SlideShare a Scribd company logo
1 of 326
Download to read offline
MBA-ONLINE IN KOREA 1สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
เกาหลีใต้ (Korea)
(한국 หรือ 조선)
เป็นประเทศในอดีตตั้งอยู่ในคาบสมุทรเกาหลี ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศเกาหลี
ถูกแบ่งออกเป็นประเทศเกาหลีเหนือ และ ประเทศเกาหลีใต้
MBA-ONLINE IN KOREA 2สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเกาหลีใต้
ธงชาติเกาหลี
สัญลักษณ์บนธงชาติเกาหลีเป็นเรื่องปรัชญา โดยเฉพาะรูปวงกลมกลางผืนธงซึ่งแบ่ง
เท่ากัน ด้านบนเป็นสีแดงเป็นตัวแทนของหยาง ด้านล่างสีนํ้าเงินเป็นตัวแทนของหยิน ทางภาษา
เกาหลีออกเสียงเป็นอึมและหยาง ชาวเกาหลีเรียกธงชาติของตนว่า “แทกึกกี” แปลว่าธงอันยิ่งใหญ่
ใช้เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.2135 อันเป็นปีที่ 19 แห่งพระเจ้าโคจง ราชวงศ์ยี เมื่อญี่ปุ่นยุติการรุกราน
เกาหลีครั้งนั้น คิมอกควุนและปักยองโย เป็นฑูตพิเศษเดินทางไปญี่ปุ่นด้วยความรักชาติ พร้อมกับ
ชักธงแทกึกกีเหนือรําเรือ ต่อมาเมื่อปีพ .ศ.2462 สาธารณรัฐเกาหลีจึงนําธงดังกล่าวมาเป็นธง
ประจําชาติ
ความหมายแห่งสัญลักษณ์บนผืนธงชาติเกาหลีใต้ มีดังนี้
- สีขาวบนผืนธงหมายถึง สันติภาพ
- วงกลมกลางผืนธงหมายถึง เอกภาพ
- สัดส่วนสมดุลกลางวงกลมหมายถึง การสร้างสรรค์
MBA-ONLINE IN KOREA 3สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
- เส้นขีดสีดําที่มุมบนซ้าย หมายถึง สวรรค์,ทิศใต้,ฤดูใบไม้ผลิ
- เส้นขีดสีดําที่มุมล่างซ้าย หมายถึง ดวงอาทิตย์,ทิศตะวันออก,ฤดูใบไม้ร่วง
- เส้นขีดสีดําที่มุมบนขวา หมายถึง ดวงจันทร์,ทิศตะวันตก,ฤดูหนาว
- เส้นขีดสีดําที่มุมล่างขวา หมายถึง โลก,ทิศเหนือ,ฤดูร้อน
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์เริ่มจาก อาณาจักรโคโชซอน สถาปนาขึ้นโดย "ทันกุน" ต่อมาสมัยสาม
อาณาจักรแห่งเกาหลี(โคกูรยอ, แพ็กเจ, และชิลลา)ถูกรวมเข้าด้วยกันเป็นอาณาจักรชิลลา ซึ่งมี
พุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง และต่อมา ค .ศ. 918 ได้สถาปนา[[อาณาจักรโคเรียว] หรือ โค- รยอ ซึ่ง
เป็นชื่อของเกาหลี (KOREA) และเมื่อราชวงศ์โชซอน(ราชวงศ์ลี)ครองอํานาจเปลี่ยนชื่ออาณาจักร
ใหม่ ชื่อ อาณาจักรโชซอนเมืองหลวงชื่อว่า ฮันยาง (กรุงโซล) มีลัทธิขงจื้อ เป็นคติธรรมประจําชาติ
และได้ประดิษฐ์อักษรเกาหลีขึ้น
ในปี พ.ศ. 2453 ต้องอยู่ภายใต้การปกครองของญี่ปุ่นจนกระทั่งสิ้นสุด สงครามโลกครั้งที่
2 ก็ได้รับอิสรภาพอย่างถาวร
ประเทศเกาหลีแบ่งเป็น 2 ประเทศ คือ เกาหลีใต้และเกาหลีเหนือ โดย ประเทศเกาหลีใต้
สถาปนาเป็น สาธารณรัฐเกาหลี ประเทศเกาหลีเหนือ สถาปนา สาธารณรัฐประชาธิปไตประชาชน
เกาหลี
ดินแดนคาบสมุทรเกาหลีเป็นดินแดนที่มีความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ยาวนาน เริ่มแต่
เป็นดินแดนของผู้คนหลากเผ่าพันธุ์ จนกระทั่งรวมตัวขึ้นเป็นอาณาจักรเล็กๆ ต่อมาถูกจีนยึดครอง
เมื่อได้เอกราชจากจีน คาบสมุทรเกาหลีประกอบด้วยสามอาณาจักสําคัญก่อนจะรวมตัวกันเป็น
อาณาจักรเดียวปกครองด้วยราชวงศ์ 2 ราชวงศ์ จนถูกญี่ปุ่นยึดครองเป็นอาณานิคมจนสิ้นสุด
MBA-ONLINE IN KOREA 4สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
สงครามโลกครั้งที่ 2 ตามมาด้วยสงครามเกาหลีที่ทําให้ต้องแบ่งเป็น 2 ประเทศในปัจจุบันคือ
เกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ มีความพยายามที่จะรวมประเทศทั้งสองแต่ยังไม่สําเร็จ
ยุคเผ่าพันธุ์ ในยุคแรกดินแดนบนคาบสมุทรเกาหลีประกอบด้วยผู้คนหลายเผ่าพันธุ์ เผ่า
แรกที่ปรากฏคือเผ่าโชซอนโบราณ ตั้งถิ่นฐานอยู่ทางภาคเหนือ เรืองอํานาจในช่วงพ.ศ. 143 ‟ 243
ส่วนเผ่าอื่นได้แก่เผ่าพูยอ อยู่บริเวณปากแม่นํ้าซุนคารีทางแมนจูเรียเหนือ เผ่าโคกูรยออยู่ระหว่าง
แม่นํ้าพมาก และแม่นํ้าอัมนก เผ่าโอกจออยู่บริเวณมณฑลฮัมกยอง เผ่าทงเยอยู่บริเวณมณฑลคัง
วอน และเผ่าสามฮั่นคือ มาฮั่น ชินฮั่น และ พยอนฮั่น ที่อยู่บริเวณแม่นํ้าฮั่นและแม่นํ้านักดง ทาง
ภาคใต้ของคาบสมุทรเกาหลี
กษัตริย์ในตํานาน ตํานานที่เป็นที่แพร่หลายในประเทศเกาหลีเล่าถึงกําเนิดของชนชาติตน
ว่า เจ้าชายฮวานุง โอรสของเทพสูงสุดบนสวรรค์ลงมาสร้างเมืองที่ภูเขาแตแบกซอน ได้แต่งงานกับ
หญิงที่มีกําเนิดจากหมี มีโอรสชื่อตันกุน ต่อมาเป็นผู้ก่อตั้งอาณาจักรโชซอนโบราณ เมื่อ 1790 ปี
ก่อนพุทธศักราช
ดินแดนคาบสมุทรเกาหลีตกเป็นเมืองขึ้นจีนเมื่อ พ .ศ. 434 เมื่อจักรพรรดิหวู่ตี้แห่งราชวงศ์
ฮั่น ยกทัพเข้ายึดครองดินแดนของอาณาจักรโชซอนโบราณ และแบ่งเกาหลีเป็น 4 มณฑล คือ
มณฑลนังนัง ชินบอน อิมดุน และฮยอนโท อย่างไรก็ตาม จีนปกครองมณฑลนังนังอย่างจริงจัง
เพียงมณฑลเดียว มณฑลอื่นๆจึงค่อยๆแยกตัวเป็นเอกราช จน พ .ศ. 856 ชนเผ่าโกคูรยอเข้ายึด
ครองมณฑลนังนัง ขับไล่จีนออกไปได้สําเร็จ การตกเป็นเมืองขึ้นของจีนทําให้เกาหลีได้รับอิทธิพล
ทางวัฒนธรรมจากจีนมาก เช่น ตัวอักษรและศาสนา (พุทธและขงจื้อ)
ยุคสามก๊ก แผนที่อาณาจักรทั้งสามบทความหลัก:ราชอาณาจักรทั้งสามของเกาหลี เมื่อ
เป็นเอกราชจากจีน ดินแดนเกาหลีในขณะนั้นแบ่งเป็น 3 อาณาจักรด้วยกันคือ
MBA-ONLINE IN KOREA 5สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
 อาณาจักรโกคูรยอทางภาคเหนือ เผ่าโกคูรยอเริ่มเข้มแข็งมา กขึ้นเมื่อราชวงศ์ฮั่น
ของจีนล่มสลาย และสามารถขยายอํานาจเข้ายึดครองมณฑลนังนังจากจีนได้เมื่อ พ.ศ. 856
 อาณาจักรแพกเจ ชนเผ่าแพกเจซึ่งเป็นเผ่าย่อยของเผ่าพูยอที่อพยพลงใต้ เข้ายึด
ครองอาณาจักรอื่นรวมทั้งอาณาจักรเดิมของเผ่ามาฮั่น ตังเป็นอาณาจักรเมื่อ พ.ศ. 777
 อาณาจักรชิลลา อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พัฒนาขึ้นจาก
เผ่าซาโร แต่อาณาจักรนี้ไม่เข้มแข็งมากนักในช่วงแรก ดําเนินนโยบายเป็นมิตรกับอาณาจักรโก
คูรยอตลอดจนกระทั่งหลังสงครามระหว่างอาณาจักรโกคูรยอกับแพกเจ อาณาจักรชิลลาจึง
เข้มแข็งขึ้นเป็นลําดับ จนสามารถยึดครอ งลุ่มแม่นํ้าฮั่นและลุ่มแม่นํ้านักดงจากอาณาจักรแพกเจ
ได้
ยุคอาณาจักรรวม เมื่ออาณาจักรชิลลาเข้มแข็งขึ้น อาณาจักรแพกเจจึงหันไปผูกมิตรกับ
อาณาจักรโกคูรยอ ส่วนอาณาจักรชิลลาหันไปผูกมิตรกับราชวงศ์สุยและราชวงศ์ถังของจีน กอง
กําลังผสมระหว่างจีนและชิลลายึดครองอาณาจักรแพกเจได้เมื่อ พ .ศ. 1203 และยึดครอง
อาณาจักรโคกูรยอได้ในพ.ศ. 1211 โดยจีนเข้ามาปกครองอาณาจักโคกูรยอในช่วงแรก ต่อมา
อาณาจักรชิลลากับราชวงศ์ถังเกิดขัดแย้งกัน อาณาจักรชิลลาจึงเข้ายึดอาณาจักรโคกูรยอจากจีน
และเข้าปกครองคาบสมุทรเกาหลีอย่างเด็ดขาดเมื่อ พ.ศ. 1278 อาณาจักรชิลลาเจริญสูงสุดใน
ยุคกษัตริย์คยองตอก หลังจากนั้นได้เสื่อมลงโดยสาเหตุหลักมาจากความขัดแย้งในหมู่เชื้อพระวงศ์
และเกิดการปฏิวัติบ่อยครั้ง กลุ่มชาวนาและกลุ่มอํานาจท้องถิ่นที่รู้สึกว่าถูกกดขี่ได้รวมกําลังกัน
ต่อต้านอํานาจรัฐ วังกอน ผู้นํากลุ่มต่อต้านคนหนึ่ง เข้ายึ ดอํานาจและสถาปนาราชวงศ์โคเรียขึ้น
เมื่อ พ.ศ. 1478
ยุคอาณาจักรโครยอ วังฮูมาสถาปนาตนเองเป็นกษัตริย์แทโจแห่งราชวงศ์โคเรียเมื่อ
พ.ศ. 1486 อาณาจักรนี้เจริญสูงสุดในสมัยกษัตริย์มุนจง ยุคนี้เป็นยุคที่ส่งเสริมพระพุทธศาสนา มี
MBA-ONLINE IN KOREA 6สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
การทําสงครามกับพวกญี่ปุ่นและมองโกล ถูกจีนคว บคุมในสมัยราชวงศ์หงวน จนเมื่ออํานาจของ
ราชวงศ์หงวนอ่อนแอลง อาณาจักรโคเรียต้องพบกับปัญหาโจรสลัดญี่ปุ่นและการรุกรานของ
ราชวงศ์หมิง ในที่สุดทําให้ฝ่ายทหารมีอํานาจมากขึ้นจนนําไปสู่การยึดอํานาจของนายพล ลี ซองเก
และสถาปนาราชวงศ์ใหม่ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1935
ยุคราชวงศ์โชซอน นายพล ลี ซองกเยสถาปนาตนเองเป็นกษัตริย์แทโจแห่งาชวงศ์โช
ซอน ในสมัยนี้ส่งเสริมลัทธิขงจื๊อให้เป็นลัทธิประจําชาติและไม่ส่งเสริมพุทธศาสนา ในราชวงศ์นี้เอง
ที่ประดิษฐ์อักษรฮันกึลขึ้นใช้แทนอักษรจีน ความขัดแย้งกับชาติตะวันตกโดยเฉพาะเรื่องคริสต์
ศาสนาและความแตกแยกในหมู่ขุนนางทําให้ราชวงศ์นี้เสื่อมลง จนถูกญี่ปุ่นยึดครองและล้มล้าง
ระบอบกษัตริย์ไปในที่สุด
ยุคอาณานิคมของญี่ปุ่นและสงครามโลก เมื่อ พ .ศ. 2453 ญี่ปุ่นได้ผนวกเกาหลีเป็น
ดินแดนของตนตามสนธิสัญญาการรวมญี่ปุ่น-เกาหลี ซึ่งสนธิสัญญานี้เป็นที่ยอมรับของญี่ปุ่นฝ่าย
เดียว แต่ไม่เป็นที่ยอมรับในเกาหลี เพราะถือว่าไม่มีการลงนามของกษัตริย์เกาหลี เกาหลีถูกญี่ปุ่น
ปกครองจนกระทั่งญี่ปุ่นเป็นฝ่ายแพ้สงครามเมื่อ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2488
ในระหว่างการปกครองของญี่ปุ่น มีการสร้างระบบคมนาคมแบบตะวันตก แต่ส่วนใหญ่
เพื่อประโยชน์ทางการค้าของญี่ปุ่นมากกว่าประโยชน์ของชาวเกาหลี ญี่ปุ่นล้มล้างราชวงศ์โชซอน
ทําลายพระราชวัง ปรับปรุงระบบภาษี ให้ส่งข้าวจากเกาหลีไปญี่ปุ่น ทําให้เกิดความอดอยากใน
เกาหลี มีการใช้แรงงานทาสในการสร้างถนนและทําเหมืองแร่
หลังการสวรรคตของกษัตริย์โกจง (Gojong) เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2461 ด้วยยาพิษ ทํา
ให้เกิดการเรียกร้องเอกราชทั่วประเทศ เมื่อ 1 มีนาคม พ .ศ. 2461 ผลจากการลุกฮือขึ้นเรียกร้อง
เอกราชทําให้ชาวเกาหลีราว 7,000 คนถูกฆ่าโดยทหารและตํารวจญี่ปุ่น ชาวคริสต์เกาหลีจํานวน
MBA-ONLINE IN KOREA 7สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
มากถูกฆ่าหรือเผาในโบสถ์ระหว่างการเรียกร้องเอกราชมีการจัดตั้งรัฐบาลเฉพาะกาลของเกาหลีที่
เซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน หลังจากการเคลื่อนไหว 1 มีนาคม เพื่อต่อต้านการยึดครองของญี่ปุ่น
การลุกฮือขึ้นต่อต้านญี่ปุ่นยังมีอยู่ต่อไป เช่น การลุกฮือของนักศึกษาทั่วประเทศเมื่อเดือน
พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 จนนําไปสู่การประกาศกฎอัยการศึกเมื่อ พ.ศ. 2474 หลังจากเกิดสงคราม
จีน-ญี่ปุ่นเมื่อ พ.ศ. 2480 ญี่ปุ่นพยายามลบล้างความเป็นชาติของเกาหลี การสอนประวัติศาสตร์
และภาษาเกาหลีในโรงเรียนถูกห้าม การแสดงออกทางวัฒนธรรมที่เป็นเกาหลีถือเป็นสิ่งผิด
กฎหมาย ชาวเกาหลีถูกบังคับให้มีชื่อเป็นภาษาญี่ปุ่น สิ่งของมีค่าถูกนําออกจากเกาหลีไปยังญี่ปุ่น.
หนังสือพิมพ์ถูกห้ามตีพิมพ์ด้วยภาษาเกาหลี หนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร์จํานวนมากถูกเผา
ทําลาย
ชาวเกาหลีจํานวนมากอพยพออกจากเกาหลีไปสู่แมนจูเรียและรัสเซีย ชาวเกาหลีใน
แมนจูเรียจัดตั้งขบวนการกู้เอกราชชื่อ “ดุงนิปกุน” (Dungnipgun) ขบวนการนี้มีความสัมพันธ์
ใกล้ชิดกับจีน ทําสงครามกองโจรกับกองทัพญี่ปุ่น กองทัพเหล่านี้ได้รวมตัวกันเป็นกองทัพ
ปลดปล่อยเกาหลี เมื่อราว พ .ศ. 2483 เคลื่อนไหวในจีนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชาวเกาหลี
กว่าหมื่นคนเข้าร่วมในกองทัพปลดปล่อยประชาชนและกองทัพปฏิวัติแห่งชาติ
ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ชาวเกาหลีถูกบังคับให้ร่วมมือกับญี่ปุ่น ชายชาวเกาหลีถูก
เกณฑ์เข้าร่วมในกองทัพญี่ปุ่น ผู้หญิงจากจีนและเกาหลีราว 200,000 คน ถูกส่งตัวไปเป็น
นางบําเรอของทหารญี่ปุ่น
การแบ่งแยกประเทศ
ทหารปีนข้ามกําแพงทะเลในอินชอนหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง แนวโน้มของ
การแบ่งประเทศเริ่มปรากฏขึ้นเมื่อ 8 กันยายน พ .ศ. 2488 เมื่อสหรัฐเข้าควบคุมภาคใต้ของ
คาบสมุทรเกาหลี และโซเวียตเข้าควบคุมภาคเหนือ โดยใช้เส้นขนานที่ 38 องศาเป็นเส้นแบ่ง
MBA-ONLINE IN KOREA 8สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
รัฐบาลชั่วคราวถูกยกเลิกเพราะสหรัฐเห็นว่าเป็นพวกคอมมิวนิสต์ ในครั้งแ รกการแบ่งแยกนี้เป็น
การชั่วคราว และจะให้เอกราชแก่เกาหลีเมื่อสี่ชาติมหาอํานาจคือ สหรัฐ สหภาพโซเวียต อังกฤษ
และจีน จัดการปกครองในเกาหลีสําเร็จ
ในการประชุมไคโรเมื่อ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486 กําหนดให้เกาหลีเป็นชาติอิสระ และ
การประชุมล่าสุดที่ยัลตาในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2488
ตกลงให้เกาหลีเป็นรัฐในอารักขาของชาติมหาอํานาจสี่
ชาติ ต่อมา 9 สิงหาคม พ.ศ. 2488 โซเวียตยกทัพจากไซ
บีเรียเข้าสู่เกาหลีโดยไม่มีการต่อต้าน ญี่ปุ่นยอมแพ้เมื่อ
15 สิงหาคม พ.ศ. 2488 ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2488 มี
การประชุมที่มอสโกเพื่อตกลงเกี่ยวกับอนาคตของ
เกาหลี โดยกําหนดให้เป็นรัฐในอารักขา 5 ปี และรวม
ส่วนที่อยู่ภายใต้การควบคุมของสหรัฐและโซเวียตเข้าด้วยกัน มีการประชุมกันอีกครั้งที่กรุงโซลแต่
เองการตั้งประเทศใหม่ยังไม่ลุล่วง เดือนกันยายน พ .ศ. 2490 สหรัฐส่งปัญหาเกาหลีเข้าสู่
สหประชาชาติเพื่อให้เกาหลีเป็นรัฐเดียวที่มีเอกภาพ แต่ผลจากสงครามเย็นทําให้สหรัฐวางแผนคุ้ม
กันเกาหลีเพื่อต่อต้านคอมมิวนิสต์ ส่งผลให้เกิดการแยกประเทศเมื่อ พ .ศ. 2491 เกิดเป็นสอง
ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจและการปกครองต่างกัน สหประชาชาติยอมรับสาธารณรัฐเกาหลี
(เกาหลีใต้) เป็นตัวแทนเกาหลีในสหประชาชาติเพียงรัฐเดียวเมื่อ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2491 สงคราม
เกาหลีระเบิดขึ้นเมื่อเดือนมิถุนายน พ .ศ. 2493 เมื่อเกาหลีเหนือยกทัพข้ามเส้นขนานที่ 38 องศา
บุกเข้าโจมตีเกาหลีใต้ เป็นการยุติความพยายามในขณะนั้นที่จะรวมประเทศทั้งสองอย่างสันติ
สงครามดําเนินไปจนมีข้อตกลงหยุดยิงเมื่อ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2496
MBA-ONLINE IN KOREA 9สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
ความพยายามรวมประเทศหลังสงคราม
เกาหลีใต้มีความพยายามที่จะรวมประเทศอย่างสันติตั้งแต่ พ.ศ. 2513 โดยเปิดการเจรจา
กับเกาหลีเหนืออย่างต่อเนื่อง เริ่มจากการเจรจาระหว่างสภากาชาดฝ่ายใต้และเหนือ เพื่อให้
ครอบครัวที่พลัดพรากระหว่างสงครามได้พบหน้ากัน มีการออกแถลงการณ์ระหว่างสองประเทศ
เมื่อ 4 กรกฎาคม พ .ศ. 2515 เพื่อยติการกล่าวร้ายระหว่างกัน แต่การเจรจาเพื่อรวมประเทศไม่
ราบรื่น ที่ประสบผลมีเพียงการอนุญาตให้ชาวเกาหลีทั้งสองประเทศข้ามเขตปลอดทหารไปมาหาสู่
กันได้ในช่วง 20-23 กันยายน พ.ศ. 2528 และการเจรจาเกี่ยวกับกีฬาโอลิมปิก พ.ศ. 2531 ที่กรุง
โซล เท่านั้น การเจรจาเรื่องอื่นๆหยุดชะงักลงหลังพ .ศ. 2529 เนื่องจากเกาหลีเหนือไม่พอใจ
เกี่ยวกับการซ้อมรบระหว่างเกาหลีใต้กับสหรัฐ ซึ่งถือเป็นการขัดแย้งกับการรวมชาติ เกาหลีใต้
พยายามประนีประนอมกับเกาหลีเหนือเพื่อการเจรจาจนมีการประชุมระดับผู้นําครั้งแรกเมื่อ 4
กันยายน พ.ศ. 2533 จากนั้นมีการประชุมต่อมาอีกหลายครั้ง อย่างไรก็ตามการรวมชาติเกาหลียัง
เป็นสิ่งที่ต้องรอคอยต่อไปจนกระทั่งปัจจุบัน
MBA-ONLINE IN KOREA 10สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
ภูมิศาสตร์
คาบสมุทรเกาหลีทอดตัวไปทางทิศใต้ทางด้านตะวันออกของทวีปเอเชีย มีความยาว
1,020 กิโลเมตร (612 ไมล์) และกว้าง 175 กิโลเมตร (105 ไมล์) ณ จุดที่แคบที่สุดของคาบสมุทร
พื้นที่ 70% ของประเทศเป็นเทือกเขา จึงจัดเป็นประเทศที่มีภูมิประเทศเป็ นเทือกเขามากที่สุดแห่ง
หนึ่งของโลก ความเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของแผ่นดินที่เป็นหินแกรนิตและหินปูนทําให้เกิดภูมิ
ประเทศที่สวยงามอย่างมหัศจรรย์ ประกอบด้วยเทือกเขาและหุบเขา เทือกเขา ตลอดชายฝั่งด้าน
ตะวันออกสูงชันและทอดตัวลงสู่ทะเลตะวันออก ในขณะที่ชายฝั่งทางด้านใต้ แ ละตะวันตก
เทือกเขาค่อย ๆ ลาดลงตํ่าสู่ที่ราบชายฝั่ง ซึ่งเป็นแหล่งเกษตรกรรมที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในเกาหลี
โดยเฉพาะในด้านการผลิตข้าว คาบสมุทรเกาหลีถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ที่บริเวณเหนือเส้นขนานที่
