SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
โดย
นายปณพล ดาดวง
สคพ2. เลขที่5
องค์ประกอบพื้นฐานของภาษา C
 อักขระ(characters) ค่าคงที่(constants) ตัวแปร
(variables) ตัวดาเนินการ(operators)นิพจน์
(expressions)
Characters แบ่งเป็น
 ตัวเลข (digits) คือ ตัวเลข 0 ถึง 9 และเลขฐานสิบหก คือ A B C D
E และ F
 ตัวอักษร(letters) คือตัวอักษรในภาษาอังกฤษ เป็นตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็ก
คือ A-Z และ a-z
 อักขระพิเศษ(special characters) คือ ! * + " < # ( = | > % )
~ : / ^ - [ ; ? , & _ ]' . space ในภาษาซี ถือว่า เครื่องหมายขีดเส้นใต้เป็น
ตัวอักษร ตัวหนึ่ง characters ต่าง ๆ นี้จะใช้เป็นค่าคงที่ ตัวแปร ตัวดาเนินการ
Constants เป็นค่าที่มีค่าไม่เปลี่ยนแปลง แบ่งเป็น
 ค่าคงที่ประเภทเลขจานวนเต็ม (integer constant) คือเลขจานวนเต็ม ที่อยู่
ระหว่าง -32768 ถึง 32767 เช่น -25 หรือ 0 หรือ 236 ค่าเหล่านี้แต่ละค่าใช้
หน่วยความจาในการเก็บ 2 ไบต์ ค่าเหล่านี้เขียนในรูปเลขฐานสิบ ฐานแปด(เขียนโดยใช้เลข
ศูนย์นาหน้า เช่น 045) เลขฐานสิบหก(เขียนโดย ใช้เลขศูนย์และx นาหน้า
เช่น 0x280X2AF)
 ค่าคงที่ชนิดตัวเลขทศนิยม(floating point constants) เป็นตัวเลข
ทศนิยม เช่น 1.0 1.6 E+09 ค่านี้ใช้หน่วยความจาในการเก็บค่าละ 4 ไบต์ และมีค่า
อยู่ในช่วง 1.2 E -38 ถึง 3.4E+38 โดย 3 ไบต์แรกเก็บค่าตัวทศนิยม ส่วน
ไบต์สุดท้ายเก็บเลขยกกาลัง
 ค่าคงที่ชนิดตัวเลขทศนิยมความละเอียดสองเท่า (double floating
point) เรียกสั้น ๆ ว่า double เก็บจานวน 2.2E-
308 ถึง 1.8E+308 เท่านั้น ใช้หน่วยความจา 8 ไบต์ 7 ไบต์แรกเก็บเลข
ทศนิยม ไบต์สุดท้ายเก็บเลขยกกาลัง
 ค่าคงที่ชนิดตัวอักขระ (single character constant) เก็บตัว
อักขระ 1 ตัว โดยใช้เครื่องหมาย ' และ 'ล้อม 1 ตัวอักขระใช้ 1 ไบต์ เช่น 'E' 'X'
 ค่าคงที่ชนิดข้อความ (string constant) ใช้เก็บข้อความ มีความยาว
ตั้งแต่ 1 ตัวอักขระ เก็บในรูปอาร์เรย์ แต่ละตัวใช้หน่วยความจา 1 ไบต์ เรียงต่อกัน
โดยไบต์สุดท้ายจะต้องเก็บ 0 (null charactor) เพื่อบอกว่าจบข้อความ
แล้ว เช่น "Bodindecha" ใช้หน่วยความจา 11ไบต์
ตัวแปร(variables)
 เป็นชื่อที่ตั้งเพื่อใช้อ้างอิงถึงข้อมูลต่าง ๆ โดยตัวแปรจะมีการใช้เนื้อที่ในหน่วยความจาใน
ปริมาณที่ต่างกันขึ้นกับชนิดของข้อมูล ข้อมูล พื้นฐานในภาษาซี มี 5 ชนิด คือ อักขระ
(char) จานวนเต็ม(int) จานวนจริง(float)จานวนจริงละเอียด2เท่า
(double) ไม่ให้ค่าใด ๆ (void) นอกจากนี้เพื่อความสามารถในการใช้งานจึงมี
การเพิ่มชนิดของตัวแปรขึ้นมาดังตาราง
ตารางแสดงชนิดของตัวแปร
คาประกาศชนิดของตัวแปร เครื่องหมาย จานวนไบต์ที่ใช้ ค่าที่เป็นไปได้
char คิดเครื่องหมาย 1 -128 ถึง 128
int คิดเครื่องหมาย 2 -32768 ถึง 32767
