SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
บทที่ 3
                                  ยุคกลาง ( คริสตวรรษที่ 5 - 15)

        ประวัติศาสตรยุคกลางมักถูกเรียกวา "ยุคมืด" เนื่องจากอารยธรรมของโรมที่คอยหลอเลี้ยง
โลกยุโรปไดถูกทําลายลงพรอมกับจักรวรรดิโรมมันตะวันตกจากการรุกรานของกลุมอนารยชนเผา
ตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ง อนารยชนเผาเยอรมัน ขณะเดียวกันยุโรปในชวงเวลานั้นยังตกอยูภายใต
การครอบงําทางความคิด ความเชื่อจากศาสนาอยางเดนชัด อยางไรก็ตาม เมื่อมองในมุมกลับ ยุค
กลางก็อาจเปนยุคหนึ่งซึ่งเปนโซเปราะที่เชื่อมโยงโลกสมัยใหมเขากับโลกโบราณดวยเชนกัน
        ดังนั้นในบทนี้จะพิจารณาถึงพัฒนาการทางประวัติศาสตร คริสตศาสนา ระบบการเมือง
การปกครอง สภาพสังคม ซึ่งกอใหเกิดภาพของยุคกลาง และความเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ชวงปลาย
ยุคกลางที่เปนแรงขับเคลื่อนใหเกิดยุคสมัยใหมขึ้นในยุโรป

           1. พัฒนาการทางประวัติศาสตร
           อาจกลาวไดวาพัฒนาการทางประวัติศาสตรของยุคกลางเริ่มตนตั้งแตเกิดการรุกรานของอ
นารยชนเยอรมัน 3 กลุม คือ วิสิกอธ ออสโตกอธ และแฟรงค
           อนารยชนเยอรมัน เผ าวิ สิ ก อธ หรื อ เรี ย กอีก อยา งหนึ่งว า กอธตะวั น ตก ได เ ริ่มรุ ก ราน
จักรวรรดิโรมันตะวันตกนับตั้งแตชวงศตวรรษที่ 4 - 5 จนกระทั่งสามารถยึดครองโรมันตะวันตกได
ในป ค.ศ. 476 การรุกรานของอนารยชนกลุมนี้ไดกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงขึ้นในกรุงโรมอยาง
เดนชัด ผูนําของวิสิกอธ คือ โอโดเซอรไดปลดจักรพรรดิโรมันตะวันตกออกจากตําแหนงและตั้ง
ตัวเปนผูปกครองโรม ขณะเดียวกันยังสงเครื่องราชกกุธภันฑของจักรพรรดิโรมันตะวันตกสงคืน
ใหกับจักรพรรดิโรมันตะวันออก ซึ่งถือเปนสัญลักษณวาไดประกาศใหกรุงโรมเปนอิสระจาก
อํานาจของโรมันตะวันออกอยางแทจริง
           ตอมากลับมีอนารยชนเยอรมันเผาออสโตรกอธหรือกอธตะวันออก สามารถขยายอํานาจ
เขาครอบครองโรม โดยผูนําของออสโตรกอธ คือ ธีโอโดริคไดปลดโอโดเซอรออกจากตําแหนง
จักรพรรดิ และเริ่มขยายอํานาจออกไปครอบงําทั้งตอนกลางและตอนใตของอิตาลี
           อยางไรก็ตาม ในป ค.ศ. 552 จัสติเนียน(หรือบางแหงเรียกจุสติเนียน) จักรพรรดิของโรมัน
ตะวันออกไดยกกองทัพเขาปราบปรามและสามารถยึดโรมกลับคืนไปอยูภาพใตอาณัติอีกครั้ง แต
ทายสุดโรมันตะวันตกก็ถูกอนารยชนเผาแฟรงคเขารุกราน และกลายเปนจุดเปลี่ยนใหยุโรปเริ่มกาว
เขาสูยุคกลางอยางแทจริง
           แมวากลุมอนารยชนแฟรงคจะสามารถขจัดอํานาจของจั กรพรรดิโรมันตะวันออกจาก
แหลมอิตาลี แตกระนั้นก็มิไดครอบครองแหลมอิตาลี แตกลับยอมรับศาสนาคริสต (จะกลาวถึง
อิทธิพลของคริสตศาสนาขางหนา) พรอมกับยกดินแดนอิตาลีใหกับพระสันตะปาปา (Pope)
ปกครองแทน ซึ่งนับเปนครั้งแรกที่ปรากฏรัฐของพระสันตะปาปาในโลกยุโรป สวนกลุมแฟรงค
ไดเขาไปตั้งถิ่นฐานยังมณฑลกอธ (ประเทศฝรั่งเศส) ตั้งราชวงศเมโรวินเจียน ขึ้นปกครองมณฑล
กอธและเริ่มขยายอํานาจในดินแดนกอธ โดยมีพระสันตะปาปาใหการสนับสนุนเปนการตอบแทน
จนกระทั่งในชวงปลายราชวงศไดเกิดการแยงชิงอํานาจของขุนนางกรมวังกับกษัตริยราชวงศเมโร
วินเจียน เปปน(Pepin) หลานของขุนนางกรมวังไดรับเลือกจากกลุมขุนนางใหขึ้นดํารงตําแหนง
กษัตริยและตั้งราชวงศคาโรรินเจียนขึ้นปกครองแทน
         อยางไรก็ตาม แมวาเปปนจะสามารถแยงชิงอํานาจจากราชวงศเมโรวินเจียน แตกระนั้น
ราชวงศกอนหนาก็มีสิทธิธรรมในการปกครองอยางมาก เนื่องจากมีพระสันตะปาปาใหการรับรอง
ความชอบธรรม ดังนั้นเปปนจึงตองสรางความชอบธรรมในการปกครองของตนรวมถึงราชวงศให
เหนือกวาราชวงศเมโรวินเจียนอยางไมสามารถหลีกเลี่ยงได ซึ่งเปปนไดอาศัยวิธีการเชื่อมโยงกับ
สถาบันคริสตศาสนา โดยไดขับไล อนารยชนลอมบารดที่เขามารุกรานรัฐของพระสันตะปาปา
ออกไปจากแหลมอิตาลี แลกเปลี่ยนกับการใหพระสันตะปาปาสรางความชอบธรรมใหกับราชวงศ
ของตน ซึ่งหลังจากขับไลอนารยชนลอมบารดแลว พระสันตะปาจึงทําการเจิมน้ํามนตศักดิ์สิทธิ์
ใหกับเปปนและพระโอรส ซึ่งมีนัยแสดงใหเห็นวาราชวงศคาโรรินเจียนเปนผูปกครองที่พระผูเปน
เจาเลือกโดยผานสันตะปาปา และการเจิมน้ํามนตศักดิ์สิทธิ์ไดกลายเปนสัญลักษณที่ผูปกครองตอง
กระทํากอนปราบดาภิเษกเปนกษัตริยอยางสมบูรณสืบตอมาในยุคกลาง ขณะเดียวกันยังชวยเพิ่ม
อํานาจทางโลกใหกับพระสันตะปาปาควบคูไปพรอมกัน
         ราชวงศคาโรรินเจียนไดขยายอํานาจออกไปครอบงําทวีปยุโรปอยางกวางขวางในสมัย
ของจัรพรรดิชาญเลอมาล ญ ในสมัยจักรพรรดิพระองคนี้ราชวงศคาโรรินเจีย นสามารถผนวก
ดิ น แดนทั้ ง หมดของยุ โ รป (ยกเว น สเปนที่ อ ยู ภ ายใต อํ า นาจของพวกมั ว ร แ ละโรมของพระ
สันตะปาปา) เขาไวในจักรวรรดิ จนกระทั่งพระองคสิ้นพระชนมดินแดนของพระองคจึงถูก
แบงแยกออกเปน 3 สวน ปกครองโดยพระราชนัดดา 3 พระองค ภายใตสนธิสัญญาแวงดัง คือ
                  โลแธร ปกครองอิตาลีจนถึงลุมแมน้ําไรน
                  ชาลญ ปกครองดินแดนฝรั่งเศส
                  หลุยส ปกครองดินแดนเยอรมัน
         กระทั่งราวศตวรรษที่ 10 ไดเกิดความเปลี่ยนแปลงในยุโรปอีกครั้ง เนื่องจากสาเหตุ 2
ประการ คือ การเสื่อมอํานาจของราชวงศคาโรรินเจียน ซึ่งกอใหเกิดการแยงชิงความเปนใหญของ
ขุ น นางในดิ น แดนต า ง ๆ จนกระทั่ ง ปราบดาภิ เ ษกเป น กษั ต ริ ย แ ทนราชวงศ ค าโรลิ น เจี ย นได
ประกอบกับอีกดานหนึ่งดินแดนยุโรปเริ่มถูก อนารยชนนอรสแมน (ไวกิ้ง) รุกรานและสามารถยึด
ครองดินแดนอังกฤษได ดินแดนในยุโรปเริ่มแตกแยกออกเปนหลายสวนภายใตกษัตริยของตน
ไดแก ฝรั่งเศส อังกฤษ สเปน และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ แตกษัตริยใหมก็ไมสามารถปกปอง
ดิ น แดนของตนจากการรุ ก รานของอนารยชนกลุ ม ใหม ดั ง นั้ น กษั ต ริ ย จึ ง ถ า ยโอนอํ า นาจการ
ปกครองและการดูแลประชาชนใหกับกลุมขุนนาง ซึ่งไดกลายเปนรากฐานการปกครองแบบศักดิ
นาสวามิภักดิ์ในดินแดนตาง ๆ ของยุโรปในเวลาตอมา (จะกลาวถึงขางหนา)

