสมอ และเฮดเดอร์ไฟล์เป็นส่วนที่
จำาเป็นต้องมีอย่างน้อย 1 เฮดเดอร์ไฟล์ ก็คือ เฮดเดอร์ไฟล์ stdio.h ซึ่ง
จะเป็นที่เก็บไลบรารี่มาตรฐานที่จัดการเกี่ยวกับอินพุตและเอาท์พุต
ส่วนตัวแปรแบบ Global (Global Variables)
เป็นส่วนที่ใช้ประกาศตัวแปรหรือค่าต่าง ๆ ที่ให้ใช้ได้ทั้งโปรแกรม ซึ่ง
 ใช้ได้ทั้งโปรแกรม ซึ่งในส่วนไม่จำาเป็นต้องมีก็ได้
ฟังก์ชัน (Functions)
เป็นส่วนที่เก็บคำาสั่งต่าง ๆ ไว้ ซึ่งในภาษา C จะบังคับให้มีฟังก์ชันอย่างน้อย 1
ฟังก์ชั่นนั่นคือ ฟังก์ชั่น Main() และในโปรแกรม 1 โปรแกรมสามารถมี
ฟังก์ชันได้มากกว่า 1 ฟังก์ชั่น
ส่วนตัวแปรแบบ Local (Local Variables)
เป็นส่วนที่ใช้สำาหรับประกาศตัวแปรที่จะใช้ในเฉพาะฟังก์ชันของตนเอง ฟังก์ชั่
นอื่นไม่สามารถเข้าถึงหรือใช้ได้ ซึ่งจะต้องทำาการประกาศตัวแปรก่อนการใช้
 งานเสมอ และจะต้องประกาศไว้ในส่วนนี้เท่านั้น
ตัวแปรโปรแกรม (Statements)เป็นส่วนที่อยู่ถัดลงมาจากส่วนตัวแปรภายใน
ซึ่งประกอบไปด้วยคำาสั่งต่าง ๆ ของภาษา C และคำาสั่งต่าง ๆ จะใช้เครื่องหมาย
; เพื่อเป็นการบอกให้รู้ว่าจบคำาสั่งหนึ่ง ๆ แล้ว ส่วนใหญ่ คำาสั่งต่าง ๆ ของ
ภาษา C เขียนด้วยตัวพิมพ์เล็ก เนื่องจากภาษา C จะแยกความแตกต่างชองตัว
พิมพ์เล็กและพิมพ์ใหญ่หรือ Case Sensitive นั่นเอง ยกตัวอย่างใช้ Test, t
est หรือจะถือว่าเป็นตัวแปรคนละตัวกัน นอกจากนี้ภาษา C ยังไม่สนใจกับ
การขึ้นบรรทัดใหม่ เพราะฉะนั้นผู้ใช้สามารถพิมพ์คำาสั่งหลายคำาสั่งในบรรทัด
เดียวกันได้ โดยไม่เครื่องหมาย ; เป็นตัวจบคำาสั่ง
ค่าส่งกลับ (Return Value)
เป็นส่วนที่บอกให้รู้ว่า ฟังก์ชันนี้จะส่งค่าอะไรกลับไปให้กับฟังก์ชั่นที่เรียกฟังก์ชั่น
ซึ่งเรื่องนี้ผู้เขียนจะยกไปกล่าวในเรื่องฟังก์ชั่นอย่างละเอียดอีกทีหนึ่ง
หมายเหตุ (Comment)
       เป็นส่วนที่ใช้สำาหรับแสดงข้อความเพื่ออธิบายสิ่งที่ต้องการในโปรแกรม
ซึ่งจะใช้เครื่องหมาย /*และ */ ปิดหัวและปิดท้ายของข้อความที่ต้องการ
รูปที่ 2-2 แสดงการเขียนหมายเหตุหรือ Comment ในลักษณะต่าง ๆ
โปรแกรมที่ 2 – 1 โปรแกรมแรกสำาหรับคุณ
การตั้งชื่อ
การตั้งชื่อ (Identifier) ให้กับตัวแปร ฟังก์ชันหรืออื่น ๆ มีกฎเกณฑ์
ในการตั้งชื่อ ดังนี้
1.  ตัวแรกของชื่อจะต้องขึ้นต้องด้วยตัวอักษรหรือเครื่องหมาย _
เท่านั้น
2.  ตัวอักษรตั้งแต่ตัวที่ 2 สามารถเป็นตัวเลข หรือเครื่องหมาย_ก็ได้
3.  จะต้องไม่มีการเว้นวรรคภายในชื่อ แต่สามารถใช้เครื่อง_คั่นได้
4.  สามารถตั้งชื่อได้ยาไม่จำากัด แต่จะใช้ตัวอักษรแค่ 31 ตัวแรกใน
การอ้างอิง
5.  ชื่อที่ตั้งด้วยตัวอักษรพิมพ์ใหญ่และพิมพ์เล็ก จะถือว่าเป็นคนละตัว
กัน
6.  ห้ามตั้งชื่อซำ้ากับคำาสงวนของภาษา C
ตัวอย่างการตั้งที่ถูกและผิด
ชนิดข้อมูล
ในการเขียนโปรแกรมภาษา C นั้น ผู้ใช้จะต้องกำาหนดชนิด
ให้กับตัวแปรนั้นก่อนที่จะนำาไปใช้งาน โดยผู้ใช้จะต้องรู้ว่า
ในภาษา C นั้นมีชนิดข้อมูลอะไรบ้าง เพื่อจะเลือกใช้ได้
อย่างถูก
ต้องและเหมาะสม ในภาษา C จะมี 4 ชนิดข้อมูลมาตรฐาน
ดังนี้
ชนิดข้อมูลแบบไม่มีค่า หรือ Void Type (Void)
ข้อมูลชนิดนี้ จะไม่มีค่าและจะไม่ใช้ในการกำาหนดชนิดตัวแปร แต่
ส่วนใหญ่จะใช้เกี่ยวกับฟังก์ชั่น ซึ่งจะขอยกไปอธิบายในเรื่องฟัง
ก์ชั่น
 ชนิดข้อมูลมูลแบบจำานวนเต็ม หรือ Integer Type (int)
เป็นชนิดข้อมูลที่เป็นตัวเลขจำานวนเต็ม ไม่มีทศนิยม ซึ่งภาษา C
จะแบ่งข้อมูลชนิดนี้ออกได้เป็น 3 ระดับ คือ short int,int และ l
ong int ซึ่งแต่ละระดับนั้นจะมีขอบเขตการใช้งานที่แตกต่างกัน
ดังแสดงในตารางที่ 2-1
ชนิดข้อมูลแบบอักษร หรือ Character Type (char)
ข้อมูลชนิดนี้ก็คือ ตัวอักษรตั้งแต่ A-Z เลข 0-9 และสัญลักษณ์ต่าง
ๆ ตามมาตรฐาน ACSII (American Standard Code Informati
on Interchange) ซึ่งเมื่อกำาหนดให้กับตัวแปรแล้วตัวแปรนั้นจะรับ
ค่าได้เพียง 1 ตัวอักษรเท่านั้น และสามารถรับข้อมูลจำานวนเต็ม
ตั้งแต่ถึง 127 จะใช้ขนาดหน่วยความจำา 1ไบต์หรือ 8 บิต ชนิด
ข้อมูลแบบทศนิยม หรือ Floating Point Type (flat)
เป็นข้อมูลชนิดตัวเลขที่มีจุดทศนิยม ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 3
ระดับ คือ float, double และ long double แต่ละระดับนั้นจะมี
ขอบเขตที่แตกต่างกันในการใช้งาน ดังแสดงในตารางที่ 2-2
 