38 คือ ประเทศระบอบประชาธิปไตย สาธารณรัฐเกาหลีอยู่ทางใต้ และประเทศร ะบอบ
คอมมิวนิสต์ เกาหลีเหนือ โดยถูกคั่นกลางโดยเขตปลอดทหาร ประเทศเกาหลีใต้มีพื้นที่ 99,500
ตารางกิโลเมตร มีประชากร 47.9 ล้านคน (ค.ศ. 2003) ประกอบด้วย 9 จังหวัด (โด) กรุงโซลเป็น
เมืองหลวงของประเทศ และประกอบด้วยเมืองใหญ่ ๆ 6 เมือง คือพูนซา น แทกู อินชน ควางจู แ ท
จอน และ อุลซาน รวมมีเมืองทั้งหมด 77 เมือง (ซี) 88 มณฑล (กุน) ใน 9 จังหวัด
ภูมิอากาศ
ประเทศเกาหลีมีสภาพอากาศอยู่ในเขตอบอุ่น และมีสี่ฤดูที่แตกต่างกัน คือ ในปลายเดือน
มีนาคมหรือต้นเดือนเมษายน ต้นไม้จะผลิใบสะพรั่งเต็มต้น เป็นสัญญาณว่าฤดูใบไม้ผลิได้เริ่มขึ้น
แล้ว ระหว่างเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคมจะมีหลาย ๆ วันที่แสงแดดสดใสตลอดทั้งวัน
MBA-ONLINE IN KOREA 11สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
- ฤดูร้อน ซึ่งอากาศร้อนและมีฝนตกบ้าง ต้นไม้จะเขียว ชอุ่มทั่วไป ในเดือนมิถุนายน
อุณหภูมิเฉลี่ยจะสูงกว่า 20 องศาเซลเซียสเล็กน้อย ฤดูมรสุมปกติจะเริ่มขึ้นในปลายเดือนมิถุนายน
จนถึงช่วงกลางหรือปลายเดือนกรกฎาคมและในเดือนสิงหาคมอากาศจะร้อนจัดและชื้นมาก
- ฤดูใบไม้ร่วง จะเริ่มขึ้นตอนปลายเดือนกันยายน ลมที่พัดมาจากแผ่นดินใหญ่นั้นทําให้
อากาศแห้งและท้องฟ้ าโปร่ง จึงเป็นช่วงที่อากาศเหมาะกับการท่องเที่ยวมากที่สุดในเดือนตุ ลาคม
ทิวทัศน์ทั่วทั้งประเทศจะมีสีสันสดใสด้วยใบไม้ที่เปลี่ยนเป็นสีทองและสีแดงเต็มต้น
MBA-ONLINE IN KOREA 12สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
- ฤดูหนาว เดือนธันวาคม ถึงกุมภาพันธ ์์อากาศจะหนาวเย็นและแห้ง บางครั้งมีฝน
หรือหิมะ แต่ในช่วงนี้มักจะมีวันที่อากาศหนาวจัดประมาณ 3-4 วัน สลับกับวันที่อากาศอุ่นสบาย
การเมือง
หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2491 คาบสมุทรเกาหลีถูกแบ่งเป็นสองส่วนโดย
เส้นละติจูดที่ 38 องศาเหนือ (มักเรียกว่าเส้นขนาน 38) โดยสหภาพโซเวียตดูแลเกาหลีเหนือมีการ
ปกครองระบอบสังคมนิยม ส่วนสหรัฐอเมริกาดูแลเกาหลีใต้มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย
MBA-ONLINE IN KOREA 13สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
ศาสนา
ชาวเกาหลีใต้ไม่มีศาสนาประมาณ 46 % ศาสนาคริสต์ 26 % ศาสนาพุทธ 26 % ลัทธิ
ขงจื๊อ 1 % ศาสนาชอนโดเกียว ศาสนาอิสลาม และอื่นๆ 1 %
การแต่งกาย
ชุดแต่งกายตามประเพณีของชาวเกาหลี หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “ฮันบก” (Hanbok)
จัดเป็นชุดประจําชาติของเกาหลีซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวมานานนับพัน ๆ ปี ความสวยงาม และ
ความสุภาพของวัฒนธรรมเกาหลีล้วนฉายอยู่ในรูปภาพของผู้หญิงในชุดฮันบก ก่อนอิทธิพลของ
เครื่องแต่งกายแบบตะวันตกจะเข้ามาแทนที่ ฮันบกเคยถูกใช้เป็นชุดแต่งกายประจําวัน โดย
ผู้ชาย จะสวมใส่
- “ชอกอรี” (เสื้อนอกแบบเกาหลี) และ
“พาจิ” (กางเกงขายาว)
ผู้หญิง จะสวมใส่
ใส่ “ชอกอรี” กับ “ชีมา” (กระโปรง) แต่ปัจจุบันนี้
ชาวเกาหลีมักจะใส่ “ฮันบก” เฉพาะโอกาสที่มีการ
เฉลิมฉลอง หรือวันสําคัญ ๆ เช่น วันแต่งงาน วัน
ซอล ลัล (วันขึ้นปีใหม่ทางจันทรคติ) หรือวันชูซก
(วันขอบคุณ พระเจ้า)
MBA-ONLINE IN KOREA 14สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
ผ้าที่นํามาใช้ตัดชุดฮันบกมีอยู่มากมายหลายชนิดด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น ผ้าป่าน ผ้าฝ้ ายมัส
ลิน ผ้าไหม ผ้าแพร โดยผู้สวมใส่จะเลือกใส่ชุดที่ตัดจากผ้าชนิดใดขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศ ฮันบก
ที่ใช้สําหรับแต่งกายในฤดูหนาวมักใช้ผ้าที่ทอจากฝ้ าย และกางเกงขายาวมีสายรัดที่ข้อเท้าซึ่งช่วย
ในการเก็บความร้อนของร่างกาย ในขณะที่ช่วงฤดูร้อนจะใช้ผ้าป่านลงแป้ งแข็งหรือผ้ารามีซึ่งช่วย
ในการซึมซับ และการแผ่กระจายของความร้อนในร่างกาย
สีผ้าที่ถูกเลือกมาใช้ตัดชุดฮันบกส่วนใหญ่จะเป็นสีขาว ซึ่งสื่อถึงความสะอาด ความ
บริสุทธิ์ แต่หากต้องการได้ชุดที่ดูหรูขึ้นมาอีกนิดสําหรับสวมใส่ไปงานสําคัญ ๆ ก็จะใช้ผ้าสีแดง สี
เหลือง สีนํ้าเงิน และสีดํามาประกอบ การแต่งกายด้วยชุดฮันบกไม่ได้มีการกําหนดว่าจะต้องเป็นสี
ใด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความพอใจของผู้สวมใส่เป็นหลัก
หญิงสาวเกาหลีตั้งแต่เด็กจนถึงผู้ใหญ่จะมีชุดฮันบกเป็นของตนเองสําหรับใช้ใส่ในวัน
สําคัญต่าง ๆ โดยเราจะสังเกตได้ว่า ชุดฮันบกของหญิงสาวจะถูกออกแบบมาให้เป็นกระโปรงพอง
ยาว และเสื้อตัวสั้น ทั้งนี้ก็เพื่อพรางรูปร่าง และปกปิดส่วนเว้าส่วนโค้งของผู้สวมใส่ไม่ให้เป็นที่
ดึงดูดสายตาของเพศตรงข้ามมาก
MBA-ONLINE IN KOREA 15สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
เศรษฐกิจ แผนพัฒนาเศรษฐกิจของเกาหลีอดีตจนมาถึงปัจจุบัน
เปลี่ยนโครงสร้างทางเศรษฐกิจจากเกษตรกรรม เป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ ขนาดใหญ่
ที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างก้าวกระโดด เป็นประเทศกําลังพัฒนาขั้นสูง
 กรเพาะปลูก : พืชสําคัญได้แก่ ข้าวเจ้า ข้าว บาร์เลย์ แอปเปิ้ล มันฝรั่ง ถั่วเหลือ ข่าวสาลี
 การเลี้ยงสัตว์ : สัตว์เลี้ยงสําคัญได้แก่ สุกร โค สัตว์ปีก และตัวไหม
 การประมง : ผลผลิตทางการประมงของเกาหลีใต้มีเหลือใช้ในประเทศจนสามารถส่งเป็น
สนค้าส่งออกที่สําคัญอย่างหนึ่ง เกาหลีใต้สามารถจับปลาได้เป็นอันดับ 10 ของโลก (ไทย
เป็นอันดับ 9 สถิติปี พ.ศ. 2535)
 การทําเหมืองแร่: เกาหลีใต้ขาดแคลนถ่านหินและนํ้ามันปิโตเลียม แต่มีแร่ธาตุอื่นๆอีก
หลายชนิด ได้แก่ แกรไฟต์ ดินเกาลิน และทังสเตน
อุตสาหกรรม : อุตสาหกรรมในเกาหลีใต้ส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมเบา ผลผลิตทาง
อุตสาหกรรมที่สําคัญได้แก่ เครื่องใช้ไฟฟ้ า สิ่งทอ รถยนต์ ปิโตรเคมี และเรือเดินสมุทรการ
เกษตรกรรมของเกาหลีใต้
ประเทศเกาหลีใต้เมื่อย้อนหลังกลับไปประมาณ 40 ปี นับได้ว่าเป็นประเทศด้อยพัฒนาที่
ยากจนประเทศหนึ่ง เศรษฐกิจของประเทศนี้ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับรายได้จากภาคการเกษตรเพื่อการ
ยังชีพแบบดั้งเดิม พื้นที่เกษตรกรรมของเกาหลีใต้มีประมาณ 11.81 ล้านไร่ หรือเพียง 19
เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ทั้งหมด เกษตรกรรายย่อยมีพื้นที่ถือครองขนาดเล็ก ขนาดฟาร์มเฉลี่ยแล้ว
ประมาณ 6.25 ไร่ กระจายอยู่ทั่วไปตามที่สูงและภูเขาเนื่องจากพื้นที่ราบของประเทศมีเพียง
เล็กน้อย เกษตรกรส่วนใหญ่ทําการเกษตรเพื่อยังชีพเป็นหลัก โครงสร้างพื้นฐานที่จะสนับสนุนการ
MBA-ONLINE IN KOREA 16สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
ผลิตก็แทบจะไม่มี ในยุคนั้นเกษตรกรส่วนใหญ่จะปลูกธัญพืชเช่นข้าวเพื่อเป็นอาหารหลัก
นอกจากนี้ก็มี ข้าวบาร์เลย์ ข้าวสาลี มันฝรั่ง ข้าวโพด พืชหัว ผัก และผลไม้เป็นพืชรอง แต่ละฟาร์ม
อาจมีการเลี้ยงวัว หรื อสุกรเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ในยุคนั้นผลผลิตข้าวของประเทศในแต่ละปี
ประมาณ 3 ล้านตัน ซึ่งไม่เพียงพอสําหรับบริโภคในประเทศ แต่หลังจากที่ RDA ได้ปรับปรุงพันธุ์
ข้าวใหม่ชื่อพันธุ์ Tongil ข้าวพันธุ์นี้ให้ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์ดั้งเดิมถึง 30 เปอร์เซ็นต์ ต่อมาได้
แพร่หลายไปกว่า 54 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ปลูกข้าวของประเทศ ในปี 2520 ประเทศเกาหลีใต้ก็
สามารถผลิตข้าวได้ผลผลิตเฉลี่ยต่อพื้นที่สูงที่สุดในโลกคือ 4.47 ตันต่อเฮกตาร์ ปัจจุบันผลผลิต
เฉลี่ยต่อพื้นที่ของเกาหลีใต้ก็ยังคงครองอันดับต้นๆ ของโลก แม้ว่าพันธุ์ Tongil เริ่มเสื่อมความนิยม
เนื่องจากคุณภาพการหุงต้มรับประทานไม่ดีเมื่อเทียบกับพันธุ์ japonica ที่ปรับปรุงขึ้นมาใหม่ใน
ภายหลัง (เนื่องจากเป็นลูกผสมระหว่างข้าว indica กับข้าว japonica ทําให้ไม่มีความเหนียว) คือ
การปฏิวัติเขียว
หลังยุคการปฏิวัติเขียว เศรษฐกิจภาคการเกษตรของเกาหลีใต้ เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก
พร้อมๆกับการเติบโตอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจนอกภาคเกษตร รายได้ภาคเกษตรที่เพิ่มขึ้น เป็น
ผลเนื่องมาจากการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต การให้การสนับสนุนภาคการเกษตรโดยรัฐ รวม
ไปถึงการเกิดขึ้นของฟาร์มที่ทําเป็นการค้า ประสิทธิภาพการผลิตของเกษตรกรที่ เพิ่มขึ้นเพราะเริ่ม
มีการใช้พันธุ์พืชที่ได้รับการปรับปรุงใหม่ การใช้ปัจจัยการผลิต เช่นปุ๋ ย มากขึ้น การใช้เครื่องมือ
เครื่องจักรทางการเกษตร รวมไปถึงการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานที่จําเป็นสําหรับการเกษตรโดย
รัฐ เช่นระบบคมนาคม ระบบชลประทาน และระบบการให้บริการด้านส่ งเสริมการเกษตร ด้วย
จํานวนผู้นําในท้องถิ่นที่ได้รับการพัฒนาความรู้ด้านการเกษตรซึ่งมีอยู่มาก ทําให้รัฐประสบ
ความสําเร็จในการดําเนินโครงการพัฒนาชนบทเป็นอย่างดี
MBA-ONLINE IN KOREA 17สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
การพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศส่งผลกระทบต่อโครงสร้างการเกษตรของเกาหลีใต้
เป็นอย่างมาก รูปแบบการบริโภคของคนเ มืองที่เปลี่ยนไปทําให้ระบบการเกษตรต้องปรับเปลี่ยน
ตามไปด้วย จากเดิมที่มีการผลิตข้าวเป็นพืชหลัก ก็มีกิจกรรมอื่นๆในฟาร์มเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะ
การเลี้ยงสัตว์ การทําสวนผัก สวนผลไม้ รวมถึงไม้ดอกไม้ประดับ เนื่องจากรายได้จากภาคเกษตร
ค่อนข้างตํ่า และประเทศมีการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้น ทําให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงาน
จากภาคเกษตรไปสู่ภาคอุตสาหกรรม ในช่วงเวลา 30 ปี ครอบครัวที่ยึดอาชีพเกษตรกรรมลดลง
จาก 2.5 เป็น 1.28 ล้านครัวเรือน สัดส่วนของเกษตรกรเหลือเพียง 7.5 เปอร์เซ็นต์ของประชากรทั้ง
ประเทศ ปัจจุบันเกษตรกรมากกว่าครึ่งที่มีอ ายุมากกว่า 50 ปี ปัญหาที่ตามมาก็คือ การขาดแคลน
แรงงานในภาคเกษตร และค่าจ้างแรงงานก็แพงยิ่งขึ้น รัฐจึงให้ความสนใจเร่งพัฒนาเครื่อง
เครื่องจักรสําหรับการเกษตร การเกษตรของเกาหลีใต้จึงมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบจากการทํา
การเกษตรเพื่อยังชีพเป็นการเกษตรเพื่อการค้าโดยใช้เทค โนโลยีการผลิตสมัยใหม่ ผลสําเร็จของ
การพัฒนาการเกษตรของเกาหลีใต้เนื่องมาจากมีการจัดตั้งองค์กรที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบ ไม่ว่า
จะเป็นหน่วยงานวิจัย หน่วยงานส่งเสริมการเกษตร และหน่วยงานที่ให้การศึกษาด้านการเกษตร
ข้าวที่เป็นพืชหลักของเกาหลีใต้ มีการปลูกข้าวกว่าร้ อยละ 80 ของฟาร์ม พื้นที่ปลูกข้าวมี
ประมาณ 57 เปอร์เซนต์ของพื้นที่เกษตร และมีมูลค่าสูงถึง 33 เปอร์เซ็นต์ของมูลค้าสินค้า
การเกษตรของประเทศ อัตราการบริโภคข้าวของคนเกาหลีใต้ปัจจุบันลดลงไปมาก เมื่อปี 2544 มี
อัตราการบริโภคข้าวประมาณ 88.9 กิโลกรัมต่อคนต่อปี หลังจากที่เกาหลีใต้สามารถผลิตข้าวจน
เพียงพอต่อการบริโภคภายในประเทศแล้ว นักวิจัยก็เริ่มปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้มีคุณภาพดีตามความ
นิยมของผู้บริโภค โดยใช้พันธุ์ข้าว japonica เป็นพันธุ์พ่อแม่ เพื่อให้ได้คุณภาพข้าวเหนียวนุ่มขึ้น
เนื่องจากช่วงเวลาที่ผ่านมา รัฐได้ส่งเสริมภาค อุตสาหกรรมเป็นอย่างมาก ทําให้ช่องว่าง
รายได้ระหว่างชุมชนเมืองกับชนบทห่างกันมากขึ้น อย่างไรก็ดี นโยบายของรัฐก็เน้นการผลิตภาค
MBA-ONLINE IN KOREA 18สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
เกษตรให้เพียงพอต่อความต้องการภายในประเทศ เพราะในปัจจุบันเกาหลีใต้ต้องนําเข้าสินค้า
เกษตรเป็นจํานวนมาก ด้วยพื้นที่การเกษตรที่ลดลงเรื่อยๆ ทําให้เกิดปัญหาเรื่องการพัฒนาภาค
เกษตรของเกาหลีใต้ ทําให้รัฐต้องกําหนดเขตพื้นที่ส่งเสริมการเกษตรขึ้น รัฐมีการปฏิรูปการใช้ที่ดิน
ลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการเกษตร เช่น ระบบชลประทาน พัฒนาเครื่องจักรกล
การเกษตร รวมไปจนถึงพัฒนาระบบตลาดสินค้าเกษตร โดยเกษตรกรที่อยู่ ในเขตส่งเสริมนี้
สามารถเป็นเจ้าของพื้นที่ฟาร์มได้โดยไม่มีการจํากัดขนาดพื้นที่ แต่การเปลี่ยนพื้นที่การเกษตรเพื่อ
ใช้ประโยชน์อย่างอื่น เจ้าของที่ดินต้องขออนุญาตต่อหน่วยงานรัฐก่อน ในปี 2543 รัฐสามารถจัด
เขตฟาร์มให้อยู่ในเขตส่งเสริมการเกษตรนี้ได้ประมาณ 55 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ฟาร์มทั้งหมด
ถึงแม้ว่าความสําคัญด้านเศรษฐกิจของภาคเกษตรจะด้อยกว่าภาคอุตสาหกรรมมากก็
ตาม เกาหลีใต้ยังต้องการพัฒนาด้านการเกษตรให้สามารถเลี้ยงประชากรของประเทศได้ แนวทาง
พัฒนาการเกษตรของเกาหลีใต้จะมุ่งเน้นพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกา รผลิต
เพื่อให้สามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ แต่ในขณะเดียวกันต้องมีความยั่งยืนและไม่ส่งผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อม การรักษาเสถียรภาพการผลิตข้าวและธัญพืชอื่น เช่น ข้าวบาร์เลย์ และพืชผักที่ใช้แปร
รูปเป็นกิมจิ ยังเป็นความจําเป็นอับดับต้นๆ ของนโยบายด้านการเกษตรของเกาหลีใต้ ปัจจุบันรัฐมี
นโยบายที่สําคัญเพื่อพัฒนาการเกษตรของประเทศ เช่น พัฒนาบุคลกรด้านการเกษตรให้มีความรู้
ความชํานาญเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย การประกันรายได้ของเกษตรกรที่ผลิตสินค้า
เกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสินค้าเกษตรให้หลากหลายเพื่อ เพิ่ม
มูลค่า พัฒนาระบบการจัดการหลังเก็บเกี่ยวเพื่อควบคุมคุณภาพสินค้าเกษตร ตลอดจนปรับปรุง
คุณภาพชีวิตของคนชนบทที่ยึดอาชีพเกษตรกรรม เช่นมีระบบประกันสุขภาพ สนับสนุนด้าน
การศึกษา สร้างงานนอกฟาร์มในระหว่างนอกฤดูกาลผลิต พัฒนาสภาพแวดล้อมชนบทเพื่อจูงใจ
ให้ผู้คนอยากอาศั ยอยู่ในชนบทและยึดอาชีพเกษตรกรรม เป็นต้น เชื่อว่าในอนาคตอันใกล้นี้
MBA-ONLINE IN KOREA 19สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
การเกษตรกรรมของประเทศไทยอาจต้องเผชิญกับปัญหาหลายๆ อย่าง เช่นเดียวกับที่เกาหลีใต้
กําลังประสบอยู่ มาตรการหรือนโยบายรัฐที่เกาหลีใต้พยายามนําใช้เพื่อแก้ไขปัญหาและเพื่อ
พัฒนาภาคการเกษตรของประเทศ อาจเป็นประโยชน์สําหรับประเทศไทยที่จะนํามาปรับใช้ได้
เช่นกัน
เกาหลีใต้ก้าวหน้าได้อย่างไร (ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ)
ประเทศเกาหลีใต้ เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า มีเพียงไม่กี่ประเทศในโลกเท่านั้น ที่
สามารถพัฒนาเทคโนโลยี อุตสาหกรรม และเศรษฐกิจได้อย่างรวดเร็วเท่าเกา หลีใต้ (ซึ่งต่อไปจะ
เรียกว่า เกาหลี เฉยๆ) จากประเทศเกษตรกรรมที่ยากจน เกาหลีได้กลายเป็นประเทศ
อุตสาหกรรมใหม่ภายในระยะเวลาเพียง 3 ทศววรรษ
รายได้ประชาชาติ (Gross National Product, GNP) ของเกาหลีเพิ่มจาก 87 เหรียญ
สหรัฐ/คน ในปี ค.ศ. 1962 ไปเป็น 8483 เหรียญสหรัฐ/คน ใน ปี ค.ศ. 1994 และ สูงกว่า 10,000
เหรียญสหรัฐ/คน ในปี ค.ศ. 1995
ในปี ค.ศ. 1995 นี้เอง รายได้ประชาชาติได้แตะระดับ 440 พันล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่ง
หมายความว่า เกาหลีใต้มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 11 ของโลก และ ถ้าคิดมูลค่าเพิ่มที่
ได้จากการผลิตในเชิงอุตสาหกรรม (manufacturing value-added) ก็จะเป็นอันดับที่ 7 ของโลก
เกาหลีประสบความสําเร็จในการก้าวกระโดดทางเศรษฐกิจจากอันดับที่ 101 (ค.ศ.
