SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
เข้าสู่จังหวัด ศรีสะเกษ
                    กว่า  2,000  ปีมาแล้ว    ชุมชนโบราณยุคโลหะสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ได้ทิ้งร่องรอยคูน้ำกำแพงเมือง   ภาชนะดินเผา    โครงกระดูก    และโบราณวัตถุอื่นๆ    ไว้ในบริเวณ อ .  เมืองสุรินทร์ และ อ .  ราศีไศล จ . ศรีสะเกษ    สอดคล้องกับจดหมายเหตุของจีน    ซึ่งได้ระบุไว้ว่า    บริเวณแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยมีอาณาจักรขนาดใหญ่ชื่อว่าฟูนัน   โดยมีชาวลพว้าปกครอง    ต่อมาในราวปี พ . ศ .  1100  ละว้าเริ่มเสื่อมอำนาจลง    ในขณะเดียวกันขอมกำลังเรืองอำนาจแผ่อิทธิพลเข้าในภูมิภาคนี้    โดยในสมัยพระเจ้ามเหนทรวรมันตั้งอาณาจักรเจนละขึ้น   โดยมีเมืองสุรินทร์เป็นเมืองหน้าด่านสำคัญก่อนถึงเมืองพิมายซึ่งเป็นศูนย์กลาง การปกครองในครั้งนั้น ประวัติจังหวัดศรีสะเกษ
ก่อนปี พ . ศ .  1200  อาณาจักรเจนละได้ย้ายเมืองหลวงจากบริเวณวัดภู    จำปาสัก    มาที่บริเวณที่ตั้งเมืองสุรินทร์ต่อเนืองเมืองพิมายในโคราช    ดังปรากฏหลักฐานว่า พระเจ้าชัยวรมันที่  6  ในราว พ . ศ .  1623-1650  โปรดเกล้าฯ    ให้สร้างเมืองพิมายขึ้นใหม่ทับซากอาคารโบราณ    ซึ่งสันนิฐานว่าเป็นเมืองเดิมของอาราจักรเจนละ
                     ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่  7  โปรดเกล้าฯ    ให้สร้างศาสนสถานในรูปแบบของปราสาทหินทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก กระจายอยู่ไปในดินแดนอีสานใต้    ซึ่งเป็นเส้นทางเชื่อมโยงระหว่างนครวัด กับเมืองพิมาย ( ในโคราช )  โดยผ่านช้องปราสาทตาเมือน    ชายแดนสุรินทร์  –  กัมพูชาที่มีโบราณสถานกลุ่มปราสาทตาเหมือน   หลงเหลิอร่องรอยความยิ่งใหญ่ในอดีต
                  หลังรัชกาลพระเจ้าชัยวรมันที่  7  ความรุ่งเรืองของอาณาจักร ของขอมเริ่มเสื่อมสลายลง    เหลืองเพียงชนเผ่าพื้นเมืองที่กระจายอยู่ทั่วพื้นที่   จวบจนกระทั่งช่วงปลายอยุธยาจึงมีบันทึกเรื่องราวดินแดน สุรินทร์ - ศรีสะเกษ ขึ้นอีกครั้ง   โดยในปี พ . ศ . 2260   ในช่วงสมัยอยุธยาตอนปลาย   มีกลุ่มคนชาวกูยหรือส่วยได้ย้ายถิ่นฐานจากเมืองอัตปือแสนแป    แคว้นจำปาสักในลาวเข้ามาอยู่แถบเมืองสุรินทร์และศรีสะเกษ    กระจายกันอยู่เป็นกลุ่มๆ    ได้แก่    กลุ่มนายเชียงปุม    กลุ่มนายเซียงสี      กลุ่มนายเซียงสี    กลุ่มนายเซียงมะ    กลุ่มนายเซียงไชย     กลุ่มนายเวียงขัน    หรือตากะจะ   กลุ่มชาวกูยทั้งหมดนี้มี ความสามารถในการจับช้างและเลี้ยงช้างสืบทอดมาจนปัจจุบัน