ตารางที่ 2-2 แสดงรายละเอียดของชนิดข้อมูลแบบ
ทศนิยม
ตัวแปร
ตัวแปร คือ ชื่อที่ใช้อ้างถึงตำาแหน่งต่าง ๆ ในหน่วยความจำา
ซึ่งใช้เก็บข้อมูลต่าง ๆ ด้วยขนาดตามชนิดข้อมูล การ
ประกาศตัวแปร
การประกาศตัวแปรในภาษา C นั้นสามรถทำาได้ 2 ลักษณะ
คือ การประกาศตัวแปรแบบเอกภาพ หรือการประกาศตัวแปร
แบบ Global คือ ตัวแปรที่จะสามารถเรียกใช้ได้ทั้งโปรแกรม
และแบบที่สองการประกาศตัวแปรแบบภายใน หรือการ
ประกาศตัวแปรแบบ Local ซึ่งตัวแปรแระเภทนี้จะใช้ได้ใน
#include<stdio.h>
int total; /*การประกาศตัวแปรแบบ Global */
main()
{
int price,money; /*การประกาศตัวแปรแบบ Local*/
…
}
รูปที่ 2-3 แสดงการประกาศตัวแปรแบบต่าง ๆ
การกำาหนดค่าให้กับตัวแปร
การกำาหนดค่าให้กับตัวแปรนั้น จะสามารถกำาหนดได้ตั้งแต่ตอนที่
ประกาศตัวแปรเลยหรือจะกำาหนดให้ภายในโปรแกรมก็ได้ ซึ่งการ
กำาหนดค่าจะใช้เครื่องหมาย = กั้นตรงกลาง
int total = 0;
ถ้ามีตัวแปรข้อมูลชนิดเดียวกัน ก็สามารถทำาแบบนี้ได้
int total =0,sum
หรือ
int total =0,sum=0;
ถ้าเป็นการกำาหนดภายในโปรแกรม ซึ่งตัวแปรนั้นได้ประกาศไว้แล้วสามารถทำา
แบบนี้
total = 50;
หรือ
total = total+sum
หรือกำาหนดค่าจาการพิมพ์ข้อมูลเข้าทางคีย์บอร์ด
scanf(“%d”,&total);
โปรแกรมที่ 2-2 การประกาศและใช้ตัวแปร
#include<stdio.h>
/*การประกาศตัวแปร Global*/
int sum = 0;
int main(void)
{
/*การประกาศตัวแปรแบบ Local */
int a;
int b;
int c;
/*คำำสั่ง */
printf(“nWelcome. This Program addsn”);
printf(“threenumbers.Enter three numbersn”);
printf(“in the form: nnn nnn nnn <retur>n”);
scanf(“%d %d %d”,&a,&b,&c);
/* ทำำกำรบวกค่ำระหว่ำง a,b และ c เข้ำด้วยกันแล้วกำำหนด
ค่ำให้ sum*/
sum=a+b+c;
printf(“The total is: %dn”,sum);
printf(“Thant you. Have a good day.n”);
return 0;
}
ผลกำรทำำงำน:
Welcome. This Program adds
Three numbers. Enter three number
In the form: nnn nnn nnn <return>
11 22 23
The total is: 56
Thank you. Have a good day.
กำรกำำหนดชนิดข้อมูลแบบชั่วครำว
เมื่อผู้ใช้ได้กำำหนดชนิดข้อมูลให้กับตัวแปรใด ๆ
ไปแล้ว ตัวแปรตัวนั้นจะมีชนิดข้อมูลเป็นแบบที่กำำหนดให้
ตลอดไป บำงครั้งกำรเขียนโปรแกรมอำจจะต้องมีควำม
จำำเป็นต้องเปลี่ยนชนิดข้อมูลของตัวแปรตัวนั้น ซึ่งภำษำซี ก็
มีควำมสำมำรถที่จะทำำเช่นนั้นได้
รูปแบบ
([ชนิดข้อมูล])[ตัวแปร]
ตัวอย่ำง
(float)a
(int)a
โปรแกรมที่ 2-3 แสดงกำรใช้ตัวแปรแบบชั่วครำว
#include<stdio.h>
int main(void)
{
float a= 25.3658;
printf(“Value of a : %n”,a);
printf(“Value of a when set is integer : %dn”,(int)a);
return 0;
}
ผลกำรทำำงำน :
Value of a : 25.365801
Value of a when change is integer : 25
ชนิดข้อมูลแบบค่ำคงที่ (Constants)
ชนิดข้อมูลประเภทนี้ ชื่อก็บอกอยู่ว่ำเป็นชนิดข้อมูลแบบค่ำคงที่
ซึ่งก็คือข้อมูลตัวแปรประเภทที่เป็น Constants ผู้ใช้จะไม่
สำมำรถเปลี่ยนแปลงค่ำของตัวแปรตัวนั้น ในขณะที่โปรแกรม
ทำำงำนอยู่
รูปแบบ
Const[ชนิดข้อมูล][ตัวแปร]=[ค่ำหรือ นิพจน์]
ตัวอย่ำง
const folat a = 5.23;
const int b = a%2;
โปรแกรมที่ 2-4 กำรใช้ตัวแปรชนิดข้อแบบค่ำคงที่