         2. คริสตศาสนา
         ศาสนาคริสตเปนศาสนาหนึ่งของยุโรปที่มีการเผยแผเขาสูยุโรปนับตั้งแตสมัยโรมัน (ราว
ศตวรรษที่ 2) แตในระยะแรกศาสนาคริสตยังไมไดการยอมรับจากจักรพรรดิโรมมากนัก เนื่องจาก
หลักคําสอนของศาสนาเนนใหผูนับถือเคารพตอพระเจาองคเดียวเทานั้น การกราบไหวจักรพรรดิ
รวมถึงเทพเจาของโรมถูกปฏิเสธในกลุมของนักบวช ดังนั้นจึงถูกจักรพรรดิโรมันปราบปรามอยาง
รุนแรง แตทายสุดก็ไดรับการยอมรับจากจักรพรรดิโรมันและทรงประกาศใหศาสนาคริสตเปน
ศาสนาประจําจักรวรรดิ และกลายเปนที่พึ่งพิงทางจิตใจของชาวยุโรปนับตั้งแตจักรวรรดิโรมัน
ตะวั น ตกลมสลาย ทั้ งสามารถครองงํ าความคิ ด ความเชื่อและแนวทางการปฏิบัติ ของคนยุ โรป
ยาวนานนับ 1,000 ป
         ภายใตศาสนาคริสต สันตะปาปาถือเปนผูมีอํานาจสูงสุดทางธรรม และในราวศตวรรษที่
12 - 13 ก็สามารถมีอํานาจครอบงําทางโลกหรือรัฐไดอยางแทจริง จนชวงเวลาดังกลาวถูกขนาน
นามวาเปน "ยุคแหงศรัทธา
         ความมี อํ า นาจของสั น ตะปาปาเกิ ด ขึ้ น โดยอาศั ย ป จ จั ย สํ า คั ญ เป น รากฐานอย า งน อ ย 2
ประการ กลาวคือ ประการแรก พระสันตะปาปาอาศัยทฤษฎี เพทริริน ของพระสันตะปาปาเลโอที่
1 เปนฐานในการครอบงําและอางอํานาจของสถาบันเหนือรัฐและกษัตริย ตามทฤษฎีนี้ไดอธิบายวา
อํานาจทั้งหมดเปนของพระเจา ซึ่งพระองคไดมอบอํานาจทั้งหมดของพระองคใหแกวัด และวัดได
มอบอํานาจบางสวนใหแกรัฐในการปกครองทางโลก ดังนั้นวัด (รวมถึงพระสันตะปาปา) จึง
สามารถยึดอํานาจคืนจากรัฐหรือกษัตริยได ตามนัยดังกลาวไดสรางอํานาจในการควบคุมกษัตริย
ใหแกพระสันตะปาปาอยางมาก เห็นไดชัดจากการที่พระสันตะปาปาสามารถเขาไปแทรกแซงการ
เลือกจักรพรรดิในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนนํามาสูสภาวะไรจักรพรรดิขึ้น
         ประการที่สอง คือ การอางอํานาจในการบัพพาชนียกรรม ตามความเชื่อของคนในยุค
กลาง จุดสูงสุดในชีวิตคือการไดรับการตัดสินครั้งสุดทายจากพระผูเปนเจา ซึ่งจะทําใหพวกเขา (ถา
ทํ า ความดี )สามารถเข า สู โ ลกหน า ไปรวมเป น ส ว นหนึ่ ง กั บ พระผู เ ป น เจ า ชี วิ ต ในโลกนี้ ไ ม มี
ความหมายใด ๆ นอกจากเรงสะสมความดี (บุญ) แตการที่จะเขาสูโลกหนาไดนั้นจําเปนตองมี
เงื่อนไขสําคัญ คือ การเขารีตเปนชาวคริสต เทานั้น การถูกตัดออกจากศาสนาจึงเปนการลงโทษที่
รุนแรงในสายตาของผูนับถือศาสนาคริสต ดังนั้นพระสันตะปาปาจึงอาศัยความเชื่อดังกลาวเปน
รากฐานในการสรางอํานาจเหนือกษัตริย หรือใหกษัตริยตองยอมรับอํานาจพระสันตะปาปาอยาง
แทจริง ยกตัวอยางเชน ความขัดแยงระหวางพระเจาเฮนรี่ที่ 4 ของเยอรมันกับพระสันตะปาปาเก
รเกอรี่ที่ 7 ที่พระสันตะปาปาพยายามเขาไปแทรกแซงการแตงตั้งบิชอฟ โดยออกประกาศหามมิให
ฆราวาสแตงตั้งบิชอฟ ซึ่งจากเดิมเคยอยูภายใตการดูแลของกษัตริย จนทําใหพระเจาเฮนรี่ที่ 4 ไม
พอพระทัยและประกาศปลดพระสันตะปาปาออกจากตําแหนง พระสันตะปาปาจึงตอบโตดวยการ
บัพพาชนียกรรมพระเจาเฮนรี่ที่ 4 ขุนนางและชาวเยอรมันออกจากศาสนา และทําใหเกิดการลุกฮือ
ของขุนนาง ประชาชนขับไลพระเจาเฮนรี่ที่ 4 ออกจากการเปนกษัตริย ทายสุดพระเจาเฮนรี่ที่ 4 จึง
ตองยอมเดินทางไปขอใหพระสันตะปาปาเกรเกอรี่ที่ 7 ประทานอภัยโทษ โดยตองคุกเขาอยู
ทามกลางหิมะที่กําลังตกหนักถึง 3 วัน จึงไดรับการอภัยโทษ เปนตน
           อยางไรก็ตาม แมวาในชวงศตวรรษที่ 12 - 13 พระสันตะปาปาจะมีอํานาจสูงสุดทั้งทาง
โลกและทางธรรม แตในชวงปลายยุคกลางก็เกิดความเปลี่ยนแปลงที่สําคัญขึ้น จนเปนเหตุให
สถาบันสันตะปาปาและความเชื่อทางศาสนาเสื่อมอํานาจลงในทายสุด (จะกลาวในสวนตอไป)