1962) ไปเป็น 11 (ค.ศ. 1995) ในระยะเวลาเพียง 33 ปี (สังเกตว่า เลข 0 ตรงกลางหายไปตัว
เดียว!)
ถ้าหากคิดในแง่ของประเทศผู้ส่งออกผลิต ภัณฑ์อุตสาหกรรม เกาหลีได้ไต่จากอันดับที่
101 ในปี ค.ศ. 1962 เป็นอันดับที่ 13 ในปี ค.ศ. 1994 ในปี ค.ศ. 1994 เกาหลีติดอันดับต้น ๆ ของ
MBA-ONLINE IN KOREA 20สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
โลกทางด้านต่าง ๆ หลายด้าน เช่น เป็นอันดับที่ 2 ด้านการต่อเรือและเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์ใน
บ้าน อันดับที่ 3 ด้านวงจรรวม อันดับที่ 5 ด้านสิ่งทอ เส้นใยเคมี ปิโตรเคมี และ อิเล็กทรอนิกส์
และ อันดับที่ 6 ด้านยานยนต์ เหล็กและเหล็กกล้า เป็นต้น
ขีดความสามารถทางเทคโนโลยีกับการพัฒนาอุตสาหกรรม
สมรรถนะของธุรกิจอุตสาหกรรมต้องมีฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่แข็งแกร่ง
ประเทศที่พัฒนาแล้วมีขีดความสามารถทางเทคโนโลยี (technological capability) ของตนเอง
ในระดับสูง
ขีดความสามารถทางเทคโนโลยีคืออะไร ? ขีดความสามารถทางเทคโนโลยี คือ
ความสามารถในการใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีในการระบุความต้องการ (identifying needs) การ
เลียนแบบ (assimilation) การใช้ (use) การดัดแปลง (adaptation) การเปลี่ยนแปลง (change)
หรือ การสร้างเทคโนโลยีใหม่ (creation) โดยอาจแบ่งได้เป็น 3 องค์ประกอบ ได้แก่
1. ความสามารถในการผลิต (Production Capability) : ใช้ของที่มีอยู่แล้วให้เกิดประโยชน์
สูงสุด ได้แก่ ความสามารถในการใช้งานและบํารุงรักษาเครื่องจักรและกระบวนการผลิต
2. ความสามารถในการลงทุนเพิ่มเติม (Investment Capability) : ลงทุนขยายของเดิมที่มี
อยู่เพิ่มออกไป ได้แก่ ความสามารถในการออกแบบและสร้างโรงงานใหม่
3. ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม (Innovation Capability) : สร้างเทคโนโลยีหรือ
ผลิตภัณฑ์ขึ้นมาจากแน วคิดใหม่ ได้แก่ ความสามารถในการให้กําเนิดผลิตภัณฑ์และ
กระบวนการผลิตใหม่ รวมทั้งการปรับปรุงของที่มีอยู่ให้ดีขึ้นกว่าเดิมอย่างมาก
MBA-ONLINE IN KOREA 21สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
ปัจจัยที่กําหนดการสร้างขีดความสามารถทางเทคโนโลยี ได้แก่ ฐานความรู้ที่มีอยู่เดิม
(ความรู้เดิมมีอยู่เท่าไร ) และ ที่สําคัญยิ่งกว่า คือ ระดับความพยายามที่จะเลียนแบบ -ดูดซึม
เทคโนโลยี (เอาจริงแค่ไหน)
ขีดความสามารถทางเทคโนโลยีมีความสําคัญอย่างยิ่งเนื่องจากเป็นปัจจัยกําหนด
ความสามารถในการแข่งขันทางอุตสาหกรรม เทคโนโลยีที่แท้จริงนั้นเป็นความรู้ -ความชํานาญที่
แฝงอยู่ในตัวคน เป็นปัจจัยกําหนดระดับความสมบูรณ์ของการถ่ายทอดเทคโนโลยี คําว่า "ความรู้
แฝง” หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกว่า tacit knowledge นั้น หมายถึง ความรู้-ความชํานาญ หรือ
ทักษะที่ไม่สามารถเขียนหรือพูดออกมาได้ (เช่น ความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้น และ การ
ประเมินคุณภาพของสิ่งต่าง ๆ โดยใช้การมอง การฟัง และการสัมผัส เป็นต้น) ส่วนความรู้อีก
ลักษณะหนึ่งซึ่งเห็นได้ชัดเจนกว่านั้นเรียกว่า "ความรู้ที่เห็นได้อย่างชัดแจง ” หรือ explicit
knowledge ซึ่งเป็นความรู้ที่นอกจากจะบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรได้แล้ว ยังซื้อ-ขายได้อีกด้วย
(ตัวอย่างเช่น หนังสือ ข้อกําหนดทางเทคนิค เครื่องจักรกล โรงงาน ฯลฯ)
ปัจจัยขับเคลื่อนการพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมของเกาหลี
การพัฒนาอุตสาหกรรมให้สําเร็จขึ้นกับปัจจัยหลายด้าน ได้แก่ ปัจจัยทางด้านสังคม
เศรษฐกิจ และ เทคโนโลยี แต่ที่สําคัญที่สุดคือ ปัจจัยด้านเทคโนโลยี อย่างไรก็ตาม ในกรณีของ
เกาหลี Linsu Kim ได้จําแนกเงื่อนไขและปัจจัยต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ ได้แก่ 1. รัฐบาล 2. กลุ่ม
บริษัทขนาดใหญ่ หรือ แชโบล 3. การศึกษา 4. นโยบายการส่งออก 5. กลยุทธการถ่ายทอด
เทคโนโลยี 6. นโยบายการวิจัยและพัฒนา 7. เงื่อนไขทางสังคม-วัฒนธรรม และ 8. กลยุทธ์ของ
ภาคเอกชน ซึ่งจะมีรายละเอียดดังนี้
MBA-ONLINE IN KOREA 22สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
1. รัฐบาล ในช่วงทศวรรษที่ 1960 และ 1970 เกาหลีมีรัฐบาลที่เผด็จการที่เข้มแข็งและ
รวมศูนย์อํานาจ ทําให้มีการวางแนวนโยบายที่ทําให้มีการเรียนรู้เทคโนโลยีมีประสิทธิผลสูง ใน
ระยะนี้มาตรการนโยบายอุตสาหกรรม (ซึ่งเพิ่มอุปสงค์ของเทคโนโลยี ) ได้ผลดีกว่านโยบาย
ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กลยุทธ์หลักที่ใช้ได้ผลคือ การสร้างกลุ่มอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ หรือ ที่รู้จักกันในนามว่า
แชโบล (chaebol) การกําหนดนโยบายการส่งออก และ การใช้วิกฤติเพื่อเร่งการเรียนรู้และเรียนรู้
เทคโนโลยีของบริษัทเอกชน โดยการทําให้บริษัทหนึ่ง ๆ ตกอยู่ในสถานการณ์ "รอด หรือ ตาย"
นอกจากนี้ทางด้านการศึกษาก็ทําได้ดี อย่างไรก็ตาม สถาบันวิจัยของรัฐและอื่น ๆ กลับ
ไม่มีบทบาทมากเท่าที่ควร เนื่องจาก ความรู้-ความชํานาญที่มีอยู่ไม่สอดคล้องกับความต้องการ
ของภาคอุตสาหกรรม
ในช่วงทศวรรษต่อ ๆ มา อิทธิพลของรัฐบาลได้ลดลงมาก เนื่องจาก สาเหตุหลายประการ
เช่น เทคโนโลยีและสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมาก (กลไกของรัฐชักช้า ตามไม่ทัน)
ผนวกกับ การคอรัปชันและการสมรู้ร่วมคิดกันระหว่างรัฐและแชโบล (ซึ่งใหญ่และมีอํานาจมาก)
ทําให้เกิดความไม่เสมอภาคในการกระจายทรัพยากรไปในด้านต่าง ๆ
2. กลุ่มบริษัทขนาดใหญ่ (แชโบล) หากเปรียบเทียบประเทศเกาหลีเป็นรถยนต์
รัฐบาลเป็นคนขับ แชโบลก็จะเป็นเสมือน “เครื่องยนต์” รัฐบาลเกาหลีได้จงใจสร้างและฟูมฟักแช
โบลเพื่อให้เป็น “เครื่องยนต์” สําหรับการเรียนรู้เทคโนโลยีและการเติบโตทางเศรษฐกิจ แชโบล
เป็นองค์กรหลักในการผลิตและการส่งออกสินค้าของเกาหลี
ทําไมการใช้แชโบลจึงประสบความสําเร็จในการพัฒนาทางเทคโนโลยี ? เหตุผลหลาย
ประการ ได้แก่
MBA-ONLINE IN KOREA 23สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
 สามารถดึงดูดบุคลากรที่มีคุณภาพเข้ามาทํางาน ทําให้เกิดการสั่งสมความรู้แฝง
อย่างมาก อีกทั้งยังได้รับเงินอุดหนุนพิเศษจากรัฐ ซึ่งนํามาใช้ในการทําวิจัยเพื่อเร่งการเรียนรู้
ภายในองค์กร และ เป็นผู้นําในการทําวิจัยและพัฒนาในภาคอุตสาหกรรม
 มีขนาดที่ใหญ่พอและดําเนินกิจกรรมที่หลากหลายทําให้สามารถลงทุนในธุรกิจ
ที่ใหญ่และมีความเสี่ยงสูงได้ โดยเอากําไรจากส่วนอื่นมาใช้ในส่วนที่เสี่ยง การควบคุมจาก
ศูนย์กลาง ทําให้เกิดการแพร่กระจายของเทคโนโลยีในแชโบลหนึ่ง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ
 มีทรัพยากรด้านเทคนิคและเงินมากพอที่จะขยายกิจกรรมด้าน R&D ไปทั่วโลก
และ สามารถเฝ้ าติดตามเทคโนโลยีล่าสุดอย่างเกาะติดสถานการณ์ได้ (เช่น ในกรณีของการ
พัฒนาเทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ก็ไปสร้างสถาบันวิจัยที่ซิลิคอนแวลเลย์ (Silicon Valley) ใน
สหรัฐอเมริกา) แชโบลยังได้รับแรงกดดันหรือวิกฤติที่จงใจสร้างโดยรัฐเป็นระยะ วิกฤติต่าง ๆ นี้
ช่วยเร่งการเรียนรู้อย่างก้าวกระโดด
โดยสรุป แชโบลเป็นแรงผลักดันสําคัญในการทําให้อุตสาหกรรมของเกาหลีที่ใช้
เทคโนโลยีเป็นฐานแพร่กระจายไปทั่วโลก อย่างไรก็ตาม แชโบลก็มีด้านลบไม่น้อยเช่นกัน เช่น ใน
ระดับมหภาค กระจายทรัพยากรเป็นไปอย่างไม่เป็นธรรม เนื่องจากรัฐเน้นส่งเสริมแชโบล แต่ไม่ได้
สนับสนุนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (small and medium size enterprises) หรือ
SMEs เท่าที่ควร ในระดับจุลภาค มีเกิดการผูกขาดในอุตสาหกรรม เช่น ทําให้เกิดการขาดแคลน
โก่งราคา ฯลฯ ผลโดยรวมก็คือ SMEs ไม่สามารถเติบโตได้ นอกจากนี้ การขาดเครือข่าย SMEs
ทําให้เกาหลีต้องพึ่งพาซัพพลายเออร์ของญี่ปุ่นอย่างมากในอุตสาหกรรมยานยนต์และ
อิเล็กทรอนิกส์
MBA-ONLINE IN KOREA 24สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
3. การศึกษา ประเทศเกาหลีไม่ค่อยมีทรัพยากรธรรมชาติ รัฐบาลและพ่อแม่ผู้ปกครอง
ได้ลงทุนอย่างมากด้านการศึกษา ตัวอย่างเช่น รัฐบาลได้ขยายสถาบันการศึกษาออกไปจํานวน
มาก และ ได้เพิ่มงบประมาณจาก 2.5% ในปี ค.ศ. 1951 ไปเป็น 17% ในปี ค.ศ. 1966
เรื่องการศึกษานี้ประเทศกําลังพัฒนาแล้วต่างก็ (อ้างว่า) ได้พยายามทําเช่นกัน แต่เกาหลีมีจุด
แตกต่างอย่างไร ? เกาหลีได้ขยายการศึกษาทุกระดับอย่างได้สัดส่วนก่อนที่จะเริ่มขับเคลื่อน
อุตสาหกรรม (ซึ่งทําให้เกิดปัญหาการว่างงานช่วงสั้น ๆ ระยะหนึ่งในทศวรรษที่ 1960) "คน" ที่ได้
สร้างไว้นี้ต่อมาเป็นฐานอันสําคัญในการเรียนรู้ ดูดซับ ปรับปรุงเทคโนโลยี (เช่น การทําวิศวกรรม
ย้อนรอยเทคโนโลยีจากต่างประเทศ ) นับเป็นการสั่งสมความรู้แฝงเอาไว้เพื่อรองรับการพัฒนา
เทคโนโลยีขั้นสูงในระยะต่อมา
อย่างไรก็ตาม ในทศวรรษต่อ ๆ มา (ราว 30 ปี) เกาหลีลงทุนด้านการศึกษาน้อยเกินไป
ทําให้เกิดปัญหา "คอขวด" รุนแรงที่สุด นอกจากนี้ยังมีปัญหาอื่น ๆ อีก เช่น มหาวิทยาลัยส่วน
ใหญ่ก็เน้นการเรียนการสอนมากกว่าการทําวิจัยและพัฒนา เป็นต้น
4. นโยบายการส่งออก แม้ว่านโยบายการผลิตเพื่อทดแทนการนําเข้าทําให้เกิดตลาด
ภายในประเทศสําหรับแชโบล อีกทั้งยังมีเกราะป้ องกันจากนโยบายของรัฐที่ได้วา งไว้ให้ แต่
นโยบายการผลิตเพื่อการส่งออกทําให้แชโบล ต้องลงสนามแข่งขันในระดับโลก ดังนั้นจึงเป็นการ
ส่งเสริมการเรียนรู้เทคโนโลยีที่ได้ผลดีกว่า เนื่องจากสาเหตุหลายประการ ได้แก่
 นโยบายเน้นการส่งออกทําให้แชโบลตกอยู่ในสภาพ "ไม่อยู่-ก็ไป" ซึ่งจะเร่ง
กระตุ้นการเรียนรู้เทคโนโลยี เช่น โดยการลอกเลียนแบบเทคโนโลยีการผลิตจากต่างประเทศ
MBA-ONLINE IN KOREA 25สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
 ผู้ส่งออกเกาหลีลงทุนในระดับที่ใหญ่กว่าขนาดของตลาดภายในมาก เพื่อให้
สินค้ามีราคาถูกเนื่องจากเกิดการประหยัดโดยขนาด (economy of scale) ดังนั้น จึงเกิดวิกฤติที่
จะต้องเพิ่มผลิตภาพเพื่อให้สามารถแข่งขันในตลาดโลกได้
 การแข่งขันในตลาดโลกทําให้ต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านคุณภาพ
และราคาของสินค้า
 รัฐบาลหนุนแชโบลก็จริงอยู่ แต่ก็สร้างและใช้วิกฤติในการกดดันแชโบลให้เรียนรู้
เทคโนโลยี Linsu Kim ได้เปรียบเทียบไว้ว่า "เหมือนกับครูฝึกสอนว่ายนํ้าที่ผลักผู้เรียนลง ไปในนํ้า
แต่จะคอยเฝ้ าดูและช่วยเหลือจนกระทั่งผู้เรียนว่ายนํ้าเป็น " การใช้วิกฤติเช่นนี้ทําให้บริษัทเกาหลี
เรียนรู้อย่างก้าวกระโดดเป็นระยะ ตัวอย่างรายละเอียดของการใช้วิกฤติอยู่ในหัวข้อย่อยของ กล
ยุทธ์ของภาคเอกชน (ข้อ 8)
อย่างไรก็ตามเกี่ยวกับนโยบายการส่งออกนี้ วอลเดน เบลโล ได้ชี้ให้เห็นถึงข้อเสียไว้เช่น
ว่าได้ดําเนินควบคู่ไปกับการกดค่าแรงงานขั้นตํ่า และ การใช้แรงงานสตรี [เบลโล]
5. กลยุทธ์ในการถ่ายทอดเทคโนโลยี การถ่ายทอดเทคโนโลยีจากต่างชาติมีบทบาท
สําคัญในการเร่งการเรียนรู้เทคโนโลยีทั้งทางด้านความรู้แฝง และ ความรู้ที่เห็นได้อย่างชัดแจ้ง
ในยุคก่อนปี ค.ศ. 1970 รัฐบาลเกาหลีได้จํากัดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
(foreign direct investment, FDI) และ การซื้อลิขสิทธิ์ (foreign licensing, FL) เพื่อปกป้ อง
ตลาดภายในประเทศจากบรรษัทข้ามชาติ การทําเช่นนี้ทําให้เกาหลีเป็นอิสระได้ในระดับหนึ่ งจาก
การบริหารจัดการโดยต่างชาติ และ ทําให้บริษัทเกาหลีพยายามที่จะพัฒนาเทคโนโลยีเอง หรือใน
การที่จะซื้อลิขลิทธิ์ก็จะมีอํานาจต่อรองสูงขึ้นในการต่อรองการถ่ายทอดเทคโนโลยี “เข้าที่
(mature)” แล้ว
MBA-ONLINE IN KOREA 26สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
รัฐสนับสนุนการนําเข้าสินค้าทุน (capital goods) แต่การทําเช่นนี้ได้ทําใ ห้การพัฒนา
อุตสาหกรรมเครื่องจักรกลในประเทศชะลอตัวลง สําหรับการบังคับให้นําเข้าสินค้าได้นําไปสู่การ
ทําวิศวกรรมย้อนรอยสินค้าจากต่างประเทศ ซึ่งมีปัญหาคือทําให้การถ่ายทอดช้าและขึ้นกับซับ
พลายเออร์ แต่เนื่องจากคนเกาหลีพร้อมที่จะทํางานหนักและมีความรู้แฝงพอเพียง จึงทําให้
ประสบความสําเร็จ
ในปี ค.ศ. 1970 รัฐบาลได้ผ่อนคลายข้อจํากัดเกี่ยวกับ FDI และ FL เพราะว่า
อุตสาหกรรมของเกาหลีเริ่มต้องดูดซับเทคโนโลยีชั้นสูงยิ่งขึ้นกว่าก่อนหน้านั้น
การปรับปรุงกฎระเบียบอย่างยืดหยุ่นในสภาพที่เศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วเป็น
สิ่งสําคัญในการดํา เนินแนวนโยบายในการที่จะทําให้สอดคล้องกับความต้องการของ
ภาคอุตสาหกรรม และ การส่งเสริมให้การเรียนรู้เทคโนโลยีมีประสิทธิผล
6. นโยบายการวิจัยและพัฒนา รัฐบาลได้พัฒนาเครือข่ายสถาบันวิจัยและพัฒนาของ
รัฐ (Government Research Institute) หรือ GRI ในการทําการวิจัยและพัฒนาเชิงอุตสาหกรรม
ขั้นสูง (advanced industrial R&D) ตัวอย่างเช่น Korea Institute of Science and Technology
(KIST) และ สถาบันวิจัยที่แตกหน่อออกไปจาก KIST ได้ใช้เงินทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา
จํานวนมากในช่วงทศวรรษที่ 1960
ปัญหา คือ ความรู้ความชํานาญของนักวิจัยใน GRI ไม่เชื่อมโยงกับความต้องการของ
ภาคอุตสาหกรรม เพราะว่า นักวิจัยยังขาดความรู้ด้านการผลิตซึ่งนําไปสู่ต้นแบบ ดังนั้นจึงช่วย
อุตสาหกรรมไม่ได้มากนัก รัฐบาลได้พยายามแก้ปัญหานี้โดยการบังคับให้บริษัทขนาดใหญ่
ทํางานวิจัยร่วมกับ GRI แต่ก็ไม่สําเร็จอีก เพราะความสามารถที่มีอยู่ไม่ตรงกับความต้องการของ
ภาคเอกชน
MBA-ONLINE IN KOREA 27สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม
แม้ว่า GRIs จะประสบความสําเร็จในงานวิจัยที่สําคัญหลายอย่างก็ตาม แต่งานวิจัย
ดังกล่าวก็ "ขึ้นหิ้ง" เนื่องจากภาคเอกชนของเกาหลียังมีความไม่แน่ใจเกี่ยวกับความสามารถทาง
วิศวกรรมและการผลิตของ GRI ดังนั้น GRI หลายแห่ง เช่น KIST จึงสร้างบริษัทที่ทําการผลิตขึ้น
เอง เพื่อทําการผลิตในเชิงพาณิชย์ และ สร้างบริษัทขึ้นมาจัดการเกี่ยวกับการเงินและดูแลบริษัทที่
ทําการผลิตเหล่านี้
อย่างไรก็ตาม GRI ก็มีข้อดีบ้างเหมือนกันในแง่ที่ว่า ช่วยในการเสาะหาและถ่ายทอด
เทคโนโลยีอยู่บ้างในระยะแรก ๆ ของการพัฒนาอุตสาหกรรม เช่น ให้ความรู้เบื้องต้นก่อนการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยี ช่วยในการถ่ายทอดและเผยแพร่เทคโนโลยี โดยการทําวิศวกรรมย้อนรอย
เทคโนโลยีจากต่างประเทศ (ตัวอย่างเช่น การทําวิศวกรรมย้อนรอยการผลิตฟิล์มโพลิเอสเทอร์
เป็นต้น) GRI ยังช่วยสร้างนักวิจัยที่มีประสบการณ์สูงในกา รทําวิจัย ซึ่งในระยะหลังได้เข้าสู่
ศูนย์วิจัยและพัฒนาของภาคเอกชน (จากการศึกษาของ James Utterback เกี่ยวกับบทบาทของ
GRI ในประเทศแถบละตินอเมริกา พบว่า GRI ในประเทศที่กําลังไล่กวดประเทศพัฒนาแล้ว
ทางด้านเทคโนโลยีนั้น บทบาทของ GRI คือการให้ความช่วยเหลือและทําให้การถ่ ายทอด
เทคโนโลยีสะดวกขึ้น ทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ)
ในระยะต่อมา บทบาทของ GRI ต่อศูนย์วิจัยและพัฒนาของแชโบลได้อ่อนลงเรื่อย ๆ เนื่องจาก
สาเหตุหลัก 2 ประการ ได้แก่ การระบบราชการมีขั้นตอนชักช้า และ การที่ GRI เก็บนักวิจัยที่เก่ง
ๆ เอาไว้ไม่อยู่ นักวิจัยที่มีความสามารถเหล่านี้มีทางเลือกที่จะเข้าสู่มหาวิทยาลัยซึ่งมีอิสระในการ
ทํางานมากกว่า หรือ อาจเข้าสู่การวิจัยในภาคเอกชนซึ่งมี "เงิน" สูงกว่า จูงใจมากกว่า
ประสบการณ์ของเกาหลีบอกเราว่า บทบาทของรัฐควรปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ เช่น
ช่วงแรกของการพัฒนาอุตสาหกรร ม GRI ทําหน้าที่ให้ความช่วยเหลือทางเทคโนโลยีแก่
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final
Korea+final