#include<stdio.h>
imt main(void)
{
const float pi = 3.14159;
float radius;
radius = 3;
printf(“Value of pi  : %fn”,pi);
printf(“Value of area : %fn”,pi*(radius*radius));
return 0;
}
ผลกำรทำำงำน:
Value of pi : 3.141590
Value of area : 28.274311
constant นั้นสำมำรถแบ่งออกได้ ดังนี้
Integer Constants เป็นค่ำคงที่ชนิดข้อมูลแบบตัวเลขจำำนวนเต็มไม่มีจุดทศนิยม
const int a = 5;
Floating-Point Constants เป็นค่ำคงที่ชนิดข้อมูลแบบตัวเลขที่มีจุดทศนิยม
const float b = 5.6394;
Character Constants เป็นค่ำคงที่ชนิดตัวอักษร ซึ่งจะต้องอยู่ภำยในเครื่องหมำ
‘’เท่ำนั้น
const char b = ‘t’;
String Constants เป็นค่ำคงที่เป็นข้อควำม ซึ่งจะต้องอยู่ภำยใต้เครื่องหมำย
“”เท่ำนั้น
“”
“h”
“Hello worldn”
“HOW ARE YOU”
“Good Morning!”
โปรแกรมที่ 2-5 กำรใช้ตัวแปรชนิดข้อมูลแบบค่ำคงที่แบบต่ำง ๆ
#includ<stdio.h>
int main(void)
{
const int a = 3; /*Integer Constats*/
const flat b = 3.14159; /*Floating – Point Constants*/
const cahr c = ‘P’; /*Character Constants*/
printf(“Value of a: %dn”,a);
printf(“Value of b: %dn”,b);
printf(“Value of c: %dn”,c);
printf(“Good Bye”); /*String Constants*/
return 0;
}
ผลการทำางาน
Value of  a : 3
Value of  b : 3.141590
Value of  c : P
Good Bye
Statements
  statements ในภาษา c คือ คำาสั่งต่าง ไ ที่ประกอบขึ้นจนเป็นตัว
โปรแกรม ซึ่งในภาษา c นั้นได้แบ่งออกเป็น 6 แบบ คือ Expression
Statement และ Compound Statement ณ.ที่นี้จะมีด้วยกัน 2 แบบ
• Expression Statement  หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Single
Statement ซึ่ง Statement  แบบนั้นจะต้องมีเครื่องหมาย; หลังจาก
statement เมื่อภาษา C พบเครื่องหมาย ; จะทำาให้มันรู้ว่าจบชุดคำา
สั่งแล้ว แล้วจึงข้ามไปทำา Statement   ชุดต่อไป a = 2; หรือ
printf(“x contains %d, y contains %dn”,x,y);
Compound Statement คือ ชุดคำาสั่งที่มีคำาสั่งต่าง ๆ รวมอยู่ด้านใน Block ซึ่ง
จะใช้เครื่องหมาย {เป็นการเปิดชุดคำาสั่ง และใช้} เป็นตัวปิดชุดคำาสั่ง ตัวอย่างที่เห็น
ได้ชัดเจนสำาหรับ Statement แบบนี้ คือ ตัวฟังก์ชั่น Main โดยทั่ว ๆ ไปในภาษา C
Compound Statement จะเป็นตัวฟังชั่น
ผังงาน
         ผังงาน (Flowchart)  มีไว้เพื่อให้ผู้ใช้ออกแบบขั้นตอนการทำางนของ
โปรแกรมก่อนที่จะลงมือเขียนโปรแกรม ซึ่งจะช่วยให้ผู้ใช้เขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น
 และไม่สับสนซึ่งผังงานที่นิยมใช้มีมาตรฐานมากมายหลายแบบ โดยมีสัญลักษณ์ของ
ผังงานดังนี้
1. 
                    Terminator
สัญลักษณ์แทนจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด
        2.
                    Process                                                                         
สัญลักษณ์กระบวนการต่าง ๆ เช่น การประกาศตัวแปร การบวก เป็นต้น
        3.
            Decision
สัญลักษณ์เงื่อนไข
4. 
            Data
สัญลักษณ์ติดต่อกับผู้ใช้โดยการรับข้อมูลหรือแสดงข้อมูล
5.
        Manual Input
สัญลักษณ์การรับข้อมูลจากผู้ใช้
6.
 