         3. ระบบการปกครองแบบศักดินาสวามิภักดิ์
         ระบบการปกครองแบบศักดินาสวามิภักดิ์หรือการปกครองระบบฟวดัล ถือเปนรูปแบบ
การปกครองที่สําคัญยิ่งในชวงยุคกลาง ระบบการปกครองนี้เปนการปกครองโดยเนนการกระจาย
อํานาจในการควบคุมที่ดิน โดยมีหลักใหญใจความสําคัญคือ กษัตริย (Overlord / Lord) ไดมอบ
อํานาจในการดูแลที่ดินในเขตพระราชอํานาจใหแกขุนนาง (Vassal) ไปดูแลและใชประโยชน โดย
บนที่ดินนั้นจะมีไพรทาส(Serf) ติดที่ดินเปนกําลังแรงงานในการผลิต ในเชิงทฤษฏีกษัตริยจะมี
หนาที่ดูแลปกปองที่ดินของขุนนาง มิใหขุนนางหรือคนกลุมอื่นมาแยงชิงได สวนขุนนางจะมี
หนาที่ จงรักภักดี สงภาษีอากร ใหกับกษัตริย และตองเกณฑแรงงานไพรทาสติดที่ดินใหแกกษัตริย
ในยามศึกสงครามสงคราม แตในทางปฏิบัติกษัตริยแทบจะไมสามารถมีอํานาจเหนือขุนนางไดมาก
นัก จึงตองอาศัยการรอบชอมเมื่อเกิดความขัดแยงอยูเสมอ ๆ ขณะเดียวกันก็ไมสามารถยึดที่ดินที่
พระราชทานใหคืนสูพระองค ในยามที่ขุนนางเริ่มเสื่อมความภักดีไดอยางแทจริง อํานาจในการ
ดูแลที่ดินและกําลังคน จึงเปนของขุนนางแทบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด
         ในสวนลางของระบบฟวดัลนั้น เรียกกันวาระบบแมเนอร (Maner) โดยจะมีคฤหาสนของ
ขุนนางอยูตรงกลาง แวดลอมดวยที่ดินทํากินและหมูบานที่อยูภายใตสังกัดของขุนนางนั้น ๆ ซึ่ง
โดยทั่วไปแลว แตละแมเนอรจะประกอบไปดวยหมูบาน 4 - 5 หมูบานขึ้นไป ชาวบานในหมูบาน
จะเป น แรงงานติ ด ที่ ดิ น ซึ่ ง ต อ งทํ า งานรั บ ใช ขุ น นาง ทํ า การผลิ ต บนพื้ น ที่ ข องขุ น นางและเสี ย
สวนเกินทางการผลิตใหแกขุนนาง นับตั้งแตเกิดจนตาย สวนขุนนางนั้นจะเปนผูใหความคุมครอง
ตัดสินคดีความและจัดแบงพื้นที่การผลิตใหแกไพรทาสติดที่ดิน
4. ชุมชุนเมือง
         ชุมชนเมืองถือเปนอีกพื้นที่หนึ่งที่แยกเปนอิสระจากระบบแมเนอรและมีความแตกตาง
จากแมเนอรอยางมาก กลาวคือ ในชุมชนเมืองนั้นจะมีผูดูแลเปนของตนเอง โดยเปนการเลือกจาก
สมาชิกในเมืองนั้น ๆ ประชาชนทุกคนที่อาศัยอยูในเมืองเปนเสรีชน และสวนใหญเปนพอคา
ชางฝมือ ซึ่งมีอิสระในการดําเนินชีวิต เศรษฐกิจในชุมชนเมืองนั้นเปนเศรษฐกิจแบบเงินตรา (แม
จะไมกวางขวางนัก) ขณะที่ในแมเนอรเนนเศรษฐกิจแบบยังชีพเปนสําคัญ พรอม ๆ กันนั้นเอง
ชุมชนเมืองยังมีกฎที่ใหสิทธิพิเศษสําหรับคนที่เขามาอยูอาศัยใหมสามารถกลายเปนเสรีชนได ถา
อาศัยอยูในเมืองตามระยะเวลาที่กําหนด (ประมาณ 1 ป 1 วัน) แมจะเปนไพรทาสติดที่ดินที่หลบหนี
มาจากแมเนอรก็ตาม และกฎเกณฑดังกลาวจะกลายเปนเงื่อนไขสําคัญที่กอใหเกิดความเสื่อมขึ้น
ในระบบแมเนอรอยางเปนรูปธรรม