short คิดเครื่องหมาย 2 -32768 ถึง 32767
long คิดเครื่องหมาย 4 -2147483648 ถึง 2147483647
unsigned char ไม่คิดเครื่องหมาย 1 0 ถึง 255
unsigned int ไม่คิดเครื่องหมาย 2 0 ถึง 65535
unsigned short ไม่คิดเครื่องหมาย 2 0 ถึง 65535
unsigned long ไม่คิดเครื่องหมาย 4 0 ถึง 4294967295
float คิดเครื่องหมาย 4 3.4E-38 ถึง 3.4E+38
double คิดเครื่องหมาย 8 1.7E-308 ถึง 1.7E+308
long double คิดเครื่องหมาย 10 3.4E-4932 ถึง 1.1E+4932
การตั้งชื่อตัวแปร
1. ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรเท่านั้น ตัวต่อไปจะเป็นตัวเลขหรือตัวอักษรได้ ความยาวไม่เกิน 31
ตัว
2. ชื่อตัวแปรควรสื่อความหมายของตัวแปรเพื่อป้องกันความสับสนของการพิจารณาโปรแกรม
3. ห้ามตั้งชื่อตรงกับคาสงวนในภาษาซี ซึ่งมี 33 คา ดังนี้
 asm auto break case char const continue
default do double else enum extern float for
goto
if int long register return short signedsizeof stati
c struct switch typedef union unsigned void vol
atile while
การประกาศตัวแปร
 ในการจะใช้งานตัวแปรจะต้องมีการประกาศชนิดและชื่อของตัวแปรนั้นก่อน โดย
การประกาศตัวแปรใช้รูปแบบ คือ ชนิดของตัวแปร ชื่อตัวแปร โดยถ้ามีตัว
แปรชนิดเดียวอาจประกาศพร้อมกันโดยใช้ คอมมา คั่นระหว่างชื่อของตัวแปร
ถ้ามีการกาหนดค่าให้ใช้เครื่องหมาย = และใช้เครื่องหมายแสดงการจบคาสั่งเมื่อ
สิ้นสุด คาสั่ง ตัวอย่าง เช่น
 char name, day = 'S' , surname[20]
="Kodedee";
 int x=5,y,z[100]; float a=5.00,b,c; double
k=1.234567, m ;
ตัวดาเนินการ(operator)
 ตัวดาเนินการมีหลายประเภทลักษณะการดาเนินการแตกต่างกันไป ในที่นี้จะกล่าวถึงบาง
ประเภทเท่านั้น
ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ (mathematical operators)
สัญลักษณ์ การดาเนินการ ตัวอย่าง
+ การบวก 2+5 ผลลัพธ์ 7
- การลบ 7-4 ผลลัพธ์ 3
* การคูณ 2*6 ผลลัพธ์ 12
/ การหาร 8/2 ผลลัพธ์ 4
% การหารหาเศษ 9%4 ผลลัพธ์ 1
ตัวดาเนินการความสัมพันธ์หรือการ
เปรียบเทียบ (relational operators)
สัญลักษณ์ การดาเนินการ ตัวอย่าง
< น้อยกว่า 2<3 ผลลัพธ์ จริง(1)
> มากกว่า 2>3 ผลลัพธ์ เท็จ(false)(0)
<= น้อยกว่าหรือเท่ากับ 2<= 3 ผลลัพธ์ จริง(true)
>= มากกว่าหรือเท่ากับ 2>= 3 ผลลัพธ์ เท็จ(false)
== เท่ากับ 4==4 ผลลัพธ์ จริง(true)
!= ไม่เท่ากับ 2!= 2 ผลลัพธ์ เท็จ(false)
ตัวดาเนินการตรรกะ (logical
operators)
สัญลักษณ์ การดาเนินการ ตัวอย่าง
&& และ(AND) (2<3)&&(3>1) ผลลัพธ์ จริง
|| หรือ(OR) (2>3)||(4<1) ผลลัพธ์ เท็จ
(false)
! ไม่(NOT) !(2> 3) ผลลัพธ์ จริง(true)
ตัวดาเนินการกาหนดค่า
(assignment operators)
สัญลักษณ์ การดาเนินการ ตัวอย่าง
= กาหนดค่า(assignmen
t)
a=2 ความหมายคือ กาหนดให้a มีค่าเป็น2