                   
Display
สัญลักษณ์การแสดงผลออกทางจอภาพ
7. 
Predefined Process
                 สัญลักษณ์ระบุการทำางานย่อยหรือฟังก์ชั่นย่อย
8.                  
Connect
สัญลักษณ์จุดเชื่อม
9.                               
                  Arrow
สัญลักษณ์เส้นทางการดำาเนินงาน
โดยการออกแบบผังงาน จะมี 3 แบบ ดังนี้
1.  แบบเรียงลำาดับ จะเป็นลักษณะการทำางานที่เรียงกันไปเรื่อย
ๆ โดยไม่มีการวนซำ้า ดังรูป
2.แบบทางเลือก จะเป็นลักษณะการทำางานที่มีทางเลือก ซึ่งจะพบ
ในเรื่องคำาสั่งเงื่อนไข เช่น คำาสั่ง if…else ดังรูป
3.แบบการทำางานซำ้า จะเป็นลักษณะการทำางานที่วนการ
ทำางานแบบเดิม จนครบตามจำานวนที่ต้องการ ซึ้งจะพบในเรื่อง
คำาสั่ง วนลูป เช่น คำาสั่ง do….while  ดังรูป

More Related Content

What's hot

โครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีPatipat04
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)Visaitus Palasak
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมKashima Seto
 
C Programming
C ProgrammingC Programming
C ProgrammingWarawut
 
โปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซีโปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซีfinverok
 
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมpongpakorn Suklertpong
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++Naowarat Jaikaroon
 
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้นแนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้นPhusit Konsurin
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นDararat Worasut
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Thank Chiro
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรKomkai Pawuttanon
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีboky_peaw
 

What's hot (20)

โครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซี
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
7 1 dev c++
7 1 dev c++7 1 dev c++
7 1 dev c++
 
โครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา Cโครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา C
 
Know1 3
Know1 3Know1 3
Know1 3
 
C Programming
C ProgrammingC Programming
C Programming
 
งาน
งานงาน
งาน
 
โปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซีโปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซี
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
 
12
1212
12
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้นแนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้น
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปร
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซี
 

Viewers also liked

โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีBipor Srila
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีdechathon
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา CFair Kung Nattaput
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์runjaun
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์kachornchit_maprang
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีFair Kung Nattaput
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Bipor Srila
 
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีChess
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
(Mind map)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน
(Mind map)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(Mind map)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน
(Mind map)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐานVisaitus Palasak
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา CWarawut
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
SEO for Education Organizations #EMCDigital
SEO for Education Organizations #EMCDigitalSEO for Education Organizations #EMCDigital
SEO for Education Organizations #EMCDigitalAleyda Solís
 
Lecture17 arrays.ppt
Lecture17 arrays.pptLecture17 arrays.ppt
Lecture17 arrays.ppteShikshak
 

Viewers also liked (20)

โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา C
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
(Mind map)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน
(Mind map)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(Mind map)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน
(Mind map)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
Arrays
ArraysArrays
Arrays
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
SEO for Education Organizations #EMCDigital
SEO for Education Organizations #EMCDigitalSEO for Education Organizations #EMCDigital
SEO for Education Organizations #EMCDigital
 
Lecture17 arrays.ppt
Lecture17 arrays.pptLecture17 arrays.ppt
Lecture17 arrays.ppt
 