สรุปยุคกลาง
         อาจกล า วได ว า โลกในยุ ค กลางนั้ น เป น ยุ ค ที่ อ ยู ภ ายใต ก ลางครองงํ า ของคริ ส ตศาสนา
ประชาชนเบื้องลางดํารงชีวิตอยูดวยความเชื่อและศรัทธาตอศาสนา การกระทําในปจจุบันมิได
มุงหวังเพื่อผลประโยชนในโลกนี้ หากแตเปนการเรงทําบุญ ทําตามคําสั่งสอนของศาสนาเพื่อ
บรรลุวัตถุประสงคในโลกหนา แมแตตัวกษัตริยหรือผูปกครองก็จําเปนตองพึ่งพาคริสตศาสนาใน
การสรางความชอบธรรมทางการเมือง เห็นไดชัดจากการอาศัยทฤษฎีเทวสิทธิ์ของศาสนาเปน
เครื่องมือในการอธิบายพระราชอํานาจของกษัตริยซึ่งเปนผูปกครองที่ไดรับเลือกมาจากพระผูเปน
เจา ผานการเจิมน้ํามนตศักดิ์สิทธิ์โดยมีสันตะปาปาเปนตัวกลางในการเชื่อมโยงนั้น ซึ่งดานหนึ่งทํา
ใหการปกครองของกษัตริยมีความมั่นคงยิ่งขึ้น แตอีกดานหนึ่งก็ทําใหพระสันตะปาปามีอํานาจ
เหนือกษัตริยไดในระดับหนึ่ง
         พรอม ๆ กันนั้นเอง โครงสรางรูปแบบการเมืองการปกครองยังดําเนินไปบนฐานของการ
กระจายอํานาจตามระบบฟวดัล คือ กษัตริยทรงมอบที่ดินใหกับขุนนางเปนผูดูแล และในที่ดินนั้น
ยังประกอบไปดวยชาวนาและทาสติดที่ดินเปนกําลังสําคัญในการผลิต สวนการปกครองในระดับ
เล็กดํารงอยูในลักษณะของระบบแมเนอร ซึ่งมีขุนนางเปนผูควบคุมดูแล แตละแมเนอรมีการผลิต
แบบพอยังชีพ ซึ่งอาจมีการแลกเปลี่ยนสิ่งของเล็ก ๆ นอยๆที่ไมสามารถผลิตขึ้นใชเองได เชน เกลือ
เปนตน ชาวนาและทาสติดที่ดินในแมเนอรทํางานหนัก คิดและเชื่อในสิ่งที่ศาสนาสอน ซึ่งทําให
สังคมในยุคกลางนั้นเปลี่ยนแปลงชามาก
         อยางไรก็ตาม ในสังคมยุคกลางยังปรากฎใหเห็นภาพของชุมชนเมืองซึ่งอยูนอกระบบแม
เนอร เมืองแตละแหงจะมีผูปกครองที่คนในเมืองเลือกเปนตัวแทนในการดูแล ประชาชนในเมือง
เปนเสรีชน ประกอบเศรษฐกิจแบบการคา และมีกฎระเบียบในการใหสิทธิความเปนเสรีชนแกคน
ที่เขามาอาศัยตามระยะเวลาที่เมืองกําหนด กฎระเบียบนี้เองจํากลายเปนหนึ่งในตัวกลางสําคัญที่
คอยบั่นทอนการปกครองในระบบแมเนอรในทายสุด ดังจะกลาวในสวนตอไป

More Related Content

What's hot

4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลางJitjaree Lertwilaiwittaya
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Chantana Papattha
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1Natthaphong Messi
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกSompak3111
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2namfon17
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1fsarawanee
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนพัน พัน
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยทศวรรษ โตเสือ
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 

What's hot (20)

4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 

Similar to ยุคกลาง

4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจJitjaree Lertwilaiwittaya
 
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSomO777
 
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลางประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลางPremo Int
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางJuno Nuttatida
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง gain_ant
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลางอิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลางOmm Suwannavisut
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลางเหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลางgain_ant
 
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากลเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากลSom Kamonwan
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันNing Rommanee
 
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือPann Boonthong
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง Sherry Srwchrp
 

Similar to ยุคกลาง (20)

4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
 
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลางประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลางอิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
 
เฉลยใบงาน 6.3
เฉลยใบงาน 6.3เฉลยใบงาน 6.3
เฉลยใบงาน 6.3
 
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลางเหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
 
ยุคกลาง
ยุคกลางยุคกลาง
ยุคกลาง
 
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากลเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
 
Crma present1
Crma present1Crma present1
Crma present1
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
Korea
KoreaKorea
Korea
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 

More from ครูต๋อง ฉึก ฉึก

นำเสนอการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชั้นเรียน
นำเสนอการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชั้นเรียนนำเสนอการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชั้นเรียน
นำเสนอการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชั้นเรียนครูต๋อง ฉึก ฉึก
 
กราฟผลการเรียนวิชาประวติศาสตร์
กราฟผลการเรียนวิชาประวติศาสตร์กราฟผลการเรียนวิชาประวติศาสตร์
กราฟผลการเรียนวิชาประวติศาสตร์ครูต๋อง ฉึก ฉึก
 