More Related Content

More from New Nan

ขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยาขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยาNew Nan
 
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคตญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคตNew Nan
 
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่New Nan
 
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่นโครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่นNew Nan
 
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน New Nan
 
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์New Nan
 
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7New Nan
 
ประเภทเถา
ประเภทเถาประเภทเถา
ประเภทเถาNew Nan
 
ประเภทต้น
ประเภทต้นประเภทต้น
ประเภทต้นNew Nan
 
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)New Nan
 
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ 10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ New Nan
 
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้ คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้ New Nan
 
20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +New Nan
 
9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !New Nan
 
เปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริงเปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริงNew Nan
 
กบฏนักมวย
กบฏนักมวยกบฏนักมวย
กบฏนักมวยNew Nan
 
นครปอมเปอี
นครปอมเปอีนครปอมเปอี
นครปอมเปอีNew Nan
 
ตำ น า น รั ก... ข น ม ก บ ฎ
ตำ น า น รั ก...  ข น ม ก บ ฎตำ น า น รั ก...  ข น ม ก บ ฎ
ตำ น า น รั ก... ข น ม ก บ ฎNew Nan
 
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิพุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิNew Nan
 
เรื่องสั้นชวนคิด3
เรื่องสั้นชวนคิด3เรื่องสั้นชวนคิด3
เรื่องสั้นชวนคิด3New Nan
 

More from New Nan (20)

ขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยาขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยา
 
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคตญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
 
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
 
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่นโครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
 
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
 
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
 
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
 
ประเภทเถา
ประเภทเถาประเภทเถา
ประเภทเถา
 
ประเภทต้น
ประเภทต้นประเภทต้น
ประเภทต้น
 
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
 
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ 10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
 
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้ คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
 
20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +
 
9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !
 
เปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริงเปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริง
 
กบฏนักมวย
กบฏนักมวยกบฏนักมวย
กบฏนักมวย
 
นครปอมเปอี
นครปอมเปอีนครปอมเปอี
นครปอมเปอี
 
ตำ น า น รั ก... ข น ม ก บ ฎ
ตำ น า น รั ก...  ข น ม ก บ ฎตำ น า น รั ก...  ข น ม ก บ ฎ
ตำ น า น รั ก... ข น ม ก บ ฎ
 
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิพุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
 
เรื่องสั้นชวนคิด3
เรื่องสั้นชวนคิด3เรื่องสั้นชวนคิด3
เรื่องสั้นชวนคิด3
 

Korea+final

  • 1. MBA-ONLINE IN KOREA 1สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม เกาหลีใต้ (Korea) (한국 หรือ 조선) เป็นประเทศในอดีตตั้งอยู่ในคาบสมุทรเกาหลี ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศเกาหลี ถูกแบ่งออกเป็นประเทศเกาหลีเหนือ และ ประเทศเกาหลีใต้
  • 2. MBA-ONLINE IN KOREA 2สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเกาหลีใต้ ธงชาติเกาหลี สัญลักษณ์บนธงชาติเกาหลีเป็นเรื่องปรัชญา โดยเฉพาะรูปวงกลมกลางผืนธงซึ่งแบ่ง เท่ากัน ด้านบนเป็นสีแดงเป็นตัวแทนของหยาง ด้านล่างสีนํ้าเงินเป็นตัวแทนของหยิน ทางภาษา เกาหลีออกเสียงเป็นอึมและหยาง ชาวเกาหลีเรียกธงชาติของตนว่า “แทกึกกี” แปลว่าธงอันยิ่งใหญ่ ใช้เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.2135 อันเป็นปีที่ 19 แห่งพระเจ้าโคจง ราชวงศ์ยี เมื่อญี่ปุ่นยุติการรุกราน เกาหลีครั้งนั้น คิมอกควุนและปักยองโย เป็นฑูตพิเศษเดินทางไปญี่ปุ่นด้วยความรักชาติ พร้อมกับ ชักธงแทกึกกีเหนือรําเรือ ต่อมาเมื่อปีพ .ศ.2462 สาธารณรัฐเกาหลีจึงนําธงดังกล่าวมาเป็นธง ประจําชาติ ความหมายแห่งสัญลักษณ์บนผืนธงชาติเกาหลีใต้ มีดังนี้ - สีขาวบนผืนธงหมายถึง สันติภาพ - วงกลมกลางผืนธงหมายถึง เอกภาพ - สัดส่วนสมดุลกลางวงกลมหมายถึง การสร้างสรรค์
  • 3. MBA-ONLINE IN KOREA 3สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม - เส้นขีดสีดําที่มุมบนซ้าย หมายถึง สวรรค์,ทิศใต้,ฤดูใบไม้ผลิ - เส้นขีดสีดําที่มุมล่างซ้าย หมายถึง ดวงอาทิตย์,ทิศตะวันออก,ฤดูใบไม้ร่วง - เส้นขีดสีดําที่มุมบนขวา หมายถึง ดวงจันทร์,ทิศตะวันตก,ฤดูหนาว - เส้นขีดสีดําที่มุมล่างขวา หมายถึง โลก,ทิศเหนือ,ฤดูร้อน ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์เริ่มจาก อาณาจักรโคโชซอน สถาปนาขึ้นโดย "ทันกุน" ต่อมาสมัยสาม อาณาจักรแห่งเกาหลี(โคกูรยอ, แพ็กเจ, และชิลลา)ถูกรวมเข้าด้วยกันเป็นอาณาจักรชิลลา ซึ่งมี พุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง และต่อมา ค .ศ. 918 ได้สถาปนา[[อาณาจักรโคเรียว] หรือ โค- รยอ ซึ่ง เป็นชื่อของเกาหลี (KOREA) และเมื่อราชวงศ์โชซอน(ราชวงศ์ลี)ครองอํานาจเปลี่ยนชื่ออาณาจักร ใหม่ ชื่อ อาณาจักรโชซอนเมืองหลวงชื่อว่า ฮันยาง (กรุงโซล) มีลัทธิขงจื้อ เป็นคติธรรมประจําชาติ และได้ประดิษฐ์อักษรเกาหลีขึ้น ในปี พ.ศ. 2453 ต้องอยู่ภายใต้การปกครองของญี่ปุ่นจนกระทั่งสิ้นสุด สงครามโลกครั้งที่ 2 ก็ได้รับอิสรภาพอย่างถาวร ประเทศเกาหลีแบ่งเป็น 2 ประเทศ คือ เกาหลีใต้และเกาหลีเหนือ โดย ประเทศเกาหลีใต้ สถาปนาเป็น สาธารณรัฐเกาหลี ประเทศเกาหลีเหนือ สถาปนา สาธารณรัฐประชาธิปไตประชาชน เกาหลี ดินแดนคาบสมุทรเกาหลีเป็นดินแดนที่มีความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ยาวนาน เริ่มแต่ เป็นดินแดนของผู้คนหลากเผ่าพันธุ์ จนกระทั่งรวมตัวขึ้นเป็นอาณาจักรเล็กๆ ต่อมาถูกจีนยึดครอง เมื่อได้เอกราชจากจีน คาบสมุทรเกาหลีประกอบด้วยสามอาณาจักสําคัญก่อนจะรวมตัวกันเป็น อาณาจักรเดียวปกครองด้วยราชวงศ์ 2 ราชวงศ์ จนถูกญี่ปุ่นยึดครองเป็นอาณานิคมจนสิ้นสุด
  • 4. MBA-ONLINE IN KOREA 4สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม สงครามโลกครั้งที่ 2 ตามมาด้วยสงครามเกาหลีที่ทําให้ต้องแบ่งเป็น 2 ประเทศในปัจจุบันคือ เกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ มีความพยายามที่จะรวมประเทศทั้งสองแต่ยังไม่สําเร็จ ยุคเผ่าพันธุ์ ในยุคแรกดินแดนบนคาบสมุทรเกาหลีประกอบด้วยผู้คนหลายเผ่าพันธุ์ เผ่า แรกที่ปรากฏคือเผ่าโชซอนโบราณ ตั้งถิ่นฐานอยู่ทางภาคเหนือ เรืองอํานาจในช่วงพ.ศ. 143 ‟ 243 ส่วนเผ่าอื่นได้แก่เผ่าพูยอ อยู่บริเวณปากแม่นํ้าซุนคารีทางแมนจูเรียเหนือ เผ่าโคกูรยออยู่ระหว่าง แม่นํ้าพมาก และแม่นํ้าอัมนก เผ่าโอกจออยู่บริเวณมณฑลฮัมกยอง เผ่าทงเยอยู่บริเวณมณฑลคัง วอน และเผ่าสามฮั่นคือ มาฮั่น ชินฮั่น และ พยอนฮั่น ที่อยู่บริเวณแม่นํ้าฮั่นและแม่นํ้านักดง ทาง ภาคใต้ของคาบสมุทรเกาหลี กษัตริย์ในตํานาน ตํานานที่เป็นที่แพร่หลายในประเทศเกาหลีเล่าถึงกําเนิดของชนชาติตน ว่า เจ้าชายฮวานุง โอรสของเทพสูงสุดบนสวรรค์ลงมาสร้างเมืองที่ภูเขาแตแบกซอน ได้แต่งงานกับ หญิงที่มีกําเนิดจากหมี มีโอรสชื่อตันกุน ต่อมาเป็นผู้ก่อตั้งอาณาจักรโชซอนโบราณ เมื่อ 1790 ปี ก่อนพุทธศักราช ดินแดนคาบสมุทรเกาหลีตกเป็นเมืองขึ้นจีนเมื่อ พ .ศ. 434 เมื่อจักรพรรดิหวู่ตี้แห่งราชวงศ์ ฮั่น ยกทัพเข้ายึดครองดินแดนของอาณาจักรโชซอนโบราณ และแบ่งเกาหลีเป็น 4 มณฑล คือ มณฑลนังนัง ชินบอน อิมดุน และฮยอนโท อย่างไรก็ตาม จีนปกครองมณฑลนังนังอย่างจริงจัง เพียงมณฑลเดียว มณฑลอื่นๆจึงค่อยๆแยกตัวเป็นเอกราช จน พ .ศ. 856 ชนเผ่าโกคูรยอเข้ายึด ครองมณฑลนังนัง ขับไล่จีนออกไปได้สําเร็จ การตกเป็นเมืองขึ้นของจีนทําให้เกาหลีได้รับอิทธิพล ทางวัฒนธรรมจากจีนมาก เช่น ตัวอักษรและศาสนา (พุทธและขงจื้อ) ยุคสามก๊ก แผนที่อาณาจักรทั้งสามบทความหลัก:ราชอาณาจักรทั้งสามของเกาหลี เมื่อ เป็นเอกราชจากจีน ดินแดนเกาหลีในขณะนั้นแบ่งเป็น 3 อาณาจักรด้วยกันคือ
  • 5. MBA-ONLINE IN KOREA 5สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม  อาณาจักรโกคูรยอทางภาคเหนือ เผ่าโกคูรยอเริ่มเข้มแข็งมา กขึ้นเมื่อราชวงศ์ฮั่น ของจีนล่มสลาย และสามารถขยายอํานาจเข้ายึดครองมณฑลนังนังจากจีนได้เมื่อ พ.ศ. 856  อาณาจักรแพกเจ ชนเผ่าแพกเจซึ่งเป็นเผ่าย่อยของเผ่าพูยอที่อพยพลงใต้ เข้ายึด ครองอาณาจักรอื่นรวมทั้งอาณาจักรเดิมของเผ่ามาฮั่น ตังเป็นอาณาจักรเมื่อ พ.ศ. 777  อาณาจักรชิลลา อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พัฒนาขึ้นจาก เผ่าซาโร แต่อาณาจักรนี้ไม่เข้มแข็งมากนักในช่วงแรก ดําเนินนโยบายเป็นมิตรกับอาณาจักรโก คูรยอตลอดจนกระทั่งหลังสงครามระหว่างอาณาจักรโกคูรยอกับแพกเจ อาณาจักรชิลลาจึง เข้มแข็งขึ้นเป็นลําดับ จนสามารถยึดครอ งลุ่มแม่นํ้าฮั่นและลุ่มแม่นํ้านักดงจากอาณาจักรแพกเจ ได้ ยุคอาณาจักรรวม เมื่ออาณาจักรชิลลาเข้มแข็งขึ้น อาณาจักรแพกเจจึงหันไปผูกมิตรกับ อาณาจักรโกคูรยอ ส่วนอาณาจักรชิลลาหันไปผูกมิตรกับราชวงศ์สุยและราชวงศ์ถังของจีน กอง กําลังผสมระหว่างจีนและชิลลายึดครองอาณาจักรแพกเจได้เมื่อ พ .ศ. 1203 และยึดครอง อาณาจักรโคกูรยอได้ในพ.ศ. 1211 โดยจีนเข้ามาปกครองอาณาจักโคกูรยอในช่วงแรก ต่อมา อาณาจักรชิลลากับราชวงศ์ถังเกิดขัดแย้งกัน อาณาจักรชิลลาจึงเข้ายึดอาณาจักรโคกูรยอจากจีน และเข้าปกครองคาบสมุทรเกาหลีอย่างเด็ดขาดเมื่อ พ.ศ. 1278 อาณาจักรชิลลาเจริญสูงสุดใน ยุคกษัตริย์คยองตอก หลังจากนั้นได้เสื่อมลงโดยสาเหตุหลักมาจากความขัดแย้งในหมู่เชื้อพระวงศ์ และเกิดการปฏิวัติบ่อยครั้ง กลุ่มชาวนาและกลุ่มอํานาจท้องถิ่นที่รู้สึกว่าถูกกดขี่ได้รวมกําลังกัน ต่อต้านอํานาจรัฐ วังกอน ผู้นํากลุ่มต่อต้านคนหนึ่ง เข้ายึ ดอํานาจและสถาปนาราชวงศ์โคเรียขึ้น เมื่อ พ.ศ. 1478 ยุคอาณาจักรโครยอ วังฮูมาสถาปนาตนเองเป็นกษัตริย์แทโจแห่งราชวงศ์โคเรียเมื่อ พ.ศ. 1486 อาณาจักรนี้เจริญสูงสุดในสมัยกษัตริย์มุนจง ยุคนี้เป็นยุคที่ส่งเสริมพระพุทธศาสนา มี
  • 6. MBA-ONLINE IN KOREA 6สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม การทําสงครามกับพวกญี่ปุ่นและมองโกล ถูกจีนคว บคุมในสมัยราชวงศ์หงวน จนเมื่ออํานาจของ ราชวงศ์หงวนอ่อนแอลง อาณาจักรโคเรียต้องพบกับปัญหาโจรสลัดญี่ปุ่นและการรุกรานของ ราชวงศ์หมิง ในที่สุดทําให้ฝ่ายทหารมีอํานาจมากขึ้นจนนําไปสู่การยึดอํานาจของนายพล ลี ซองเก และสถาปนาราชวงศ์ใหม่ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1935 ยุคราชวงศ์โชซอน นายพล ลี ซองกเยสถาปนาตนเองเป็นกษัตริย์แทโจแห่งาชวงศ์โช ซอน ในสมัยนี้ส่งเสริมลัทธิขงจื๊อให้เป็นลัทธิประจําชาติและไม่ส่งเสริมพุทธศาสนา ในราชวงศ์นี้เอง ที่ประดิษฐ์อักษรฮันกึลขึ้นใช้แทนอักษรจีน ความขัดแย้งกับชาติตะวันตกโดยเฉพาะเรื่องคริสต์ ศาสนาและความแตกแยกในหมู่ขุนนางทําให้ราชวงศ์นี้เสื่อมลง จนถูกญี่ปุ่นยึดครองและล้มล้าง ระบอบกษัตริย์ไปในที่สุด ยุคอาณานิคมของญี่ปุ่นและสงครามโลก เมื่อ พ .ศ. 2453 ญี่ปุ่นได้ผนวกเกาหลีเป็น ดินแดนของตนตามสนธิสัญญาการรวมญี่ปุ่น-เกาหลี ซึ่งสนธิสัญญานี้เป็นที่ยอมรับของญี่ปุ่นฝ่าย เดียว แต่ไม่เป็นที่ยอมรับในเกาหลี เพราะถือว่าไม่มีการลงนามของกษัตริย์เกาหลี เกาหลีถูกญี่ปุ่น ปกครองจนกระทั่งญี่ปุ่นเป็นฝ่ายแพ้สงครามเมื่อ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2488 ในระหว่างการปกครองของญี่ปุ่น มีการสร้างระบบคมนาคมแบบตะวันตก แต่ส่วนใหญ่ เพื่อประโยชน์ทางการค้าของญี่ปุ่นมากกว่าประโยชน์ของชาวเกาหลี ญี่ปุ่นล้มล้างราชวงศ์โชซอน ทําลายพระราชวัง ปรับปรุงระบบภาษี ให้ส่งข้าวจากเกาหลีไปญี่ปุ่น ทําให้เกิดความอดอยากใน เกาหลี มีการใช้แรงงานทาสในการสร้างถนนและทําเหมืองแร่ หลังการสวรรคตของกษัตริย์โกจง (Gojong) เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2461 ด้วยยาพิษ ทํา ให้เกิดการเรียกร้องเอกราชทั่วประเทศ เมื่อ 1 มีนาคม พ .ศ. 2461 ผลจากการลุกฮือขึ้นเรียกร้อง เอกราชทําให้ชาวเกาหลีราว 7,000 คนถูกฆ่าโดยทหารและตํารวจญี่ปุ่น ชาวคริสต์เกาหลีจํานวน
  • 7. MBA-ONLINE IN KOREA 7สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม มากถูกฆ่าหรือเผาในโบสถ์ระหว่างการเรียกร้องเอกราชมีการจัดตั้งรัฐบาลเฉพาะกาลของเกาหลีที่ เซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน หลังจากการเคลื่อนไหว 1 มีนาคม เพื่อต่อต้านการยึดครองของญี่ปุ่น การลุกฮือขึ้นต่อต้านญี่ปุ่นยังมีอยู่ต่อไป เช่น การลุกฮือของนักศึกษาทั่วประเทศเมื่อเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 จนนําไปสู่การประกาศกฎอัยการศึกเมื่อ พ.ศ. 2474 หลังจากเกิดสงคราม จีน-ญี่ปุ่นเมื่อ พ.ศ. 2480 ญี่ปุ่นพยายามลบล้างความเป็นชาติของเกาหลี การสอนประวัติศาสตร์ และภาษาเกาหลีในโรงเรียนถูกห้าม การแสดงออกทางวัฒนธรรมที่เป็นเกาหลีถือเป็นสิ่งผิด กฎหมาย ชาวเกาหลีถูกบังคับให้มีชื่อเป็นภาษาญี่ปุ่น สิ่งของมีค่าถูกนําออกจากเกาหลีไปยังญี่ปุ่น. หนังสือพิมพ์ถูกห้ามตีพิมพ์ด้วยภาษาเกาหลี หนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร์จํานวนมากถูกเผา ทําลาย ชาวเกาหลีจํานวนมากอพยพออกจากเกาหลีไปสู่แมนจูเรียและรัสเซีย ชาวเกาหลีใน แมนจูเรียจัดตั้งขบวนการกู้เอกราชชื่อ “ดุงนิปกุน” (Dungnipgun) ขบวนการนี้มีความสัมพันธ์ ใกล้ชิดกับจีน ทําสงครามกองโจรกับกองทัพญี่ปุ่น กองทัพเหล่านี้ได้รวมตัวกันเป็นกองทัพ ปลดปล่อยเกาหลี เมื่อราว พ .ศ. 2483 เคลื่อนไหวในจีนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชาวเกาหลี กว่าหมื่นคนเข้าร่วมในกองทัพปลดปล่อยประชาชนและกองทัพปฏิวัติแห่งชาติ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ชาวเกาหลีถูกบังคับให้ร่วมมือกับญี่ปุ่น ชายชาวเกาหลีถูก เกณฑ์เข้าร่วมในกองทัพญี่ปุ่น ผู้หญิงจากจีนและเกาหลีราว 200,000 คน ถูกส่งตัวไปเป็น นางบําเรอของทหารญี่ปุ่น การแบ่งแยกประเทศ ทหารปีนข้ามกําแพงทะเลในอินชอนหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง แนวโน้มของ การแบ่งประเทศเริ่มปรากฏขึ้นเมื่อ 8 กันยายน พ .ศ. 2488 เมื่อสหรัฐเข้าควบคุมภาคใต้ของ คาบสมุทรเกาหลี และโซเวียตเข้าควบคุมภาคเหนือ โดยใช้เส้นขนานที่ 38 องศาเป็นเส้นแบ่ง