Similar to โครงสร้างของภาษา C

การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมBaramee Chomphoo
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา JavaItslvle Parin
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา JavaItslvle Parin
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1Little Tukta Lita
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C0872671746
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซีmansuang1978
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีณัฐพล บัวพันธ์
 
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2Tay Atcharawan
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานJa Phenpitcha
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานBoOm mm
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chartbbgunner47
 

Similar to โครงสร้างของภาษา C (20)

การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
 
Introduction toc
Introduction tocIntroduction toc
Introduction toc
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
Chapter 02 Flowchart
Chapter 02 FlowchartChapter 02 Flowchart
Chapter 02 Flowchart
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี
 
ภาษาซึี
ภาษาซึีภาษาซึี
ภาษาซึี
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
 
งานทำ Blog บทที่ 2
งานทำ Blog บทที่ 2งานทำ Blog บทที่ 2
งานทำ Blog บทที่ 2
 
ตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวนตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวน
 
ตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวนตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวน
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chart
 
lesson 4
lesson 4lesson 4
lesson 4
 

โครงสร้างของภาษา C

  • 2. โครงสร้างของภาษา C ภาษา C เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ถูกค้นคิดขึ้นโดย Dennis Ritchie ในปี ค.ศ. 1970 โดยใช้ระบบปฏิบัติการ ของยูนิกซ์ (UNIX) นับจากนั้นมาก็ได้รับความนิยมเพิ่มขั้น จนถึงปัจจุบัน ภาษา C สามารถติดต่อในระดับฮาร์ดแวร์ได้ดี กว่าภาษาระดับสูงอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาษาเบสิกฟอร์แทน ขณะเดียวกันก็มีคุณสมบัติของภาษาระดับสูงอยู่ด้วย ด้วย เหตุผลดังกล่าวจึงจัดได้ว่าภาษา C เป็นภาษาระดับกลาง (Middle –lever language) ภาษา C เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ชนิดคอมไพล์ (compiled Language) ซึ่งมีคอมไพลเลอร์ (Compiler) ทำาหน้าที่ใน การคอมไพล์ (Compile) หรือแปลงคำาสั่งทั้งหมดใน โปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่อง (Machine Language) เพื่อ ให้เครื่องคอมพิวเตอร์นำาคำาสั่งเหล่านั้นไปทำางานต่อไป
  • 3. โครงสร้างของภาษา C ทุกโปรแกรมของภาษา C มีโครงสร้างเป็นลักษณะดังรูป Int main (void) {
  • 4. เฮดเดอร์ไฟล์ (Header Files) เป็นส่วนที่เก็บไลบรารี่มาตรฐานของภาษา C ซึ่งจะถูกดึงเข้ามารวมกับ โปรแกรมในขณะที่กำาลังทำาการคอมไพล์ โดยใช้คำาสั่ง #include<ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์> หรือ #include  “ ”ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ ตัวอย่าง #include<stdio.h> เฮดเดอร์ไฟล์นี้จะมีส่วนขยายเป็น .h เสมอ และเฮดเดอร์ไฟล์เป็นส่วนที่ จำาเป็นต้องมีอย่างน้อย 1 เฮดเดอร์ไฟล์ ก็คือ เฮดเดอร์ไฟล์ stdio.h ซึ่ง จะเป็นที่เก็บไลบรารี่มาตรฐานที่จัดการเกี่ยวกับอินพุตและเอาท์พุต ส่วนตัวแปรแบบ Global (Global Variables) เป็นส่วนที่ใช้ประกาศตัวแปรหรือค่าต่าง ๆ ที่ให้ใช้ได้ทั้งโปรแกรม ซึ่ง  ใช้ได้ทั้งโปรแกรม ซึ่งในส่วนไม่จำาเป็นต้องมีก็ได้