More from ครูต๋อง ฉึก ฉึก (20)

นำเสนอการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชั้นเรียน
นำเสนอการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชั้นเรียนนำเสนอการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชั้นเรียน
นำเสนอการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชั้นเรียน
 
กราฟผลการเรียนวิชาประวติศาสตร์
กราฟผลการเรียนวิชาประวติศาสตร์กราฟผลการเรียนวิชาประวติศาสตร์
กราฟผลการเรียนวิชาประวติศาสตร์
 
คำอธิบายรายวิชา ส.32101
คำอธิบายรายวิชา ส.32101คำอธิบายรายวิชา ส.32101
คำอธิบายรายวิชา ส.32101
 
คำอธิบายรายวิชา ส.31101
คำอธิบายรายวิชา ส.31101คำอธิบายรายวิชา ส.31101
คำอธิบายรายวิชา ส.31101
 
คำอธิบายรายวิชา ส.32102
คำอธิบายรายวิชา ส.32102คำอธิบายรายวิชา ส.32102
คำอธิบายรายวิชา ส.32102
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
Indus1
Indus1Indus1
Indus1
 
Greek roman
Greek romanGreek roman
Greek roman
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
Mesopotamia
MesopotamiaMesopotamia
Mesopotamia
 
กลางภาค ม.6
กลางภาค ม.6กลางภาค ม.6
กลางภาค ม.6
 
ประวัติศาสตร์ ม.5
ประวัติศาสตร์ ม.5ประวัติศาสตร์ ม.5
ประวัติศาสตร์ ม.5
 
กลางภาค ม.5
กลางภาค ม.5กลางภาค ม.5
กลางภาค ม.5
 
คำอธิบายรายวิชา ส.32101
คำอธิบายรายวิชา ส.32101คำอธิบายรายวิชา ส.32101
คำอธิบายรายวิชา ส.32101
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
ข้อสอบ O-NET สังคมศึกษา ม.6 ปี 54
ข้อสอบ O-NET สังคมศึกษา ม.6 ปี 54ข้อสอบ O-NET สังคมศึกษา ม.6 ปี 54
ข้อสอบ O-NET สังคมศึกษา ม.6 ปี 54
 