                 ต่อมาในราวปี พ . ศ .  2302  ในสมัยพระเจ้าเอกทัศน์แห่งกรุงศรีอยุธยา   ได้เกิดเหตุช้างเผือกหนีจากกรุงศรีอยุธยามุ่งไปทางฝั่งแม่น้ำมูลด้านใต้   กลุ่มชาวกุยดังกล่าวซึ่งมีความสามารถในการจับช้าง    จึงอาสาจับช้างเผือกได้สำเร็จ    พระเจ้าเอกทัศน์จึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานบรรดาศักดิ์แต่งตั้งหัวหน้า กลุ่มชายกูยทั้งหกคน    ในจำนวนนี้มีชาวกูยที่เป็นผู้ก่อสร้างเมืองสุรินทร์ - ศรีสะเกษ ในเวลาต่อมาคือเชียงปุม    ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหลวงสุรินทร์ภักดี   เจ้าเมืองประทายสมันต์  ( บ้านคูปะทาย )    นายตากะจะหรือเชียงขัน ให้เป็นพระยาไกรภักดีศรีนครลำดวนเป็นเจ้าเมืองขุขันธ์   ( เป็นที่ตั้งของ อ . เมืองศรีสะเกษ )   สุรินทร์ - ศรีสะเกษจึงมีประวัติการตั้งเมืองในเหตุการณ์เดียวกัน
                  ส่วนเมืองขุนชันธ์เกิดกันดารน้ำในปี พ . ศ .  2321    พระยาไกรภักดีศรีนครลำดวนจึงย้ายเมืองไปตั้งเมืองใหม่ที่บ้านเตระ ต .  ห้วยเหนือ อ .  ขุขันธ์    ในขณะนั้นได้ตั้งเมืองใต้การปกครองชื่อบ้านโดนสามขา    สระกำแพงใหญ่    มีพระภักดีภูสงครามเป็นเจ้าเมือง    จนกระทั่งในปี พ . ศ .  2447 ตรงกับรัชกาลที่  5  เมืองขุขันธ์ได้ย้ายมาที่    อ . เมืองศีะสะเกษในปัจุบัน    ถึงปี  พ . ศ .  2476  จึงมีฐานะเป็นจังหวัดขุขันธ์    มาเปลี่ยนชื่อเป็น จ . ศรีสะเกษในปี  พ . ศ .  2481  โดยเกี่ยวโยงกับตำนานที่ว่า    เมื่อพันปีมาแล้ว   มีนางพญาขอมองค์หนึ่ง    เดินทางมาแวะพักค้างแรมที่ปราสาทสระกำแพงใหญ่   ได้ลงสะผมในสระกำแพงใหญ่    ชาวบ้านที่ได้พบเห็นชื่นชมความงาม ของนางพญาขอมจึงเรียกบริเวณนี้ว่าเมืองสระเกษ
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ จังหวัดศรีสะเกษ เริ่มขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย เมื่อ พ . ศ . 2302  สมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ โปรดให้ยกบ้านปราสาทสี่เหลี่ยมดงลำดวนขึ้นเป็นเมืองนครลำดวน  ต่อมาเมืองนครลำดวนเกิดภาวะขาดแคลนน้ำจึงโปรดเกล้าฯ  ให้เทครัวไปจัดตั้งเมืองใหม่ที่ริมหนองแตระห่างจากเมืองเดิมไปทางใต้ เมืองใหม่เรียก  " เมืองขุขันธ์ "  หรือ  " เมืองคูขัณฑ์ "  ซึ่งได้แก่อำเภอขุขันธ์ในปัจจุบัน