  • 5. ฟังก์ชัน (Functions) เป็นส่วนที่เก็บคำาสั่งต่าง ๆ ไว้ ซึ่งในภาษา C จะบังคับให้มีฟังก์ชันอย่างน้อย 1 ฟังก์ชั่นนั่นคือ ฟังก์ชั่น Main() และในโปรแกรม 1 โปรแกรมสามารถมี ฟังก์ชันได้มากกว่า 1 ฟังก์ชั่น ส่วนตัวแปรแบบ Local (Local Variables) เป็นส่วนที่ใช้สำาหรับประกาศตัวแปรที่จะใช้ในเฉพาะฟังก์ชันของตนเอง ฟังก์ชั่ นอื่นไม่สามารถเข้าถึงหรือใช้ได้ ซึ่งจะต้องทำาการประกาศตัวแปรก่อนการใช้  งานเสมอ และจะต้องประกาศไว้ในส่วนนี้เท่านั้น ตัวแปรโปรแกรม (Statements)เป็นส่วนที่อยู่ถัดลงมาจากส่วนตัวแปรภายใน ซึ่งประกอบไปด้วยคำาสั่งต่าง ๆ ของภาษา C และคำาสั่งต่าง ๆ จะใช้เครื่องหมาย ; เพื่อเป็นการบอกให้รู้ว่าจบคำาสั่งหนึ่ง ๆ แล้ว ส่วนใหญ่ คำาสั่งต่าง ๆ ของ ภาษา C เขียนด้วยตัวพิมพ์เล็ก เนื่องจากภาษา C จะแยกความแตกต่างชองตัว พิมพ์เล็กและพิมพ์ใหญ่หรือ Case Sensitive นั่นเอง ยกตัวอย่างใช้ Test, t est หรือจะถือว่าเป็นตัวแปรคนละตัวกัน นอกจากนี้ภาษา C ยังไม่สนใจกับ การขึ้นบรรทัดใหม่ เพราะฉะนั้นผู้ใช้สามารถพิมพ์คำาสั่งหลายคำาสั่งในบรรทัด เดียวกันได้ โดยไม่เครื่องหมาย ; เป็นตัวจบคำาสั่ง
  • 6. ค่าส่งกลับ (Return Value) เป็นส่วนที่บอกให้รู้ว่า ฟังก์ชันนี้จะส่งค่าอะไรกลับไปให้กับฟังก์ชั่นที่เรียกฟังก์ชั่น ซึ่งเรื่องนี้ผู้เขียนจะยกไปกล่าวในเรื่องฟังก์ชั่นอย่างละเอียดอีกทีหนึ่ง หมายเหตุ (Comment)        เป็นส่วนที่ใช้สำาหรับแสดงข้อความเพื่ออธิบายสิ่งที่ต้องการในโปรแกรม ซึ่งจะใช้เครื่องหมาย /*และ */ ปิดหัวและปิดท้ายของข้อความที่ต้องการ รูปที่ 2-2 แสดงการเขียนหมายเหตุหรือ Comment ในลักษณะต่าง ๆ
  • 7. โปรแกรมที่ 2 – 1 โปรแกรมแรกสำาหรับคุณ
  • 8. การตั้งชื่อ การตั้งชื่อ (Identifier) ให้กับตัวแปร ฟังก์ชันหรืออื่น ๆ มีกฎเกณฑ์ ในการตั้งชื่อ ดังนี้ 1.  ตัวแรกของชื่อจะต้องขึ้นต้องด้วยตัวอักษรหรือเครื่องหมาย _ เท่านั้น 2.  ตัวอักษรตั้งแต่ตัวที่ 2 สามารถเป็นตัวเลข หรือเครื่องหมาย_ก็ได้ 3.  จะต้องไม่มีการเว้นวรรคภายในชื่อ แต่สามารถใช้เครื่อง_คั่นได้ 4.  สามารถตั้งชื่อได้ยาไม่จำากัด แต่จะใช้ตัวอักษรแค่ 31 ตัวแรกใน การอ้างอิง 5.  ชื่อที่ตั้งด้วยตัวอักษรพิมพ์ใหญ่และพิมพ์เล็ก จะถือว่าเป็นคนละตัว กัน 6.  ห้ามตั้งชื่อซำ้ากับคำาสงวนของภาษา C
  • 9. ตัวอย่างการตั้งที่ถูกและผิด ชนิดข้อมูล ในการเขียนโปรแกรมภาษา C นั้น ผู้ใช้จะต้องกำาหนดชนิด ให้กับตัวแปรนั้นก่อนที่จะนำาไปใช้งาน โดยผู้ใช้จะต้องรู้ว่า ในภาษา C นั้นมีชนิดข้อมูลอะไรบ้าง เพื่อจะเลือกใช้ได้ อย่างถูก ต้องและเหมาะสม ในภาษา C จะมี 4 ชนิดข้อมูลมาตรฐาน ดังนี้
  • 10. ชนิดข้อมูลแบบไม่มีค่า หรือ Void Type (Void) ข้อมูลชนิดนี้ จะไม่มีค่าและจะไม่ใช้ในการกำาหนดชนิดตัวแปร แต่ ส่วนใหญ่จะใช้เกี่ยวกับฟังก์ชั่น ซึ่งจะขอยกไปอธิบายในเรื่องฟัง ก์ชั่น  ชนิดข้อมูลมูลแบบจำานวนเต็ม หรือ Integer Type (int) เป็นชนิดข้อมูลที่เป็นตัวเลขจำานวนเต็ม ไม่มีทศนิยม ซึ่งภาษา C จะแบ่งข้อมูลชนิดนี้ออกได้เป็น 3 ระดับ คือ short int,int และ l ong int ซึ่งแต่ละระดับนั้นจะมีขอบเขตการใช้งานที่แตกต่างกัน ดังแสดงในตารางที่ 2-1
  • 11. ชนิดข้อมูลแบบอักษร หรือ Character Type (char) ข้อมูลชนิดนี้ก็คือ ตัวอักษรตั้งแต่ A-Z เลข 0-9 และสัญลักษณ์ต่าง ๆ ตามมาตรฐาน ACSII (American Standard Code Informati on Interchange) ซึ่งเมื่อกำาหนดให้กับตัวแปรแล้วตัวแปรนั้นจะรับ ค่าได้เพียง 1 ตัวอักษรเท่านั้น และสามารถรับข้อมูลจำานวนเต็ม ตั้งแต่ถึง 127 จะใช้ขนาดหน่วยความจำา 1ไบต์หรือ 8 บิต ชนิด ข้อมูลแบบทศนิยม หรือ Floating Point Type (flat) เป็นข้อมูลชนิดตัวเลขที่มีจุดทศนิยม ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ float, double และ long double แต่ละระดับนั้นจะมี ขอบเขตที่แตกต่างกันในการใช้งาน ดังแสดงในตารางที่ 2-2  