ยุคกลาง

  • 1. บทที่ 3 ยุคกลาง ( คริสตวรรษที่ 5 - 15) ประวัติศาสตรยุคกลางมักถูกเรียกวา "ยุคมืด" เนื่องจากอารยธรรมของโรมที่คอยหลอเลี้ยง โลกยุโรปไดถูกทําลายลงพรอมกับจักรวรรดิโรมมันตะวันตกจากการรุกรานของกลุมอนารยชนเผา ตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ง อนารยชนเผาเยอรมัน ขณะเดียวกันยุโรปในชวงเวลานั้นยังตกอยูภายใต การครอบงําทางความคิด ความเชื่อจากศาสนาอยางเดนชัด อยางไรก็ตาม เมื่อมองในมุมกลับ ยุค กลางก็อาจเปนยุคหนึ่งซึ่งเปนโซเปราะที่เชื่อมโยงโลกสมัยใหมเขากับโลกโบราณดวยเชนกัน ดังนั้นในบทนี้จะพิจารณาถึงพัฒนาการทางประวัติศาสตร คริสตศาสนา ระบบการเมือง การปกครอง สภาพสังคม ซึ่งกอใหเกิดภาพของยุคกลาง และความเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ชวงปลาย ยุคกลางที่เปนแรงขับเคลื่อนใหเกิดยุคสมัยใหมขึ้นในยุโรป 1. พัฒนาการทางประวัติศาสตร อาจกลาวไดวาพัฒนาการทางประวัติศาสตรของยุคกลางเริ่มตนตั้งแตเกิดการรุกรานของอ นารยชนเยอรมัน 3 กลุม คือ วิสิกอธ ออสโตกอธ และแฟรงค อนารยชนเยอรมัน เผ าวิ สิ ก อธ หรื อ เรี ย กอีก อยา งหนึ่งว า กอธตะวั น ตก ได เ ริ่มรุ ก ราน จักรวรรดิโรมันตะวันตกนับตั้งแตชวงศตวรรษที่ 4 - 5 จนกระทั่งสามารถยึดครองโรมันตะวันตกได ในป ค.ศ. 476 การรุกรานของอนารยชนกลุมนี้ไดกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงขึ้นในกรุงโรมอยาง เดนชัด ผูนําของวิสิกอธ คือ โอโดเซอรไดปลดจักรพรรดิโรมันตะวันตกออกจากตําแหนงและตั้ง ตัวเปนผูปกครองโรม ขณะเดียวกันยังสงเครื่องราชกกุธภันฑของจักรพรรดิโรมันตะวันตกสงคืน ใหกับจักรพรรดิโรมันตะวันออก ซึ่งถือเปนสัญลักษณวาไดประกาศใหกรุงโรมเปนอิสระจาก อํานาจของโรมันตะวันออกอยางแทจริง ตอมากลับมีอนารยชนเยอรมันเผาออสโตรกอธหรือกอธตะวันออก สามารถขยายอํานาจ เขาครอบครองโรม โดยผูนําของออสโตรกอธ คือ ธีโอโดริคไดปลดโอโดเซอรออกจากตําแหนง จักรพรรดิ และเริ่มขยายอํานาจออกไปครอบงําทั้งตอนกลางและตอนใตของอิตาลี อยางไรก็ตาม ในป ค.ศ. 552 จัสติเนียน(หรือบางแหงเรียกจุสติเนียน) จักรพรรดิของโรมัน ตะวันออกไดยกกองทัพเขาปราบปรามและสามารถยึดโรมกลับคืนไปอยูภาพใตอาณัติอีกครั้ง แต ทายสุดโรมันตะวันตกก็ถูกอนารยชนเผาแฟรงคเขารุกราน และกลายเปนจุดเปลี่ยนใหยุโรปเริ่มกาว เขาสูยุคกลางอยางแทจริง แมวากลุมอนารยชนแฟรงคจะสามารถขจัดอํานาจของจั กรพรรดิโรมันตะวันออกจาก แหลมอิตาลี แตกระนั้นก็มิไดครอบครองแหลมอิตาลี แตกลับยอมรับศาสนาคริสต (จะกลาวถึง
  • 2. อิทธิพลของคริสตศาสนาขางหนา) พรอมกับยกดินแดนอิตาลีใหกับพระสันตะปาปา (Pope) ปกครองแทน ซึ่งนับเปนครั้งแรกที่ปรากฏรัฐของพระสันตะปาปาในโลกยุโรป สวนกลุมแฟรงค ไดเขาไปตั้งถิ่นฐานยังมณฑลกอธ (ประเทศฝรั่งเศส) ตั้งราชวงศเมโรวินเจียน ขึ้นปกครองมณฑล กอธและเริ่มขยายอํานาจในดินแดนกอธ โดยมีพระสันตะปาปาใหการสนับสนุนเปนการตอบแทน จนกระทั่งในชวงปลายราชวงศไดเกิดการแยงชิงอํานาจของขุนนางกรมวังกับกษัตริยราชวงศเมโร วินเจียน เปปน(Pepin) หลานของขุนนางกรมวังไดรับเลือกจากกลุมขุนนางใหขึ้นดํารงตําแหนง กษัตริยและตั้งราชวงศคาโรรินเจียนขึ้นปกครองแทน อยางไรก็ตาม แมวาเปปนจะสามารถแยงชิงอํานาจจากราชวงศเมโรวินเจียน แตกระนั้น ราชวงศกอนหนาก็มีสิทธิธรรมในการปกครองอยางมาก เนื่องจากมีพระสันตะปาปาใหการรับรอง ความชอบธรรม ดังนั้นเปปนจึงตองสรางความชอบธรรมในการปกครองของตนรวมถึงราชวงศให เหนือกวาราชวงศเมโรวินเจียนอยางไมสามารถหลีกเลี่ยงได ซึ่งเปปนไดอาศัยวิธีการเชื่อมโยงกับ สถาบันคริสตศาสนา โดยไดขับไล อนารยชนลอมบารดที่เขามารุกรานรัฐของพระสันตะปาปา ออกไปจากแหลมอิตาลี แลกเปลี่ยนกับการใหพระสันตะปาปาสรางความชอบธรรมใหกับราชวงศ ของตน ซึ่งหลังจากขับไลอนารยชนลอมบารดแลว พระสันตะปาจึงทําการเจิมน้ํามนตศักดิ์สิทธิ์ ใหกับเปปนและพระโอรส ซึ่งมีนัยแสดงใหเห็นวาราชวงศคาโรรินเจียนเปนผูปกครองที่พระผูเปน เจาเลือกโดยผานสันตะปาปา และการเจิมน้ํามนตศักดิ์สิทธิ์ไดกลายเปนสัญลักษณที่ผูปกครองตอง กระทํากอนปราบดาภิเษกเปนกษัตริยอยางสมบูรณสืบตอมาในยุคกลาง ขณะเดียวกันยังชวยเพิ่ม อํานาจทางโลกใหกับพระสันตะปาปาควบคูไปพรอมกัน ราชวงศคาโรรินเจียนไดขยายอํานาจออกไปครอบงําทวีปยุโรปอยางกวางขวางในสมัย ของจัรพรรดิชาญเลอมาล ญ ในสมัยจักรพรรดิพระองคนี้ราชวงศคาโรรินเจีย นสามารถผนวก ดิ น แดนทั้ ง หมดของยุ โ รป (ยกเว น สเปนที่ อ ยู ภ ายใต อํ า นาจของพวกมั ว ร แ ละโรมของพระ สันตะปาปา) เขาไวในจักรวรรดิ จนกระทั่งพระองคสิ้นพระชนมดินแดนของพระองคจึงถูก แบงแยกออกเปน 3 สวน ปกครองโดยพระราชนัดดา 3 พระองค ภายใตสนธิสัญญาแวงดัง คือ โลแธร ปกครองอิตาลีจนถึงลุมแมน้ําไรน ชาลญ ปกครองดินแดนฝรั่งเศส หลุยส ปกครองดินแดนเยอรมัน กระทั่งราวศตวรรษที่ 10 ไดเกิดความเปลี่ยนแปลงในยุโรปอีกครั้ง เนื่องจากสาเหตุ 2 ประการ คือ การเสื่อมอํานาจของราชวงศคาโรรินเจียน ซึ่งกอใหเกิดการแยงชิงความเปนใหญของ ขุ น นางในดิ น แดนต า ง ๆ จนกระทั่ ง ปราบดาภิ เ ษกเป น กษั ต ริ ย แ ทนราชวงศ ค าโรลิ น เจี ย นได ประกอบกับอีกดานหนึ่งดินแดนยุโรปเริ่มถูก อนารยชนนอรสแมน (ไวกิ้ง) รุกรานและสามารถยึด ครองดินแดนอังกฤษได ดินแดนในยุโรปเริ่มแตกแยกออกเปนหลายสวนภายใตกษัตริยของตน ไดแก ฝรั่งเศส อังกฤษ สเปน และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ แตกษัตริยใหมก็ไมสามารถปกปอง
  • 3. ดิ น แดนของตนจากการรุ ก รานของอนารยชนกลุ ม ใหม ดั ง นั้ น กษั ต ริ ย จึ ง ถ า ยโอนอํ า นาจการ ปกครองและการดูแลประชาชนใหกับกลุมขุนนาง ซึ่งไดกลายเปนรากฐานการปกครองแบบศักดิ นาสวามิภักดิ์ในดินแดนตาง ๆ ของยุโรปในเวลาตอมา (จะกลาวถึงขางหนา) 2. คริสตศาสนา ศาสนาคริสตเปนศาสนาหนึ่งของยุโรปที่มีการเผยแผเขาสูยุโรปนับตั้งแตสมัยโรมัน (ราว ศตวรรษที่ 2) แตในระยะแรกศาสนาคริสตยังไมไดการยอมรับจากจักรพรรดิโรมมากนัก เนื่องจาก หลักคําสอนของศาสนาเนนใหผูนับถือเคารพตอพระเจาองคเดียวเทานั้น การกราบไหวจักรพรรดิ รวมถึงเทพเจาของโรมถูกปฏิเสธในกลุมของนักบวช ดังนั้นจึงถูกจักรพรรดิโรมันปราบปรามอยาง รุนแรง แตทายสุดก็ไดรับการยอมรับจากจักรพรรดิโรมันและทรงประกาศใหศาสนาคริสตเปน ศาสนาประจําจักรวรรดิ และกลายเปนที่พึ่งพิงทางจิตใจของชาวยุโรปนับตั้งแตจักรวรรดิโรมัน ตะวั น ตกลมสลาย ทั้ งสามารถครองงํ าความคิ ด ความเชื่อและแนวทางการปฏิบัติ ของคนยุ โรป ยาวนานนับ 1,000 ป ภายใตศาสนาคริสต สันตะปาปาถือเปนผูมีอํานาจสูงสุดทางธรรม และในราวศตวรรษที่ 12 - 13 ก็สามารถมีอํานาจครอบงําทางโลกหรือรัฐไดอยางแทจริง จนชวงเวลาดังกลาวถูกขนาน นามวาเปน "ยุคแหงศรัทธา ความมี อํ า นาจของสั น ตะปาปาเกิ ด ขึ้ น โดยอาศั ย ป จ จั ย สํ า คั ญ เป น รากฐานอย า งน อ ย 2 ประการ กลาวคือ ประการแรก พระสันตะปาปาอาศัยทฤษฎี เพทริริน ของพระสันตะปาปาเลโอที่ 1 เปนฐานในการครอบงําและอางอํานาจของสถาบันเหนือรัฐและกษัตริย ตามทฤษฎีนี้ไดอธิบายวา อํานาจทั้งหมดเปนของพระเจา ซึ่งพระองคไดมอบอํานาจทั้งหมดของพระองคใหแกวัด และวัดได มอบอํานาจบางสวนใหแกรัฐในการปกครองทางโลก ดังนั้นวัด (รวมถึงพระสันตะปาปา) จึง สามารถยึดอํานาจคืนจากรัฐหรือกษัตริยได ตามนัยดังกลาวไดสรางอํานาจในการควบคุมกษัตริย ใหแกพระสันตะปาปาอยางมาก เห็นไดชัดจากการที่พระสันตะปาปาสามารถเขาไปแทรกแซงการ เลือกจักรพรรดิในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนนํามาสูสภาวะไรจักรพรรดิขึ้น ประการที่สอง คือ การอางอํานาจในการบัพพาชนียกรรม ตามความเชื่อของคนในยุค กลาง จุดสูงสุดในชีวิตคือการไดรับการตัดสินครั้งสุดทายจากพระผูเปนเจา ซึ่งจะทําใหพวกเขา (ถา ทํ า ความดี )สามารถเข า สู โ ลกหน า ไปรวมเป น ส ว นหนึ่ ง กั บ พระผู เ ป น เจ า ชี วิ ต ในโลกนี้ ไ ม มี ความหมายใด ๆ นอกจากเรงสะสมความดี (บุญ) แตการที่จะเขาสูโลกหนาไดนั้นจําเปนตองมี เงื่อนไขสําคัญ คือ การเขารีตเปนชาวคริสต เทานั้น การถูกตัดออกจากศาสนาจึงเปนการลงโทษที่ รุนแรงในสายตาของผูนับถือศาสนาคริสต ดังนั้นพระสันตะปาปาจึงอาศัยความเชื่อดังกลาวเปน รากฐานในการสรางอํานาจเหนือกษัตริย หรือใหกษัตริยตองยอมรับอํานาจพระสันตะปาปาอยาง แทจริง ยกตัวอยางเชน ความขัดแยงระหวางพระเจาเฮนรี่ที่ 4 ของเยอรมันกับพระสันตะปาปาเก
  • 4. รเกอรี่ที่ 7 ที่พระสันตะปาปาพยายามเขาไปแทรกแซงการแตงตั้งบิชอฟ โดยออกประกาศหามมิให ฆราวาสแตงตั้งบิชอฟ ซึ่งจากเดิมเคยอยูภายใตการดูแลของกษัตริย จนทําใหพระเจาเฮนรี่ที่ 4 ไม พอพระทัยและประกาศปลดพระสันตะปาปาออกจากตําแหนง พระสันตะปาปาจึงตอบโตดวยการ บัพพาชนียกรรมพระเจาเฮนรี่ที่ 4 ขุนนางและชาวเยอรมันออกจากศาสนา และทําใหเกิดการลุกฮือ ของขุนนาง ประชาชนขับไลพระเจาเฮนรี่ที่ 4 ออกจากการเปนกษัตริย ทายสุดพระเจาเฮนรี่ที่ 4 จึง ตองยอมเดินทางไปขอใหพระสันตะปาปาเกรเกอรี่ที่ 7 ประทานอภัยโทษ โดยตองคุกเขาอยู ทามกลางหิมะที่กําลังตกหนักถึง 3 วัน จึงไดรับการอภัยโทษ เปนตน อยางไรก็ตาม แมวาในชวงศตวรรษที่ 12 - 13 พระสันตะปาปาจะมีอํานาจสูงสุดทั้งทาง โลกและทางธรรม