  • 8. MBA-ONLINE IN KOREA 8สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม รัฐบาลชั่วคราวถูกยกเลิกเพราะสหรัฐเห็นว่าเป็นพวกคอมมิวนิสต์ ในครั้งแ รกการแบ่งแยกนี้เป็น การชั่วคราว และจะให้เอกราชแก่เกาหลีเมื่อสี่ชาติมหาอํานาจคือ สหรัฐ สหภาพโซเวียต อังกฤษ และจีน จัดการปกครองในเกาหลีสําเร็จ ในการประชุมไคโรเมื่อ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486 กําหนดให้เกาหลีเป็นชาติอิสระ และ การประชุมล่าสุดที่ยัลตาในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2488 ตกลงให้เกาหลีเป็นรัฐในอารักขาของชาติมหาอํานาจสี่ ชาติ ต่อมา 9 สิงหาคม พ.ศ. 2488 โซเวียตยกทัพจากไซ บีเรียเข้าสู่เกาหลีโดยไม่มีการต่อต้าน ญี่ปุ่นยอมแพ้เมื่อ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2488 ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2488 มี การประชุมที่มอสโกเพื่อตกลงเกี่ยวกับอนาคตของ เกาหลี โดยกําหนดให้เป็นรัฐในอารักขา 5 ปี และรวม ส่วนที่อยู่ภายใต้การควบคุมของสหรัฐและโซเวียตเข้าด้วยกัน มีการประชุมกันอีกครั้งที่กรุงโซลแต่ เองการตั้งประเทศใหม่ยังไม่ลุล่วง เดือนกันยายน พ .ศ. 2490 สหรัฐส่งปัญหาเกาหลีเข้าสู่ สหประชาชาติเพื่อให้เกาหลีเป็นรัฐเดียวที่มีเอกภาพ แต่ผลจากสงครามเย็นทําให้สหรัฐวางแผนคุ้ม กันเกาหลีเพื่อต่อต้านคอมมิวนิสต์ ส่งผลให้เกิดการแยกประเทศเมื่อ พ .ศ. 2491 เกิดเป็นสอง ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจและการปกครองต่างกัน สหประชาชาติยอมรับสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) เป็นตัวแทนเกาหลีในสหประชาชาติเพียงรัฐเดียวเมื่อ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2491 สงคราม เกาหลีระเบิดขึ้นเมื่อเดือนมิถุนายน พ .ศ. 2493 เมื่อเกาหลีเหนือยกทัพข้ามเส้นขนานที่ 38 องศา บุกเข้าโจมตีเกาหลีใต้ เป็นการยุติความพยายามในขณะนั้นที่จะรวมประเทศทั้งสองอย่างสันติ สงครามดําเนินไปจนมีข้อตกลงหยุดยิงเมื่อ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2496
  • 9. MBA-ONLINE IN KOREA 9สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม ความพยายามรวมประเทศหลังสงคราม เกาหลีใต้มีความพยายามที่จะรวมประเทศอย่างสันติตั้งแต่ พ.ศ. 2513 โดยเปิดการเจรจา กับเกาหลีเหนืออย่างต่อเนื่อง เริ่มจากการเจรจาระหว่างสภากาชาดฝ่ายใต้และเหนือ เพื่อให้ ครอบครัวที่พลัดพรากระหว่างสงครามได้พบหน้ากัน มีการออกแถลงการณ์ระหว่างสองประเทศ เมื่อ 4 กรกฎาคม พ .ศ. 2515 เพื่อยติการกล่าวร้ายระหว่างกัน แต่การเจรจาเพื่อรวมประเทศไม่ ราบรื่น ที่ประสบผลมีเพียงการอนุญาตให้ชาวเกาหลีทั้งสองประเทศข้ามเขตปลอดทหารไปมาหาสู่ กันได้ในช่วง 20-23 กันยายน พ.ศ. 2528 และการเจรจาเกี่ยวกับกีฬาโอลิมปิก พ.ศ. 2531 ที่กรุง โซล เท่านั้น การเจรจาเรื่องอื่นๆหยุดชะงักลงหลังพ .ศ. 2529 เนื่องจากเกาหลีเหนือไม่พอใจ เกี่ยวกับการซ้อมรบระหว่างเกาหลีใต้กับสหรัฐ ซึ่งถือเป็นการขัดแย้งกับการรวมชาติ เกาหลีใต้ พยายามประนีประนอมกับเกาหลีเหนือเพื่อการเจรจาจนมีการประชุมระดับผู้นําครั้งแรกเมื่อ 4 กันยายน พ.ศ. 2533 จากนั้นมีการประชุมต่อมาอีกหลายครั้ง อย่างไรก็ตามการรวมชาติเกาหลียัง เป็นสิ่งที่ต้องรอคอยต่อไปจนกระทั่งปัจจุบัน
  • 10. MBA-ONLINE IN KOREA 10สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม ภูมิศาสตร์ คาบสมุทรเกาหลีทอดตัวไปทางทิศใต้ทางด้านตะวันออกของทวีปเอเชีย มีความยาว 1,020 กิโลเมตร (612 ไมล์) และกว้าง 175 กิโลเมตร (105 ไมล์) ณ จุดที่แคบที่สุดของคาบสมุทร พื้นที่ 70% ของประเทศเป็นเทือกเขา จึงจัดเป็นประเทศที่มีภูมิประเทศเป็ นเทือกเขามากที่สุดแห่ง หนึ่งของโลก ความเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของแผ่นดินที่เป็นหินแกรนิตและหินปูนทําให้เกิดภูมิ ประเทศที่สวยงามอย่างมหัศจรรย์ ประกอบด้วยเทือกเขาและหุบเขา เทือกเขา ตลอดชายฝั่งด้าน ตะวันออกสูงชันและทอดตัวลงสู่ทะเลตะวันออก ในขณะที่ชายฝั่งทางด้านใต้ แ ละตะวันตก เทือกเขาค่อย ๆ ลาดลงตํ่าสู่ที่ราบชายฝั่ง ซึ่งเป็นแหล่งเกษตรกรรมที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในเกาหลี โดยเฉพาะในด้านการผลิตข้าว คาบสมุทรเกาหลีถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ที่บริเวณเหนือเส้นขนานที่ 38 คือ ประเทศระบอบประชาธิปไตย สาธารณรัฐเกาหลีอยู่ทางใต้ และประเทศร ะบอบ คอมมิวนิสต์ เกาหลีเหนือ โดยถูกคั่นกลางโดยเขตปลอดทหาร ประเทศเกาหลีใต้มีพื้นที่ 99,500 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 47.9 ล้านคน (ค.ศ. 2003) ประกอบด้วย 9 จังหวัด (โด) กรุงโซลเป็น เมืองหลวงของประเทศ และประกอบด้วยเมืองใหญ่ ๆ 6 เมือง คือพูนซา น แทกู อินชน ควางจู แ ท จอน และ อุลซาน รวมมีเมืองทั้งหมด 77 เมือง (ซี) 88 มณฑล (กุน) ใน 9 จังหวัด ภูมิอากาศ ประเทศเกาหลีมีสภาพอากาศอยู่ในเขตอบอุ่น และมีสี่ฤดูที่แตกต่างกัน คือ ในปลายเดือน มีนาคมหรือต้นเดือนเมษายน ต้นไม้จะผลิใบสะพรั่งเต็มต้น เป็นสัญญาณว่าฤดูใบไม้ผลิได้เริ่มขึ้น แล้ว ระหว่างเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคมจะมีหลาย ๆ วันที่แสงแดดสดใสตลอดทั้งวัน
  • 11. MBA-ONLINE IN KOREA 11สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม - ฤดูร้อน ซึ่งอากาศร้อนและมีฝนตกบ้าง ต้นไม้จะเขียว ชอุ่มทั่วไป ในเดือนมิถุนายน อุณหภูมิเฉลี่ยจะสูงกว่า 20 องศาเซลเซียสเล็กน้อย ฤดูมรสุมปกติจะเริ่มขึ้นในปลายเดือนมิถุนายน จนถึงช่วงกลางหรือปลายเดือนกรกฎาคมและในเดือนสิงหาคมอากาศจะร้อนจัดและชื้นมาก - ฤดูใบไม้ร่วง จะเริ่มขึ้นตอนปลายเดือนกันยายน ลมที่พัดมาจากแผ่นดินใหญ่นั้นทําให้ อากาศแห้งและท้องฟ้ าโปร่ง จึงเป็นช่วงที่อากาศเหมาะกับการท่องเที่ยวมากที่สุดในเดือนตุ ลาคม ทิวทัศน์ทั่วทั้งประเทศจะมีสีสันสดใสด้วยใบไม้ที่เปลี่ยนเป็นสีทองและสีแดงเต็มต้น
  • 12. MBA-ONLINE IN KOREA 12สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม - ฤดูหนาว เดือนธันวาคม ถึงกุมภาพันธ ์์อากาศจะหนาวเย็นและแห้ง บางครั้งมีฝน หรือหิมะ แต่ในช่วงนี้มักจะมีวันที่อากาศหนาวจัดประมาณ 3-4 วัน สลับกับวันที่อากาศอุ่นสบาย การเมือง หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2491 คาบสมุทรเกาหลีถูกแบ่งเป็นสองส่วนโดย เส้นละติจูดที่ 38 องศาเหนือ (มักเรียกว่าเส้นขนาน 38) โดยสหภาพโซเวียตดูแลเกาหลีเหนือมีการ ปกครองระบอบสังคมนิยม ส่วนสหรัฐอเมริกาดูแลเกาหลีใต้มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย
  • 13. MBA-ONLINE IN KOREA 13สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม ศาสนา ชาวเกาหลีใต้ไม่มีศาสนาประมาณ 46 % ศาสนาคริสต์ 26 % ศาสนาพุทธ 26 % ลัทธิ ขงจื๊อ 1 % ศาสนาชอนโดเกียว ศาสนาอิสลาม และอื่นๆ 1 % การแต่งกาย ชุดแต่งกายตามประเพณีของชาวเกาหลี หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “ฮันบก” (Hanbok) จัดเป็นชุดประจําชาติของเกาหลีซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวมานานนับพัน ๆ ปี ความสวยงาม และ ความสุภาพของวัฒนธรรมเกาหลีล้วนฉายอยู่ในรูปภาพของผู้หญิงในชุดฮันบก ก่อนอิทธิพลของ เครื่องแต่งกายแบบตะวันตกจะเข้ามาแทนที่ ฮันบกเคยถูกใช้เป็นชุดแต่งกายประจําวัน โดย ผู้ชาย จะสวมใส่ - “ชอกอรี” (เสื้อนอกแบบเกาหลี) และ “พาจิ” (กางเกงขายาว) ผู้หญิง จะสวมใส่ ใส่ “ชอกอรี” กับ “ชีมา” (กระโปรง) แต่ปัจจุบันนี้ ชาวเกาหลีมักจะใส่ “ฮันบก” เฉพาะโอกาสที่มีการ เฉลิมฉลอง หรือวันสําคัญ ๆ เช่น วันแต่งงาน วัน ซอล ลัล (วันขึ้นปีใหม่ทางจันทรคติ) หรือวันชูซก (วันขอบคุณ พระเจ้า)
  • 14. MBA-ONLINE IN KOREA 14สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม ผ้าที่นํามาใช้ตัดชุดฮันบกมีอยู่มากมายหลายชนิดด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น ผ้าป่าน ผ้าฝ้ ายมัส ลิน ผ้าไหม ผ้าแพร โดยผู้สวมใส่จะเลือกใส่ชุดที่ตัดจากผ้าชนิดใดขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศ ฮันบก ที่ใช้สําหรับแต่งกายในฤดูหนาวมักใช้ผ้าที่ทอจากฝ้ าย และกางเกงขายาวมีสายรัดที่ข้อเท้าซึ่งช่วย ในการเก็บความร้อนของร่างกาย ในขณะที่ช่วงฤดูร้อนจะใช้ผ้าป่านลงแป้ งแข็งหรือผ้ารามีซึ่งช่วย ในการซึมซับ และการแผ่กระจายของความร้อนในร่างกาย สีผ้าที่ถูกเลือกมาใช้ตัดชุดฮันบกส่วนใหญ่จะเป็นสีขาว ซึ่งสื่อถึงความสะอาด ความ บริสุทธิ์ แต่หากต้องการได้ชุดที่ดูหรูขึ้นมาอีกนิดสําหรับสวมใส่ไปงานสําคัญ ๆ ก็จะใช้ผ้าสีแดง สี เหลือง สีนํ้าเงิน และสีดํามาประกอบ การแต่งกายด้วยชุดฮันบกไม่ได้มีการกําหนดว่าจะต้องเป็นสี ใด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความพอใจของผู้สวมใส่เป็นหลัก หญิงสาวเกาหลีตั้งแต่เด็กจนถึงผู้ใหญ่จะมีชุดฮันบกเป็นของตนเองสําหรับใช้ใส่ในวัน สําคัญต่าง ๆ โดยเราจะสังเกตได้ว่า ชุดฮันบกของหญิงสาวจะถูกออกแบบมาให้เป็นกระโปรงพอง ยาว และเสื้อตัวสั้น ทั้งนี้ก็เพื่อพรางรูปร่าง และปกปิดส่วนเว้าส่วนโค้งของผู้สวมใส่ไม่ให้เป็นที่ ดึงดูดสายตาของเพศตรงข้ามมาก
  • 15. MBA-ONLINE IN KOREA 15สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม เศรษฐกิจ แผนพัฒนาเศรษฐกิจของเกาหลีอดีตจนมาถึงปัจจุบัน เปลี่ยนโครงสร้างทางเศรษฐกิจจากเกษตรกรรม เป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ ขนาดใหญ่ ที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างก้าวกระโดด เป็นประเทศกําลังพัฒนาขั้นสูง  กรเพาะปลูก : พืชสําคัญได้แก่ ข้าวเจ้า ข้าว บาร์เลย์ แอปเปิ้ล มันฝรั่ง ถั่วเหลือ ข่าวสาลี  การเลี้ยงสัตว์ : สัตว์เลี้ยงสําคัญได้แก่ สุกร โค สัตว์ปีก และตัวไหม  การประมง : ผลผลิตทางการประมงของเกาหลีใต้มีเหลือใช้ในประเทศจนสามารถส่งเป็น สนค้าส่งออกที่สําคัญอย่างหนึ่ง เกาหลีใต้สามารถจับปลาได้เป็นอันดับ 10 ของโลก (ไทย เป็นอันดับ 9 สถิติปี พ.ศ. 2535)  การทําเหมืองแร่: เกาหลีใต้ขาดแคลนถ่านหินและนํ้ามันปิโตเลียม แต่มีแร่ธาตุอื่นๆอีก หลายชนิด ได้แก่ แกรไฟต์ ดินเกาลิน และทังสเตน อุตสาหกรรม : อุตสาหกรรมในเกาหลีใต้ส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมเบา ผลผลิตทาง อุตสาหกรรมที่สําคัญได้แก่ เครื่องใช้ไฟฟ้ า สิ่งทอ รถยนต์ ปิโตรเคมี และเรือเดินสมุทรการ เกษตรกรรมของเกาหลีใต้ ประเทศเกาหลีใต้เมื่อย้อนหลังกลับไปประมาณ 40 ปี นับได้ว่าเป็นประเทศด้อยพัฒนาที่ ยากจนประเทศหนึ่ง เศรษฐกิจของประเทศนี้ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับรายได้จากภาคการเกษตรเพื่อการ ยังชีพแบบดั้งเดิม พื้นที่เกษตรกรรมของเกาหลีใต้มีประมาณ 11.81 ล้านไร่ หรือเพียง 19 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ทั้งหมด เกษตรกรรายย่อยมีพื้นที่ถือครองขนาดเล็ก ขนาดฟาร์มเฉลี่ยแล้ว ประมาณ 6.25 ไร่ กระจายอยู่ทั่วไปตามที่สูงและภูเขาเนื่องจากพื้นที่ราบของประเทศมีเพียง เล็กน้อย เกษตรกรส่วนใหญ่ทําการเกษตรเพื่อยังชีพเป็นหลัก โครงสร้างพื้นฐานที่จะสนับสนุนการ