  • 12. ตารางที่ 2-2 แสดงรายละเอียดของชนิดข้อมูลแบบ ทศนิยม ตัวแปร ตัวแปร คือ ชื่อที่ใช้อ้างถึงตำาแหน่งต่าง ๆ ในหน่วยความจำา ซึ่งใช้เก็บข้อมูลต่าง ๆ ด้วยขนาดตามชนิดข้อมูล การ ประกาศตัวแปร การประกาศตัวแปรในภาษา C นั้นสามรถทำาได้ 2 ลักษณะ คือ การประกาศตัวแปรแบบเอกภาพ หรือการประกาศตัวแปร แบบ Global คือ ตัวแปรที่จะสามารถเรียกใช้ได้ทั้งโปรแกรม และแบบที่สองการประกาศตัวแปรแบบภายใน หรือการ ประกาศตัวแปรแบบ Local ซึ่งตัวแปรแระเภทนี้จะใช้ได้ใน
  • 13. #include<stdio.h> int total; /*การประกาศตัวแปรแบบ Global */ main() { int price,money; /*การประกาศตัวแปรแบบ Local*/ … } รูปที่ 2-3 แสดงการประกาศตัวแปรแบบต่าง ๆ การกำาหนดค่าให้กับตัวแปร การกำาหนดค่าให้กับตัวแปรนั้น จะสามารถกำาหนดได้ตั้งแต่ตอนที่ ประกาศตัวแปรเลยหรือจะกำาหนดให้ภายในโปรแกรมก็ได้ ซึ่งการ กำาหนดค่าจะใช้เครื่องหมาย = กั้นตรงกลาง int total = 0; ถ้ามีตัวแปรข้อมูลชนิดเดียวกัน ก็สามารถทำาแบบนี้ได้ int total =0,sum หรือ
  • 14. int total =0,sum=0; ถ้าเป็นการกำาหนดภายในโปรแกรม ซึ่งตัวแปรนั้นได้ประกาศไว้แล้วสามารถทำา แบบนี้ total = 50; หรือ total = total+sum หรือกำาหนดค่าจาการพิมพ์ข้อมูลเข้าทางคีย์บอร์ด scanf(“%d”,&total); โปรแกรมที่ 2-2 การประกาศและใช้ตัวแปร #include<stdio.h> /*การประกาศตัวแปร Global*/ int sum = 0; int main(void) { /*การประกาศตัวแปรแบบ Local */ int a; int b; int c;
  • 15. /*คำำสั่ง */ printf(“nWelcome. This Program addsn”); printf(“threenumbers.Enter three numbersn”); printf(“in the form: nnn nnn nnn <retur>n”); scanf(“%d %d %d”,&a,&b,&c); /* ทำำกำรบวกค่ำระหว่ำง a,b และ c เข้ำด้วยกันแล้วกำำหนด ค่ำให้ sum*/ sum=a+b+c; printf(“The total is: %dn”,sum); printf(“Thant you. Have a good day.n”); return 0; }
  • 16. ผลกำรทำำงำน: Welcome. This Program adds Three numbers. Enter three number In the form: nnn nnn nnn <return> 11 22 23 The total is: 56 Thank you. Have a good day. กำรกำำหนดชนิดข้อมูลแบบชั่วครำว เมื่อผู้ใช้ได้กำำหนดชนิดข้อมูลให้กับตัวแปรใด ๆ ไปแล้ว ตัวแปรตัวนั้นจะมีชนิดข้อมูลเป็นแบบที่กำำหนดให้ ตลอดไป บำงครั้งกำรเขียนโปรแกรมอำจจะต้องมีควำม จำำเป็นต้องเปลี่ยนชนิดข้อมูลของตัวแปรตัวนั้น ซึ่งภำษำซี ก็ มีควำมสำมำรถที่จะทำำเช่นนั้นได้
  • 17. รูปแบบ ([ชนิดข้อมูล])[ตัวแปร] ตัวอย่ำง (float)a (int)a โปรแกรมที่ 2-3 แสดงกำรใช้ตัวแปรแบบชั่วครำว #include<stdio.h> int main(void) { float a= 25.3658; printf(“Value of a : %n”,a); printf(“Value of a when set is integer : %dn”,(int)a); return 0; } ผลกำรทำำงำน : Value of a : 25.365801 Value of a when change is integer : 25
  • 18. ชนิดข้อมูลแบบค่ำคงที่ (Constants) ชนิดข้อมูลประเภทนี้ ชื่อก็บอกอยู่ว่ำเป็นชนิดข้อมูลแบบค่ำคงที่ ซึ่งก็คือข้อมูลตัวแปรประเภทที่เป็น Constants ผู้ใช้จะไม่ สำมำรถเปลี่ยนแปลงค่ำของตัวแปรตัวนั้น ในขณะที่โปรแกรม ทำำงำนอยู่ รูปแบบ Const[ชนิดข้อมูล][ตัวแปร]=[ค่ำหรือ นิพจน์] ตัวอย่ำง const folat a = 5.23; const int b = a%2;
  • 19. โปรแกรมที่ 2-4 กำรใช้ตัวแปรชนิดข้อแบบค่ำคงที่ #include<stdio.h> imt main(void) { const float pi = 3.14159; float radius; radius = 3; printf(“Value of pi  : %fn”,pi); printf(“Value of area : %fn”,pi*(radius*radius)); return 0; }