+= การบวก(addition) a+=b ความหมายคือ(a=a+b)
*= การคูณ
(multiplication)
a*=b ความหมายคือ(a=a*b)
-= การลบ(subtraction) a-=b ความหมายคือ(a=a-b)
/= การหาร(division) a/=b ความหมายคือ(a=a/b)
%= การหารหาเศษ
(remainder)
a%=b ความหมายคือ(a=a%b)
++ เพิ่มค่า(increment) a++ หรือ ++a ความหมายคือa=a+1
-- ลดค่า(decrement) a-- หรือ --a ความหมายคือ a=a-1
ลาดับการดาเนินการของตัวดาเนินการ
(operator precedence)
ลาดับที่ ตัวดาเนินการ ลักษณะการทางาน
1 ( ) [ ] . -> ซ้าย ไป ขวา
2 - ~ | * & ขวา ไป ซ้าย
3 ++ -- ขวา ไป ซ้าย
4 * / % ซ้าย ไป ขวา
5 + - ซ้าย ไป ขวา
6 << >> ซ้าย ไป ขวา
7 < > <= >= ซ้าย ไป ขวา
8 == != ซ้าย ไป ขวา
9 &(bitwise AND) ซ้าย ไป ขวา
10 ^(bitwise XOR) ซ้าย ไป ขวา
11 |(bitwise OR) ซ้าย ไป ขวา
12 && ซ้าย ไป ขวา
13 || ซ้าย ไป ขวา
14 ?: ซ้าย ไป ขวา
15 = += -= /= %= ขวา ไป ซ้าย
16 <<= >>= ขวา ไป ซ้าย
 โดยตัวดาเนินการที่มีลาดับน้อยกว่าจะดาเนินก่อนตัวดาเนินการที่มีลาดับสูงกว่า
เช่น X = 2 + 5 * 3 จะมีลาดับการดาเนินการ คือ
ลาดับที่ 1 5 * 3 (เพราะ * มีลาดับเป็น 4 ส่วน + อยู่ลาดับ 5)
ลาดับที่ 2 2 + 15
ลาดับที่ 3 17 เป็นค่าของ X
นิพจน์ (expression)
 เกิดจากการนา ค่าคงที่ หรือ ตัวแปร และตัวดาเนินการมาประกอบกัน โดย
นิพจน์มีหลายชนิด เช่นนิพจน์ทางคณิตศาสตร์ นิพจน์ทางตรรกะ นิพจน์
ทางการเปรียบเทียบ นิพจน์เกี่ยวกับเงือนไข นิพจน์เกี่ยวกับข้อความ เช่น
 2 + x * 5 เป็นตัวอย่างของนิพจน์ทาง
คณิตศาสตร์ (2>3)&&(5>=4) เป็นนิพจน์ทางตรรกะและการ
เปรียบเทียบ!(a) เป็นนิพจน์ทางตรรกะ if(x==y) เป็นนิพจน์เงื่อนไข
ตัวอย่าง การหาผลลัพธ์ของนิพจน์
 กาหนด int a = 10 , b = 12, c =3; จงหาผลลัพธ์ของ 2
* a + b % c ดาเนินการดังนี้ (2 * a) + (b %c) ผลลัพธ์
คือ 20 + 0 คือ 20
 จากข้อกาหนดด้านบน จงหาผลลัพธ์ ของ (a>b)&&(c<=b) ซึ่งเรา
อาจพิจารณา ดังนี้
 (เท็จ)&& (จริง) ดังนั้น ผลลัพธ์ คือ เท็จ
 จากความรู้ที่เรียนมาในใบความรู้ที่ 1 และ 2 ควรจะเขียนโปรแกรมเป็นภาษาซีได้
บ้างแล้ว
 ตัวอย่าง กาหนดให้ x y z เป็นจานวนเต็ม จงเขียนโปรแกรม หา ค่า ของ z ที่มี
ความสัมพันธ์กับ x y เป็นสมการทางคณิตศาสตร์ ดังนี้ z = 5x +
10y โดย x มีค่าเป็น 6 ส่วน y มีค่า 7 และแสดงผลลัพธ์ทางจอภาพ
โปรแกรม อาจเป็นทานองนี้
/* program name 2_1_1.c */
#include <stdio.h>
int x = 6,y=7,z;
main()
{
z = (5 * x) +( 10 * y);
printf("value of x = %d t value of y = %d t
value of z = %d",x,y,z);
}
 หรือ
/* program name 2_1_1.c */
#include <stdio.h>
int x = 6,y=7,z;
main()
{
printf("value of x = %d t value of y = %d t
value of z = %d",x,y,5*x+10*y);
}
อ้างอิง
 http://kornkanokteerawat.blogspot.com/p
/blog-page_7013.html