  • 16. MBA-ONLINE IN KOREA 16สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม ผลิตก็แทบจะไม่มี ในยุคนั้นเกษตรกรส่วนใหญ่จะปลูกธัญพืชเช่นข้าวเพื่อเป็นอาหารหลัก นอกจากนี้ก็มี ข้าวบาร์เลย์ ข้าวสาลี มันฝรั่ง ข้าวโพด พืชหัว ผัก และผลไม้เป็นพืชรอง แต่ละฟาร์ม อาจมีการเลี้ยงวัว หรื อสุกรเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ในยุคนั้นผลผลิตข้าวของประเทศในแต่ละปี ประมาณ 3 ล้านตัน ซึ่งไม่เพียงพอสําหรับบริโภคในประเทศ แต่หลังจากที่ RDA ได้ปรับปรุงพันธุ์ ข้าวใหม่ชื่อพันธุ์ Tongil ข้าวพันธุ์นี้ให้ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์ดั้งเดิมถึง 30 เปอร์เซ็นต์ ต่อมาได้ แพร่หลายไปกว่า 54 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ปลูกข้าวของประเทศ ในปี 2520 ประเทศเกาหลีใต้ก็ สามารถผลิตข้าวได้ผลผลิตเฉลี่ยต่อพื้นที่สูงที่สุดในโลกคือ 4.47 ตันต่อเฮกตาร์ ปัจจุบันผลผลิต เฉลี่ยต่อพื้นที่ของเกาหลีใต้ก็ยังคงครองอันดับต้นๆ ของโลก แม้ว่าพันธุ์ Tongil เริ่มเสื่อมความนิยม เนื่องจากคุณภาพการหุงต้มรับประทานไม่ดีเมื่อเทียบกับพันธุ์ japonica ที่ปรับปรุงขึ้นมาใหม่ใน ภายหลัง (เนื่องจากเป็นลูกผสมระหว่างข้าว indica กับข้าว japonica ทําให้ไม่มีความเหนียว) คือ การปฏิวัติเขียว หลังยุคการปฏิวัติเขียว เศรษฐกิจภาคการเกษตรของเกาหลีใต้ เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก พร้อมๆกับการเติบโตอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจนอกภาคเกษตร รายได้ภาคเกษตรที่เพิ่มขึ้น เป็น ผลเนื่องมาจากการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต การให้การสนับสนุนภาคการเกษตรโดยรัฐ รวม ไปถึงการเกิดขึ้นของฟาร์มที่ทําเป็นการค้า ประสิทธิภาพการผลิตของเกษตรกรที่ เพิ่มขึ้นเพราะเริ่ม มีการใช้พันธุ์พืชที่ได้รับการปรับปรุงใหม่ การใช้ปัจจัยการผลิต เช่นปุ๋ ย มากขึ้น การใช้เครื่องมือ เครื่องจักรทางการเกษตร รวมไปถึงการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานที่จําเป็นสําหรับการเกษตรโดย รัฐ เช่นระบบคมนาคม ระบบชลประทาน และระบบการให้บริการด้านส่ งเสริมการเกษตร ด้วย จํานวนผู้นําในท้องถิ่นที่ได้รับการพัฒนาความรู้ด้านการเกษตรซึ่งมีอยู่มาก ทําให้รัฐประสบ ความสําเร็จในการดําเนินโครงการพัฒนาชนบทเป็นอย่างดี
  • 17. MBA-ONLINE IN KOREA 17สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม การพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศส่งผลกระทบต่อโครงสร้างการเกษตรของเกาหลีใต้ เป็นอย่างมาก รูปแบบการบริโภคของคนเ มืองที่เปลี่ยนไปทําให้ระบบการเกษตรต้องปรับเปลี่ยน ตามไปด้วย จากเดิมที่มีการผลิตข้าวเป็นพืชหลัก ก็มีกิจกรรมอื่นๆในฟาร์มเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะ การเลี้ยงสัตว์ การทําสวนผัก สวนผลไม้ รวมถึงไม้ดอกไม้ประดับ เนื่องจากรายได้จากภาคเกษตร ค่อนข้างตํ่า และประเทศมีการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้น ทําให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงาน จากภาคเกษตรไปสู่ภาคอุตสาหกรรม ในช่วงเวลา 30 ปี ครอบครัวที่ยึดอาชีพเกษตรกรรมลดลง จาก 2.5 เป็น 1.28 ล้านครัวเรือน สัดส่วนของเกษตรกรเหลือเพียง 7.5 เปอร์เซ็นต์ของประชากรทั้ง ประเทศ ปัจจุบันเกษตรกรมากกว่าครึ่งที่มีอ ายุมากกว่า 50 ปี ปัญหาที่ตามมาก็คือ การขาดแคลน แรงงานในภาคเกษตร และค่าจ้างแรงงานก็แพงยิ่งขึ้น รัฐจึงให้ความสนใจเร่งพัฒนาเครื่อง เครื่องจักรสําหรับการเกษตร การเกษตรของเกาหลีใต้จึงมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบจากการทํา การเกษตรเพื่อยังชีพเป็นการเกษตรเพื่อการค้าโดยใช้เทค โนโลยีการผลิตสมัยใหม่ ผลสําเร็จของ การพัฒนาการเกษตรของเกาหลีใต้เนื่องมาจากมีการจัดตั้งองค์กรที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบ ไม่ว่า จะเป็นหน่วยงานวิจัย หน่วยงานส่งเสริมการเกษตร และหน่วยงานที่ให้การศึกษาด้านการเกษตร ข้าวที่เป็นพืชหลักของเกาหลีใต้ มีการปลูกข้าวกว่าร้ อยละ 80 ของฟาร์ม พื้นที่ปลูกข้าวมี ประมาณ 57 เปอร์เซนต์ของพื้นที่เกษตร และมีมูลค่าสูงถึง 33 เปอร์เซ็นต์ของมูลค้าสินค้า การเกษตรของประเทศ อัตราการบริโภคข้าวของคนเกาหลีใต้ปัจจุบันลดลงไปมาก เมื่อปี 2544 มี อัตราการบริโภคข้าวประมาณ 88.9 กิโลกรัมต่อคนต่อปี หลังจากที่เกาหลีใต้สามารถผลิตข้าวจน เพียงพอต่อการบริโภคภายในประเทศแล้ว นักวิจัยก็เริ่มปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้มีคุณภาพดีตามความ นิยมของผู้บริโภค โดยใช้พันธุ์ข้าว japonica เป็นพันธุ์พ่อแม่ เพื่อให้ได้คุณภาพข้าวเหนียวนุ่มขึ้น เนื่องจากช่วงเวลาที่ผ่านมา รัฐได้ส่งเสริมภาค อุตสาหกรรมเป็นอย่างมาก ทําให้ช่องว่าง รายได้ระหว่างชุมชนเมืองกับชนบทห่างกันมากขึ้น อย่างไรก็ดี นโยบายของรัฐก็เน้นการผลิตภาค
  • 18. MBA-ONLINE IN KOREA 18สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม เกษตรให้เพียงพอต่อความต้องการภายในประเทศ เพราะในปัจจุบันเกาหลีใต้ต้องนําเข้าสินค้า เกษตรเป็นจํานวนมาก ด้วยพื้นที่การเกษตรที่ลดลงเรื่อยๆ ทําให้เกิดปัญหาเรื่องการพัฒนาภาค เกษตรของเกาหลีใต้ ทําให้รัฐต้องกําหนดเขตพื้นที่ส่งเสริมการเกษตรขึ้น รัฐมีการปฏิรูปการใช้ที่ดิน ลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการเกษตร เช่น ระบบชลประทาน พัฒนาเครื่องจักรกล การเกษตร รวมไปจนถึงพัฒนาระบบตลาดสินค้าเกษตร โดยเกษตรกรที่อยู่ ในเขตส่งเสริมนี้ สามารถเป็นเจ้าของพื้นที่ฟาร์มได้โดยไม่มีการจํากัดขนาดพื้นที่ แต่การเปลี่ยนพื้นที่การเกษตรเพื่อ ใช้ประโยชน์อย่างอื่น เจ้าของที่ดินต้องขออนุญาตต่อหน่วยงานรัฐก่อน ในปี 2543 รัฐสามารถจัด เขตฟาร์มให้อยู่ในเขตส่งเสริมการเกษตรนี้ได้ประมาณ 55 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ฟาร์มทั้งหมด ถึงแม้ว่าความสําคัญด้านเศรษฐกิจของภาคเกษตรจะด้อยกว่าภาคอุตสาหกรรมมากก็ ตาม เกาหลีใต้ยังต้องการพัฒนาด้านการเกษตรให้สามารถเลี้ยงประชากรของประเทศได้ แนวทาง พัฒนาการเกษตรของเกาหลีใต้จะมุ่งเน้นพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกา รผลิต เพื่อให้สามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ แต่ในขณะเดียวกันต้องมีความยั่งยืนและไม่ส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม การรักษาเสถียรภาพการผลิตข้าวและธัญพืชอื่น เช่น ข้าวบาร์เลย์ และพืชผักที่ใช้แปร รูปเป็นกิมจิ ยังเป็นความจําเป็นอับดับต้นๆ ของนโยบายด้านการเกษตรของเกาหลีใต้ ปัจจุบันรัฐมี นโยบายที่สําคัญเพื่อพัฒนาการเกษตรของประเทศ เช่น พัฒนาบุคลกรด้านการเกษตรให้มีความรู้ ความชํานาญเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย การประกันรายได้ของเกษตรกรที่ผลิตสินค้า เกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสินค้าเกษตรให้หลากหลายเพื่อ เพิ่ม มูลค่า พัฒนาระบบการจัดการหลังเก็บเกี่ยวเพื่อควบคุมคุณภาพสินค้าเกษตร ตลอดจนปรับปรุง คุณภาพชีวิตของคนชนบทที่ยึดอาชีพเกษตรกรรม เช่นมีระบบประกันสุขภาพ สนับสนุนด้าน การศึกษา สร้างงานนอกฟาร์มในระหว่างนอกฤดูกาลผลิต พัฒนาสภาพแวดล้อมชนบทเพื่อจูงใจ ให้ผู้คนอยากอาศั ยอยู่ในชนบทและยึดอาชีพเกษตรกรรม เป็นต้น เชื่อว่าในอนาคตอันใกล้นี้
  • 19. MBA-ONLINE IN KOREA 19สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม การเกษตรกรรมของประเทศไทยอาจต้องเผชิญกับปัญหาหลายๆ อย่าง เช่นเดียวกับที่เกาหลีใต้ กําลังประสบอยู่ มาตรการหรือนโยบายรัฐที่เกาหลีใต้พยายามนําใช้เพื่อแก้ไขปัญหาและเพื่อ พัฒนาภาคการเกษตรของประเทศ อาจเป็นประโยชน์สําหรับประเทศไทยที่จะนํามาปรับใช้ได้ เช่นกัน เกาหลีใต้ก้าวหน้าได้อย่างไร (ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ) ประเทศเกาหลีใต้ เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า มีเพียงไม่กี่ประเทศในโลกเท่านั้น ที่ สามารถพัฒนาเทคโนโลยี อุตสาหกรรม และเศรษฐกิจได้อย่างรวดเร็วเท่าเกา หลีใต้ (ซึ่งต่อไปจะ เรียกว่า เกาหลี เฉยๆ) จากประเทศเกษตรกรรมที่ยากจน เกาหลีได้กลายเป็นประเทศ อุตสาหกรรมใหม่ภายในระยะเวลาเพียง 3 ทศววรรษ รายได้ประชาชาติ (Gross National Product, GNP) ของเกาหลีเพิ่มจาก 87 เหรียญ สหรัฐ/คน ในปี ค.ศ. 1962 ไปเป็น 8483 เหรียญสหรัฐ/คน ใน ปี ค.ศ. 1994 และ สูงกว่า 10,000 เหรียญสหรัฐ/คน ในปี ค.ศ. 1995 ในปี ค.ศ. 1995 นี้เอง รายได้ประชาชาติได้แตะระดับ 440 พันล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่ง หมายความว่า เกาหลีใต้มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 11 ของโลก และ ถ้าคิดมูลค่าเพิ่มที่ ได้จากการผลิตในเชิงอุตสาหกรรม (manufacturing value-added) ก็จะเป็นอันดับที่ 7 ของโลก เกาหลีประสบความสําเร็จในการก้าวกระโดดทางเศรษฐกิจจากอันดับที่ 101 (ค.ศ. 1962) ไปเป็น 11 (ค.ศ. 1995) ในระยะเวลาเพียง 33 ปี (สังเกตว่า เลข 0 ตรงกลางหายไปตัว เดียว!) ถ้าหากคิดในแง่ของประเทศผู้ส่งออกผลิต ภัณฑ์อุตสาหกรรม เกาหลีได้ไต่จากอันดับที่ 101 ในปี ค.ศ. 1962 เป็นอันดับที่ 13 ในปี ค.ศ. 1994 ในปี ค.ศ. 1994 เกาหลีติดอันดับต้น ๆ ของ
  • 20. MBA-ONLINE IN KOREA 20สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม โลกทางด้านต่าง ๆ หลายด้าน เช่น เป็นอันดับที่ 2 ด้านการต่อเรือและเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์ใน บ้าน อันดับที่ 3 ด้านวงจรรวม อันดับที่ 5 ด้านสิ่งทอ เส้นใยเคมี ปิโตรเคมี และ อิเล็กทรอนิกส์ และ อันดับที่ 6 ด้านยานยนต์ เหล็กและเหล็กกล้า เป็นต้น ขีดความสามารถทางเทคโนโลยีกับการพัฒนาอุตสาหกรรม สมรรถนะของธุรกิจอุตสาหกรรมต้องมีฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่แข็งแกร่ง ประเทศที่พัฒนาแล้วมีขีดความสามารถทางเทคโนโลยี (technological capability) ของตนเอง ในระดับสูง ขีดความสามารถทางเทคโนโลยีคืออะไร ? ขีดความสามารถทางเทคโนโลยี คือ ความสามารถในการใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีในการระบุความต้องการ (identifying needs) การ เลียนแบบ (assimilation) การใช้ (use) การดัดแปลง (adaptation) การเปลี่ยนแปลง (change) หรือ การสร้างเทคโนโลยีใหม่ (creation) โดยอาจแบ่งได้เป็น 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1. ความสามารถในการผลิต (Production Capability) : ใช้ของที่มีอยู่แล้วให้เกิดประโยชน์ สูงสุด ได้แก่ ความสามารถในการใช้งานและบํารุงรักษาเครื่องจักรและกระบวนการผลิต 2. ความสามารถในการลงทุนเพิ่มเติม (Investment Capability) : ลงทุนขยายของเดิมที่มี อยู่เพิ่มออกไป ได้แก่ ความสามารถในการออกแบบและสร้างโรงงานใหม่ 3. ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม (Innovation Capability) : สร้างเทคโนโลยีหรือ ผลิตภัณฑ์ขึ้นมาจากแน วคิดใหม่ ได้แก่ ความสามารถในการให้กําเนิดผลิตภัณฑ์และ กระบวนการผลิตใหม่ รวมทั้งการปรับปรุงของที่มีอยู่ให้ดีขึ้นกว่าเดิมอย่างมาก
  • 21. MBA-ONLINE IN KOREA 21สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม ปัจจัยที่กําหนดการสร้างขีดความสามารถทางเทคโนโลยี ได้แก่ ฐานความรู้ที่มีอยู่เดิม (ความรู้เดิมมีอยู่เท่าไร ) และ ที่สําคัญยิ่งกว่า คือ ระดับความพยายามที่จะเลียนแบบ -ดูดซึม เทคโนโลยี (เอาจริงแค่ไหน) ขีดความสามารถทางเทคโนโลยีมีความสําคัญอย่างยิ่งเนื่องจากเป็นปัจจัยกําหนด ความสามารถในการแข่งขันทางอุตสาหกรรม เทคโนโลยีที่แท้จริงนั้นเป็นความรู้ -ความชํานาญที่ แฝงอยู่ในตัวคน เป็นปัจจัยกําหนดระดับความสมบูรณ์ของการถ่ายทอดเทคโนโลยี คําว่า "ความรู้ แฝง” หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกว่า tacit knowledge นั้น หมายถึง ความรู้-ความชํานาญ หรือ ทักษะที่ไม่สามารถเขียนหรือพูดออกมาได้ (เช่น ความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้น และ การ ประเมินคุณภาพของสิ่งต่าง ๆ โดยใช้การมอง การฟัง และการสัมผัส เป็นต้น) ส่วนความรู้อีก ลักษณะหนึ่งซึ่งเห็นได้ชัดเจนกว่านั้นเรียกว่า "ความรู้ที่เห็นได้อย่างชัดแจง ” หรือ explicit knowledge ซึ่งเป็นความรู้ที่นอกจากจะบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรได้แล้ว ยังซื้อ-ขายได้อีกด้วย (ตัวอย่างเช่น หนังสือ ข้อกําหนดทางเทคนิค เครื่องจักรกล โรงงาน ฯลฯ) ปัจจัยขับเคลื่อนการพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมของเกาหลี การพัฒนาอุตสาหกรรมให้สําเร็จขึ้นกับปัจจัยหลายด้าน ได้แก่ ปัจจัยทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และ เทคโนโลยี แต่ที่สําคัญที่สุดคือ ปัจจัยด้านเทคโนโลยี อย่างไรก็ตาม ในกรณีของ เกาหลี Linsu Kim ได้จําแนกเงื่อนไขและปัจจัยต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ ได้แก่ 1. รัฐบาล 2. กลุ่ม บริษัทขนาดใหญ่ หรือ แชโบล 3. การศึกษา 4. นโยบายการส่งออก 5. กลยุทธการถ่ายทอด เทคโนโลยี 6. นโยบายการวิจัยและพัฒนา 7. เงื่อนไขทางสังคม-วัฒนธรรม และ 8. กลยุทธ์ของ ภาคเอกชน ซึ่งจะมีรายละเอียดดังนี้