  • 20. ผลกำรทำำงำน: Value of pi : 3.141590 Value of area : 28.274311 constant นั้นสำมำรถแบ่งออกได้ ดังนี้ Integer Constants เป็นค่ำคงที่ชนิดข้อมูลแบบตัวเลขจำำนวนเต็มไม่มีจุดทศนิยม const int a = 5; Floating-Point Constants เป็นค่ำคงที่ชนิดข้อมูลแบบตัวเลขที่มีจุดทศนิยม const float b = 5.6394; Character Constants เป็นค่ำคงที่ชนิดตัวอักษร ซึ่งจะต้องอยู่ภำยในเครื่องหมำ ‘’เท่ำนั้น const char b = ‘t’; String Constants เป็นค่ำคงที่เป็นข้อควำม ซึ่งจะต้องอยู่ภำยใต้เครื่องหมำย “”เท่ำนั้น “” “h” “Hello worldn” “HOW ARE YOU” “Good Morning!”
  • 21. โปรแกรมที่ 2-5 กำรใช้ตัวแปรชนิดข้อมูลแบบค่ำคงที่แบบต่ำง ๆ #includ<stdio.h> int main(void) { const int a = 3; /*Integer Constats*/ const flat b = 3.14159; /*Floating – Point Constants*/ const cahr c = ‘P’; /*Character Constants*/ printf(“Value of a: %dn”,a); printf(“Value of b: %dn”,b); printf(“Value of c: %dn”,c); printf(“Good Bye”); /*String Constants*/ return 0; }
  • 22. ผลการทำางาน Value of  a : 3 Value of  b : 3.141590 Value of  c : P Good Bye Statements   statements ในภาษา c คือ คำาสั่งต่าง ไ ที่ประกอบขึ้นจนเป็นตัว โปรแกรม ซึ่งในภาษา c นั้นได้แบ่งออกเป็น 6 แบบ คือ Expression Statement และ Compound Statement ณ.ที่นี้จะมีด้วยกัน 2 แบบ • Expression Statement  หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Single Statement ซึ่ง Statement  แบบนั้นจะต้องมีเครื่องหมาย; หลังจาก statement เมื่อภาษา C พบเครื่องหมาย ; จะทำาให้มันรู้ว่าจบชุดคำา สั่งแล้ว แล้วจึงข้ามไปทำา Statement   ชุดต่อไป a = 2; หรือ printf(“x contains %d, y contains %dn”,x,y);
  • 23. Compound Statement คือ ชุดคำาสั่งที่มีคำาสั่งต่าง ๆ รวมอยู่ด้านใน Block ซึ่ง จะใช้เครื่องหมาย {เป็นการเปิดชุดคำาสั่ง และใช้} เป็นตัวปิดชุดคำาสั่ง ตัวอย่างที่เห็น ได้ชัดเจนสำาหรับ Statement แบบนี้ คือ ตัวฟังก์ชั่น Main โดยทั่ว ๆ ไปในภาษา C Compound Statement จะเป็นตัวฟังชั่น ผังงาน          ผังงาน (Flowchart)  มีไว้เพื่อให้ผู้ใช้ออกแบบขั้นตอนการทำางนของ โปรแกรมก่อนที่จะลงมือเขียนโปรแกรม ซึ่งจะช่วยให้ผู้ใช้เขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น  และไม่สับสนซึ่งผังงานที่นิยมใช้มีมาตรฐานมากมายหลายแบบ โดยมีสัญลักษณ์ของ ผังงานดังนี้ 1.                      Terminator สัญลักษณ์แทนจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด         2.                     Process                                                                          สัญลักษณ์กระบวนการต่าง ๆ เช่น การประกาศตัวแปร การบวก เป็นต้น
  • 24.         3.             Decision สัญลักษณ์เงื่อนไข 4.              Data สัญลักษณ์ติดต่อกับผู้ใช้โดยการรับข้อมูลหรือแสดงข้อมูล 5.         Manual Input สัญลักษณ์การรับข้อมูลจากผู้ใช้ 6.                      
  • 25. Display สัญลักษณ์การแสดงผลออกทางจอภาพ 7.  Predefined Process                  สัญลักษณ์ระบุการทำางานย่อยหรือฟังก์ชั่นย่อย 8.                   Connect สัญลักษณ์จุดเชื่อม 9.                                                  Arrow สัญลักษณ์เส้นทางการดำาเนินงาน
  • 26. โดยการออกแบบผังงาน จะมี 3 แบบ ดังนี้ 1.  แบบเรียงลำาดับ จะเป็นลักษณะการทำางานที่เรียงกันไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการวนซำ้า ดังรูป