More Related Content

What's hot

เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3KEk YourJust'one
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.Mink Kamolwan
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา JavaItslvle Parin
 
โปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซีโปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซีfinverok
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถามkruthanyaporn
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรKomkai Pawuttanon
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่  5ใบความรู้ที่  5
ใบความรู้ที่ 5SubLt Masu
 
งานนำเสนอ1
 งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ing Gnii
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามkruthanyaporn
 
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนkanjana2536
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีboky_peaw
 
Structure Statement VB.NET 2005
Structure Statement VB.NET 2005Structure Statement VB.NET 2005
Structure Statement VB.NET 2005Warawut
 

What's hot (20)

เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
 
เลขฐานสิบหก (Hexadecimal)
เลขฐานสิบหก (Hexadecimal)เลขฐานสิบหก (Hexadecimal)
เลขฐานสิบหก (Hexadecimal)
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
โปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซีโปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซี
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถาม
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่  5ใบความรู้ที่  5
ใบความรู้ที่ 5
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
งานนำเสนอ1
 งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
 
C slide
C slideC slide
C slide
 
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
 
Number
NumberNumber
Number
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซี
 
Structure Statement VB.NET 2005
Structure Statement VB.NET 2005Structure Statement VB.NET 2005
Structure Statement VB.NET 2005
 
Intro c
Intro cIntro c
Intro c
 

Viewers also liked

Demo 3 guidelines for qa training final
Demo 3 guidelines for qa training finalDemo 3 guidelines for qa training final
Demo 3 guidelines for qa training finalGurpreet Singh
 
Spionerende apps - C'T magazine
Spionerende apps - C'T magazineSpionerende apps - C'T magazine
Spionerende apps - C'T magazineSanne F-Secure
 
Literature Review_final draft
Literature Review_final draftLiterature Review_final draft
Literature Review_final draftSherri Wielgos
 
Horizon 2020 2016_2017 call map for ZHAW ICBT collaboration opportunities
Horizon 2020 2016_2017 call map for ZHAW ICBT collaboration opportunitiesHorizon 2020 2016_2017 call map for ZHAW ICBT collaboration opportunities
Horizon 2020 2016_2017 call map for ZHAW ICBT collaboration opportunitiesAgnes Zoller
 
Danske kreds 0115WEB
Danske kreds 0115WEBDanske kreds 0115WEB
Danske kreds 0115WEBRasmus Hach
 
Presentation 13
Presentation 13Presentation 13
Presentation 13lacemoney
 
Changes To Music Videos
Changes To Music VideosChanges To Music Videos
Changes To Music Videosmcilroyeden
 
Approval Of Mr.Haseebuddin FGPSP-SA-AYC-T-0975
Approval Of Mr.Haseebuddin FGPSP-SA-AYC-T-0975Approval Of Mr.Haseebuddin FGPSP-SA-AYC-T-0975
Approval Of Mr.Haseebuddin FGPSP-SA-AYC-T-0975haseeb uddin
 
C. L. Brewer Ascend resume
C. L. Brewer Ascend resumeC. L. Brewer Ascend resume
C. L. Brewer Ascend resumeCandice Ballard
 

Viewers also liked (14)

Demo 3 guidelines for qa training final
Demo 3 guidelines for qa training finalDemo 3 guidelines for qa training final
Demo 3 guidelines for qa training final
 
Mask Clean
Mask CleanMask Clean
Mask Clean
 
Spionerende apps - C'T magazine
Spionerende apps - C'T magazineSpionerende apps - C'T magazine
Spionerende apps - C'T magazine
 
Literature Review_final draft
Literature Review_final draftLiterature Review_final draft
Literature Review_final draft
 
Untitled Presentation
Untitled PresentationUntitled Presentation
Untitled Presentation
 
Reflejos sikurianos
Reflejos sikurianosReflejos sikurianos
Reflejos sikurianos
 
PPT_HR
PPT_HRPPT_HR
PPT_HR
 
Horizon 2020 2016_2017 call map for ZHAW ICBT collaboration opportunities
Horizon 2020 2016_2017 call map for ZHAW ICBT collaboration opportunitiesHorizon 2020 2016_2017 call map for ZHAW ICBT collaboration opportunities
Horizon 2020 2016_2017 call map for ZHAW ICBT collaboration opportunities
 
Danske kreds 0115WEB
Danske kreds 0115WEBDanske kreds 0115WEB
Danske kreds 0115WEB
 
Presentation 13
Presentation 13Presentation 13
Presentation 13
 
Changes To Music Videos
Changes To Music VideosChanges To Music Videos
Changes To Music Videos
 
Zero based budgeting
Zero based budgetingZero based budgeting
Zero based budgeting
 
Approval Of Mr.Haseebuddin FGPSP-SA-AYC-T-0975
Approval Of Mr.Haseebuddin FGPSP-SA-AYC-T-0975Approval Of Mr.Haseebuddin FGPSP-SA-AYC-T-0975
Approval Of Mr.Haseebuddin FGPSP-SA-AYC-T-0975
 
C. L. Brewer Ascend resume
C. L. Brewer Ascend resumeC. L. Brewer Ascend resume
C. L. Brewer Ascend resume
 

Similar to ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่

การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
งานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
งานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกงานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
งานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกItslvle Parin
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา JavaItslvle Parin
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ Areeya Onnom
 
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอนเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอนNuchy Suchanuch
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนามkrookay2012
 
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelการใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelพัน พัน
 
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkanjana2536
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูลตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูลKornnicha Wonglai
 
2.3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
2.3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ2.3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
2.3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการAppleHong1
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระAreeya Onnom
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระAreeya Onnom
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTAreeya Onnom
 

Similar to ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่ (20)

การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
งานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
งานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกงานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
งานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
Work
WorkWork
Work
 
12
1212
12
 
Limit
LimitLimit
Limit
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอนเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelการใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
 
งาน
งานงาน
งาน
 
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ภาษาซึี
ภาษาซึีภาษาซึี
ภาษาซึี
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูลตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
 
2.3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
2.3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ2.3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
2.3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
 

ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่