แตในชวงปลายยุคกลางก็เกิดความเปลี่ยนแปลงที่สําคัญขึ้น จนเปนเหตุให สถาบันสันตะปาปาและความเชื่อทางศาสนาเสื่อมอํานาจลงในทายสุด (จะกลาวในสวนตอไป) 3. ระบบการปกครองแบบศักดินาสวามิภักดิ์ ระบบการปกครองแบบศักดินาสวามิภักดิ์หรือการปกครองระบบฟวดัล ถือเปนรูปแบบ การปกครองที่สําคัญยิ่งในชวงยุคกลาง ระบบการปกครองนี้เปนการปกครองโดยเนนการกระจาย อํานาจในการควบคุมที่ดิน โดยมีหลักใหญใจความสําคัญคือ กษัตริย (Overlord / Lord) ไดมอบ อํานาจในการดูแลที่ดินในเขตพระราชอํานาจใหแกขุนนาง (Vassal) ไปดูแลและใชประโยชน โดย บนที่ดินนั้นจะมีไพรทาส(Serf) ติดที่ดินเปนกําลังแรงงานในการผลิต ในเชิงทฤษฏีกษัตริยจะมี หนาที่ดูแลปกปองที่ดินของขุนนาง มิใหขุนนางหรือคนกลุมอื่นมาแยงชิงได สวนขุนนางจะมี หนาที่ จงรักภักดี สงภาษีอากร ใหกับกษัตริย และตองเกณฑแรงงานไพรทาสติดที่ดินใหแกกษัตริย ในยามศึกสงครามสงคราม แตในทางปฏิบัติกษัตริยแทบจะไมสามารถมีอํานาจเหนือขุนนางไดมาก นัก จึงตองอาศัยการรอบชอมเมื่อเกิดความขัดแยงอยูเสมอ ๆ ขณะเดียวกันก็ไมสามารถยึดที่ดินที่ พระราชทานใหคืนสูพระองค ในยามที่ขุนนางเริ่มเสื่อมความภักดีไดอยางแทจริง อํานาจในการ ดูแลที่ดินและกําลังคน จึงเปนของขุนนางแทบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ในสวนลางของระบบฟวดัลนั้น เรียกกันวาระบบแมเนอร (Maner) โดยจะมีคฤหาสนของ ขุนนางอยูตรงกลาง แวดลอมดวยที่ดินทํากินและหมูบานที่อยูภายใตสังกัดของขุนนางนั้น ๆ ซึ่ง โดยทั่วไปแลว แตละแมเนอรจะประกอบไปดวยหมูบาน 4 - 5 หมูบานขึ้นไป ชาวบานในหมูบาน จะเป น แรงงานติ ด ที่ ดิ น ซึ่ ง ต อ งทํ า งานรั บ ใช ขุ น นาง ทํ า การผลิ ต บนพื้ น ที่ ข องขุ น นางและเสี ย สวนเกินทางการผลิตใหแกขุนนาง นับตั้งแตเกิดจนตาย สวนขุนนางนั้นจะเปนผูใหความคุมครอง ตัดสินคดีความและจัดแบงพื้นที่การผลิตใหแกไพรทาสติดที่ดิน
  • 5. 4. ชุมชุนเมือง ชุมชนเมืองถือเปนอีกพื้นที่หนึ่งที่แยกเปนอิสระจากระบบแมเนอรและมีความแตกตาง จากแมเนอรอยางมาก กลาวคือ ในชุมชนเมืองนั้นจะมีผูดูแลเปนของตนเอง โดยเปนการเลือกจาก สมาชิกในเมืองนั้น ๆ ประชาชนทุกคนที่อาศัยอยูในเมืองเปนเสรีชน และสวนใหญเปนพอคา ชางฝมือ ซึ่งมีอิสระในการดําเนินชีวิต เศรษฐกิจในชุมชนเมืองนั้นเปนเศรษฐกิจแบบเงินตรา (แม จะไมกวางขวางนัก) ขณะที่ในแมเนอรเนนเศรษฐกิจแบบยังชีพเปนสําคัญ พรอม ๆ กันนั้นเอง ชุมชนเมืองยังมีกฎที่ใหสิทธิพิเศษสําหรับคนที่เขามาอยูอาศัยใหมสามารถกลายเปนเสรีชนได ถา อาศัยอยูในเมืองตามระยะเวลาที่กําหนด (ประมาณ 1 ป 1 วัน) แมจะเปนไพรทาสติดที่ดินที่หลบหนี มาจากแมเนอรก็ตาม และกฎเกณฑดังกลาวจะกลายเปนเงื่อนไขสําคัญที่กอใหเกิดความเสื่อมขึ้น ในระบบแมเนอรอยางเปนรูปธรรม สรุปยุคกลาง อาจกล า วได ว า โลกในยุ ค กลางนั้ น เป น ยุ ค ที่ อ ยู ภ ายใต ก ลางครองงํ า ของคริ ส ตศาสนา ประชาชนเบื้องลางดํารงชีวิตอยูดวยความเชื่อและศรัทธาตอศาสนา การกระทําในปจจุบันมิได มุงหวังเพื่อผลประโยชนในโลกนี้ หากแตเปนการเรงทําบุญ ทําตามคําสั่งสอนของศาสนาเพื่อ บรรลุวัตถุประสงคในโลกหนา แมแตตัวกษัตริยหรือผูปกครองก็จําเปนตองพึ่งพาคริสตศาสนาใน การสรางความชอบธรรมทางการเมือง เห็นไดชัดจากการอาศัยทฤษฎีเทวสิทธิ์ของศาสนาเปน เครื่องมือในการอธิบายพระราชอํานาจของกษัตริยซึ่งเปนผูปกครองที่ไดรับเลือกมาจากพระผูเปน เจา ผานการเจิมน้ํามนตศักดิ์สิทธิ์โดยมีสันตะปาปาเปนตัวกลางในการเชื่อมโยงนั้น ซึ่งดานหนึ่งทํา ใหการปกครองของกษัตริยมีความมั่นคงยิ่งขึ้น แตอีกดานหนึ่งก็ทําใหพระสันตะปาปามีอํานาจ เหนือกษัตริยไดในระดับหนึ่ง พรอม ๆ กันนั้นเอง โครงสรางรูปแบบการเมืองการปกครองยังดําเนินไปบนฐานของการ กระจายอํานาจตามระบบฟวดัล คือ กษัตริยทรงมอบที่ดินใหกับขุนนางเปนผูดูแล และในที่ดินนั้น ยังประกอบไปดวยชาวนาและทาสติดที่ดินเปนกําลังสําคัญในการผลิต สวนการปกครองในระดับ เล็กดํารงอยูในลักษณะของระบบแมเนอร ซึ่งมีขุนนางเปนผูควบคุมดูแล แตละแมเนอรมีการผลิต แบบพอยังชีพ ซึ่งอาจมีการแลกเปลี่ยนสิ่งของเล็ก ๆ นอยๆที่ไมสามารถผลิตขึ้นใชเองได เชน เกลือ เปนตน ชาวนาและทาสติดที่ดินในแมเนอรทํางานหนัก คิดและเชื่อในสิ่งที่ศาสนาสอน ซึ่งทําให สังคมในยุคกลางนั้นเปลี่ยนแปลงชามาก อยางไรก็ตาม ในสังคมยุคกลางยังปรากฎใหเห็นภาพของชุมชนเมืองซึ่งอยูนอกระบบแม เนอร เมืองแตละแหงจะมีผูปกครองที่คนในเมืองเลือกเปนตัวแทนในการดูแล ประชาชนในเมือง เปนเสรีชน ประกอบเศรษฐกิจแบบการคา และมีกฎระเบียบในการใหสิทธิความเปนเสรีชนแกคน