ต่อมาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกโปรดเกล้าฯ ให้แยกบ้านโนนสามขาสระกำแพงออกจากเมืองขุขันธ์ แล้วตั้งเป็นเ มืองใหม่เรียก เมืองศรีสะเกศครั้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์  พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ใน พ . ศ . 2455  จึงโปรดให้รวมบ้านเมืองขุขันธ์ เมืองศรีสะเกศ  และเมืองเดชอุดม เข้าเป็นเมืองเดียวกันเรียก  " เมืองขุขันธ์ " ซึ่งต่อมาใน พ . ศ . 2459  มีประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนคำว่าเมืองเรียกว่าจังหวัด ลงวันที่  19  พฤษภาคม ปีนั้นเอง เมืองขุขันธ์จึงเรียกใหม่เป็น  " จังหวัดขุขันธ์ "  ตามนั้น
ครั้น รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล  พระอัฐมรามาธิบดินทร์ ในวันที่  11  พฤศจิกายน พ . ศ . 2481 คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ได้ตราพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนนามจังหวัด และอำเภอบางแห่ง พุทธศักราช  2481  มาตรา  3  ให้เปลี่ยนชื่อ  " จังหวัดขุขันธ์ "  เป็น จังหวัดศรีสะเกษ  ( เดิมในพระราชกฤษฎีกาสะกดว่า  " ศีร์ษะเกษ ")  นับแต่นั้น ทั้งนี้ พระราชกฤษฎีกาดังกล่าวมีผลใช้บังคับตั้งแต่ วันที่  14  พฤศจิกายน พ . ศ . 2481
ทิศเหนือ  ติดต่อกับจังหวัดยโสธร  ทิศตะวันออก  ติดต่อกับจังหวัดอุบลราชธานี  ทิศใต้  ติดต่อกับราชอาณาจักรกัมพูชา ทิศตะวันตก  ติดต่อกับจังหวัดสุรินทร์และจังหวัดร้อยเอ็ด  อาณาเขตติดต่อ
ตราประจำจังหวัด   :  รูปปรางค์กู่มีดอกลำดวน  6  กลีบอยู่เบื้องล่าง ( เดิมใช้ภาพปราสาทหินเขาพระวิหารเป็นตราประจำจังหวัด มาเปลี่ยนเป็นตราปัจจุบันเมื่อ พ . ศ . 2512 ดอกไม้ประจำจังหวัด :  ดอกลำดวน  ( Melodorum fruticosum )  ต้นไม้ประจำจังหวัด :  ลำดวน  ( Melodorum fruticosum )  คำขวัญประจำจังหวัด :  หลวงพ่อโตคู่บ้าน ถิ่นฐานปราสาทขอม  ข้าว หอมกระเทียมเทียมดี มีสวนสมเด็จ เขตดงลำดวน หลากล้วนวัฒนธรรม เลิศล้ำสามัคคี
จังหวัดศรีสะเกษแบ่งการปกครองออกเป็น  22  อำเภอ  206  ตำบล และอีก  2 , 557  หมู่บ้าน อำเภอได้แก่ การปกครอง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
จังหวัดศรีสะเกษ แบ่งเขตเลือกตั้งออกเป็น  3  เขต มีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งสิ้น  9  คน โดยแต่ละเขตแบ่งออกดังนี้ เขต  1  ประกอบด้วย อำเภอเมืองศรีสะเกษ อำเภอยางชุมน้อย อำเภอกันทรารมย์ อำเภอโนนคูณ อำเภอพยุห์ อำเภอราษีไศล อำเภอศิลาลาด อำเภอบึงบูรพ์ และอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ  เขต  2  ประกอบด้วย อำเภอเมืองจันทร์ อำเภออุทุมพรพิสัย อำเภอห้วยทับทัน อำเภอวังหิน อำเภอปรางค์กู่ อำเภอขุขันธ์ และอำเภอภูสิงห์  เขต  3  ประกอบด้วย อำเภอกันทรลักษ์ อำเภอขุนหาญ อำเภอไพรบึง อำเภอศรีรัตน อำเภอเบญจลักษ์ และอำเภอน้ำเกลี้ยง  การเลือกตั้ง