  • 22. MBA-ONLINE IN KOREA 22สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม 1. รัฐบาล ในช่วงทศวรรษที่ 1960 และ 1970 เกาหลีมีรัฐบาลที่เผด็จการที่เข้มแข็งและ รวมศูนย์อํานาจ ทําให้มีการวางแนวนโยบายที่ทําให้มีการเรียนรู้เทคโนโลยีมีประสิทธิผลสูง ใน ระยะนี้มาตรการนโยบายอุตสาหกรรม (ซึ่งเพิ่มอุปสงค์ของเทคโนโลยี ) ได้ผลดีกว่านโยบาย ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลยุทธ์หลักที่ใช้ได้ผลคือ การสร้างกลุ่มอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ หรือ ที่รู้จักกันในนามว่า แชโบล (chaebol) การกําหนดนโยบายการส่งออก และ การใช้วิกฤติเพื่อเร่งการเรียนรู้และเรียนรู้ เทคโนโลยีของบริษัทเอกชน โดยการทําให้บริษัทหนึ่ง ๆ ตกอยู่ในสถานการณ์ "รอด หรือ ตาย" นอกจากนี้ทางด้านการศึกษาก็ทําได้ดี อย่างไรก็ตาม สถาบันวิจัยของรัฐและอื่น ๆ กลับ ไม่มีบทบาทมากเท่าที่ควร เนื่องจาก ความรู้-ความชํานาญที่มีอยู่ไม่สอดคล้องกับความต้องการ ของภาคอุตสาหกรรม ในช่วงทศวรรษต่อ ๆ มา อิทธิพลของรัฐบาลได้ลดลงมาก เนื่องจาก สาเหตุหลายประการ เช่น เทคโนโลยีและสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมาก (กลไกของรัฐชักช้า ตามไม่ทัน) ผนวกกับ การคอรัปชันและการสมรู้ร่วมคิดกันระหว่างรัฐและแชโบล (ซึ่งใหญ่และมีอํานาจมาก) ทําให้เกิดความไม่เสมอภาคในการกระจายทรัพยากรไปในด้านต่าง ๆ 2. กลุ่มบริษัทขนาดใหญ่ (แชโบล) หากเปรียบเทียบประเทศเกาหลีเป็นรถยนต์ รัฐบาลเป็นคนขับ แชโบลก็จะเป็นเสมือน “เครื่องยนต์” รัฐบาลเกาหลีได้จงใจสร้างและฟูมฟักแช โบลเพื่อให้เป็น “เครื่องยนต์” สําหรับการเรียนรู้เทคโนโลยีและการเติบโตทางเศรษฐกิจ แชโบล เป็นองค์กรหลักในการผลิตและการส่งออกสินค้าของเกาหลี ทําไมการใช้แชโบลจึงประสบความสําเร็จในการพัฒนาทางเทคโนโลยี ? เหตุผลหลาย ประการ ได้แก่
  • 23. MBA-ONLINE IN KOREA 23สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม  สามารถดึงดูดบุคลากรที่มีคุณภาพเข้ามาทํางาน ทําให้เกิดการสั่งสมความรู้แฝง อย่างมาก อีกทั้งยังได้รับเงินอุดหนุนพิเศษจากรัฐ ซึ่งนํามาใช้ในการทําวิจัยเพื่อเร่งการเรียนรู้ ภายในองค์กร และ เป็นผู้นําในการทําวิจัยและพัฒนาในภาคอุตสาหกรรม  มีขนาดที่ใหญ่พอและดําเนินกิจกรรมที่หลากหลายทําให้สามารถลงทุนในธุรกิจ ที่ใหญ่และมีความเสี่ยงสูงได้ โดยเอากําไรจากส่วนอื่นมาใช้ในส่วนที่เสี่ยง การควบคุมจาก ศูนย์กลาง ทําให้เกิดการแพร่กระจายของเทคโนโลยีในแชโบลหนึ่ง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ  มีทรัพยากรด้านเทคนิคและเงินมากพอที่จะขยายกิจกรรมด้าน R&D ไปทั่วโลก และ สามารถเฝ้ าติดตามเทคโนโลยีล่าสุดอย่างเกาะติดสถานการณ์ได้ (เช่น ในกรณีของการ พัฒนาเทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ก็ไปสร้างสถาบันวิจัยที่ซิลิคอนแวลเลย์ (Silicon Valley) ใน สหรัฐอเมริกา) แชโบลยังได้รับแรงกดดันหรือวิกฤติที่จงใจสร้างโดยรัฐเป็นระยะ วิกฤติต่าง ๆ นี้ ช่วยเร่งการเรียนรู้อย่างก้าวกระโดด โดยสรุป แชโบลเป็นแรงผลักดันสําคัญในการทําให้อุตสาหกรรมของเกาหลีที่ใช้ เทคโนโลยีเป็นฐานแพร่กระจายไปทั่วโลก อย่างไรก็ตาม แชโบลก็มีด้านลบไม่น้อยเช่นกัน เช่น ใน ระดับมหภาค กระจายทรัพยากรเป็นไปอย่างไม่เป็นธรรม เนื่องจากรัฐเน้นส่งเสริมแชโบล แต่ไม่ได้ สนับสนุนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (small and medium size enterprises) หรือ SMEs เท่าที่ควร ในระดับจุลภาค มีเกิดการผูกขาดในอุตสาหกรรม เช่น ทําให้เกิดการขาดแคลน โก่งราคา ฯลฯ ผลโดยรวมก็คือ SMEs ไม่สามารถเติบโตได้ นอกจากนี้ การขาดเครือข่าย SMEs ทําให้เกาหลีต้องพึ่งพาซัพพลายเออร์ของญี่ปุ่นอย่างมากในอุตสาหกรรมยานยนต์และ อิเล็กทรอนิกส์
  • 24. MBA-ONLINE IN KOREA 24สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม 3. การศึกษา ประเทศเกาหลีไม่ค่อยมีทรัพยากรธรรมชาติ รัฐบาลและพ่อแม่ผู้ปกครอง ได้ลงทุนอย่างมากด้านการศึกษา ตัวอย่างเช่น รัฐบาลได้ขยายสถาบันการศึกษาออกไปจํานวน มาก และ ได้เพิ่มงบประมาณจาก 2.5% ในปี ค.ศ. 1951 ไปเป็น 17% ในปี ค.ศ. 1966 เรื่องการศึกษานี้ประเทศกําลังพัฒนาแล้วต่างก็ (อ้างว่า) ได้พยายามทําเช่นกัน แต่เกาหลีมีจุด แตกต่างอย่างไร ? เกาหลีได้ขยายการศึกษาทุกระดับอย่างได้สัดส่วนก่อนที่จะเริ่มขับเคลื่อน อุตสาหกรรม (ซึ่งทําให้เกิดปัญหาการว่างงานช่วงสั้น ๆ ระยะหนึ่งในทศวรรษที่ 1960) "คน" ที่ได้ สร้างไว้นี้ต่อมาเป็นฐานอันสําคัญในการเรียนรู้ ดูดซับ ปรับปรุงเทคโนโลยี (เช่น การทําวิศวกรรม ย้อนรอยเทคโนโลยีจากต่างประเทศ ) นับเป็นการสั่งสมความรู้แฝงเอาไว้เพื่อรองรับการพัฒนา เทคโนโลยีขั้นสูงในระยะต่อมา อย่างไรก็ตาม ในทศวรรษต่อ ๆ มา (ราว 30 ปี) เกาหลีลงทุนด้านการศึกษาน้อยเกินไป ทําให้เกิดปัญหา "คอขวด" รุนแรงที่สุด นอกจากนี้ยังมีปัญหาอื่น ๆ อีก เช่น มหาวิทยาลัยส่วน ใหญ่ก็เน้นการเรียนการสอนมากกว่าการทําวิจัยและพัฒนา เป็นต้น 4. นโยบายการส่งออก แม้ว่านโยบายการผลิตเพื่อทดแทนการนําเข้าทําให้เกิดตลาด ภายในประเทศสําหรับแชโบล อีกทั้งยังมีเกราะป้ องกันจากนโยบายของรัฐที่ได้วา งไว้ให้ แต่ นโยบายการผลิตเพื่อการส่งออกทําให้แชโบล ต้องลงสนามแข่งขันในระดับโลก ดังนั้นจึงเป็นการ ส่งเสริมการเรียนรู้เทคโนโลยีที่ได้ผลดีกว่า เนื่องจากสาเหตุหลายประการ ได้แก่  นโยบายเน้นการส่งออกทําให้แชโบลตกอยู่ในสภาพ "ไม่อยู่-ก็ไป" ซึ่งจะเร่ง กระตุ้นการเรียนรู้เทคโนโลยี เช่น โดยการลอกเลียนแบบเทคโนโลยีการผลิตจากต่างประเทศ
  • 25. MBA-ONLINE IN KOREA 25สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม  ผู้ส่งออกเกาหลีลงทุนในระดับที่ใหญ่กว่าขนาดของตลาดภายในมาก เพื่อให้ สินค้ามีราคาถูกเนื่องจากเกิดการประหยัดโดยขนาด (economy of scale) ดังนั้น จึงเกิดวิกฤติที่ จะต้องเพิ่มผลิตภาพเพื่อให้สามารถแข่งขันในตลาดโลกได้  การแข่งขันในตลาดโลกทําให้ต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านคุณภาพ และราคาของสินค้า  รัฐบาลหนุนแชโบลก็จริงอยู่ แต่ก็สร้างและใช้วิกฤติในการกดดันแชโบลให้เรียนรู้ เทคโนโลยี Linsu Kim ได้เปรียบเทียบไว้ว่า "เหมือนกับครูฝึกสอนว่ายนํ้าที่ผลักผู้เรียนลง ไปในนํ้า แต่จะคอยเฝ้ าดูและช่วยเหลือจนกระทั่งผู้เรียนว่ายนํ้าเป็น " การใช้วิกฤติเช่นนี้ทําให้บริษัทเกาหลี เรียนรู้อย่างก้าวกระโดดเป็นระยะ ตัวอย่างรายละเอียดของการใช้วิกฤติอยู่ในหัวข้อย่อยของ กล ยุทธ์ของภาคเอกชน (ข้อ 8) อย่างไรก็ตามเกี่ยวกับนโยบายการส่งออกนี้ วอลเดน เบลโล ได้ชี้ให้เห็นถึงข้อเสียไว้เช่น ว่าได้ดําเนินควบคู่ไปกับการกดค่าแรงงานขั้นตํ่า และ การใช้แรงงานสตรี [เบลโล] 5. กลยุทธ์ในการถ่ายทอดเทคโนโลยี การถ่ายทอดเทคโนโลยีจากต่างชาติมีบทบาท สําคัญในการเร่งการเรียนรู้เทคโนโลยีทั้งทางด้านความรู้แฝง และ ความรู้ที่เห็นได้อย่างชัดแจ้ง ในยุคก่อนปี ค.ศ. 1970 รัฐบาลเกาหลีได้จํากัดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (foreign direct investment, FDI) และ การซื้อลิขสิทธิ์ (foreign licensing, FL) เพื่อปกป้ อง ตลาดภายในประเทศจากบรรษัทข้ามชาติ การทําเช่นนี้ทําให้เกาหลีเป็นอิสระได้ในระดับหนึ่ งจาก การบริหารจัดการโดยต่างชาติ และ ทําให้บริษัทเกาหลีพยายามที่จะพัฒนาเทคโนโลยีเอง หรือใน การที่จะซื้อลิขลิทธิ์ก็จะมีอํานาจต่อรองสูงขึ้นในการต่อรองการถ่ายทอดเทคโนโลยี “เข้าที่ (mature)” แล้ว
  • 26. MBA-ONLINE IN KOREA 26สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม รัฐสนับสนุนการนําเข้าสินค้าทุน (capital goods) แต่การทําเช่นนี้ได้ทําใ ห้การพัฒนา อุตสาหกรรมเครื่องจักรกลในประเทศชะลอตัวลง สําหรับการบังคับให้นําเข้าสินค้าได้นําไปสู่การ ทําวิศวกรรมย้อนรอยสินค้าจากต่างประเทศ ซึ่งมีปัญหาคือทําให้การถ่ายทอดช้าและขึ้นกับซับ พลายเออร์ แต่เนื่องจากคนเกาหลีพร้อมที่จะทํางานหนักและมีความรู้แฝงพอเพียง จึงทําให้ ประสบความสําเร็จ ในปี ค.ศ. 1970 รัฐบาลได้ผ่อนคลายข้อจํากัดเกี่ยวกับ FDI และ FL เพราะว่า อุตสาหกรรมของเกาหลีเริ่มต้องดูดซับเทคโนโลยีชั้นสูงยิ่งขึ้นกว่าก่อนหน้านั้น การปรับปรุงกฎระเบียบอย่างยืดหยุ่นในสภาพที่เศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วเป็น สิ่งสําคัญในการดํา เนินแนวนโยบายในการที่จะทําให้สอดคล้องกับความต้องการของ ภาคอุตสาหกรรม และ การส่งเสริมให้การเรียนรู้เทคโนโลยีมีประสิทธิผล 6. นโยบายการวิจัยและพัฒนา รัฐบาลได้พัฒนาเครือข่ายสถาบันวิจัยและพัฒนาของ รัฐ (Government Research Institute) หรือ GRI ในการทําการวิจัยและพัฒนาเชิงอุตสาหกรรม ขั้นสูง (advanced industrial R&D) ตัวอย่างเช่น Korea Institute of Science and Technology (KIST) และ สถาบันวิจัยที่แตกหน่อออกไปจาก KIST ได้ใช้เงินทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา จํานวนมากในช่วงทศวรรษที่ 1960 ปัญหา คือ ความรู้ความชํานาญของนักวิจัยใน GRI ไม่เชื่อมโยงกับความต้องการของ ภาคอุตสาหกรรม เพราะว่า นักวิจัยยังขาดความรู้ด้านการผลิตซึ่งนําไปสู่ต้นแบบ ดังนั้นจึงช่วย อุตสาหกรรมไม่ได้มากนัก รัฐบาลได้พยายามแก้ปัญหานี้โดยการบังคับให้บริษัทขนาดใหญ่ ทํางานวิจัยร่วมกับ GRI แต่ก็ไม่สําเร็จอีก เพราะความสามารถที่มีอยู่ไม่ตรงกับความต้องการของ ภาคเอกชน
  • 27. MBA-ONLINE IN KOREA 27สภาพแวดล้อมด้านทางการเมืองและสถาบันทางสังคม แม้ว่า GRIs จะประสบความสําเร็จในงานวิจัยที่สําคัญหลายอย่างก็ตาม แต่งานวิจัย ดังกล่าวก็ "ขึ้นหิ้ง" เนื่องจากภาคเอกชนของเกาหลียังมีความไม่แน่ใจเกี่ยวกับความสามารถทาง วิศวกรรมและการผลิตของ GRI ดังนั้น GRI หลายแห่ง เช่น KIST จึงสร้างบริษัทที่ทําการผลิตขึ้น เอง เพื่อทําการผลิตในเชิงพาณิชย์ และ สร้างบริษัทขึ้นมาจัดการเกี่ยวกับการเงินและดูแลบริษัทที่ ทําการผลิตเหล่านี้ อย่างไรก็ตาม GRI ก็มีข้อดีบ้างเหมือนกันในแง่ที่ว่า ช่วยในการเสาะหาและถ่ายทอด เทคโนโลยีอยู่บ้างในระยะแรก ๆ ของการพัฒนาอุตสาหกรรม เช่น ให้ความรู้เบื้องต้นก่อนการ ถ่ายทอดเทคโนโลยี ช่วยในการถ่ายทอดและเผยแพร่เทคโนโลยี โดยการทําวิศวกรรมย้อนรอย เทคโนโลยีจากต่างประเทศ (ตัวอย่างเช่น การทําวิศวกรรมย้อนรอยการผลิตฟิล์มโพลิเอสเทอร์ เป็นต้น) GRI ยังช่วยสร้างนักวิจัยที่มีประสบการณ์สูงในกา รทําวิจัย ซึ่งในระยะหลังได้เข้าสู่ ศูนย์วิจัยและพัฒนาของภาคเอกชน (จากการศึกษาของ James Utterback เกี่ยวกับบทบาทของ GRI ในประเทศแถบละตินอเมริกา พบว่า GRI ในประเทศที่กําลังไล่กวดประเทศพัฒนาแล้ว ทางด้านเทคโนโลยีนั้น บทบาทของ GRI คือการให้ความช่วยเหลือและทําให้การถ่ ายทอด เทคโนโลยีสะดวกขึ้น ทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ) ในระยะต่อมา บทบาทของ GRI ต่อศูนย์วิจัยและพัฒนาของแชโบลได้อ่อนลงเรื่อย ๆ เนื่องจาก สาเหตุหลัก 2 ประการ ได้แก่ การระบบราชการมีขั้นตอนชักช้า และ การที่ GRI เก็บนักวิจัยที่เก่ง ๆ เอาไว้ไม่อยู่ นักวิจัยที่มีความสามารถเหล่านี้มีทางเลือกที่จะเข้าสู่มหาวิทยาลัยซึ่งมีอิสระในการ ทํางานมากกว่า หรือ อาจเข้าสู่การวิจัยในภาคเอกชนซึ่งมี "เงิน" สูงกว่า จูงใจมากกว่า ประสบการณ์ของเกาหลีบอกเราว่า บทบาทของรัฐควรปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ เช่น ช่วงแรกของการพัฒนาอุตสาหกรร ม GRI ทําหน้าที่ให้ความช่วยเหลือทางเทคโนโลยีแก่