จังหวัดศรีสะเกษนั้น ตอนใต้มีทิวเขาพนมดงรัก ซึ่งทอดตัวในแนวตัวตกและตะวันออกเป็น เส้นแบ่งเขตแดนระหว่างไทยกับกัมพูชา ยอดเขาสูงสุดในจังหวัดชื่อ " พนมโนนอาว "  สูงหกร้อยเจ็ดสิบเอ็ดเมตรจากระดับทะเลปานกลาง โดยตั้งอยู่ในเขตอำเภอกันทรลักษ์จากเขาพนมโนนอาวนี้  พื้นที่ค่อย ๆ ลาดต่ำขึ้นไปทางเหนือลงสู่ที่ราบลุ่มแม่น้ำมูล ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบลอนลาด มีระดับความสูงระหว่าง หนึ่งร้อยห้าสิบเมตรถึงสองร้อยเมตรจากระดับทะเลปานกลาง มีลำน้ำหลายสายไหลผ่านที่ราบลอนลาดนี้ลงไปยังแม่น้ำมูลซึ่ง ได้แก่ ห้วยทับทัน ห้วยสำราญ และห้วยขะยุง ภูมิประเทศ
ตัวเมืองตั้งอยู่ฝั่งห้วยสำราญ ห่างจากแม่น้ำมูล ไปทางทิศใต้ประมาณสิบกิโลเมตร และอยู่สูงจากระดับทะเลปานกลาง หนี่งร้อยยี่สิบหกเมตรทางตอนเหนือของจังหวัดมีแม่น้ำมูลไหลผ่านเขต อำเภอราษีไศลอำเภอยางชุมน้อยและอำเภอกันทรารมย์  เป็นระยะทางยาวประมาณหนึ่งร้อยยี่สิบกิโลมเตร  บริเวณนี้ถือเป็นแหล่งอุดมสมบูรณ์ที่สุดของจังหวัด เนื่องจากเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำขนาดใหญ่อันอยู่สูงจากระดับทะเลปานกลาง ประมาณ  115-130  เมตร
ทุ่งกุลาร้องไห้  เป็นที่ราบขนาดใหญ่มีพื้นที่ประมาณ  2  ล้านไร่  อยู่ในเขตจังหวัดสุรินทร์ จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดบุรีรัมย์  จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดร้อยเอ็ด การที่ได้ชื่อว่าทุ่งกุลาร้องไห้  มีเรื่องเล่าสืบกันมาว่าชนเผ่ากุลาซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยจากเมืองเมาะตะมะ ประเทศพม่าได้เดินทางมาค้าขายผ่านทุ่งแห่งนี้ ต้องใช้เวลาเดินทางหลายวัน  ไม่พบหมู่บ้านใด ๆ เลย น้ำก็ไม่มีดื่ม ต้นไม้ก็ไม่มีที่จะให้ร่มเงา  มีแต่ทุ่งหญ้าเต็มไปหมด พื้นดินเป็นทราย เดินทางยากลำบาก เหมือนอยู่กลางทะเลทราย ทำให้คนพวกนี้ถึงกับร้องไห้ ในอดีตทุ่งกุลาร้องไห้ในฤดูแล้ง พื้นที่ส่วนใหญ่จะแห้งแล้งมาก  ส่วนในฤดูฝนน้ำจะท่วมทุกปี ใต้พื้นดินลงไปเป็นน้ำเค็ม  ไม่สามารถทำการเกษตรได้ หลังจากที่ได้มีการพัฒนาที่ดินแล้ว ทุ่งกุลาร้องไห้ได้กลายเป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิที่สำคัญของประเทศ และกลายเป็นอู่ข้าวอู่น้ำที่มีชื่อเสียงของไทย
ภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศโดยทั่วไปของจังหวัดศรีสะเกษ มีอากาศร้อนจัดในฤดูร้อนและค่อนข้างหนาวจัดในฤดูหนาว  ส่วนฤดูฝนจะมีฝนตกหนักในเดือนกันยายน โดยมักจะตกหนัก ในพื้นที่ตอนกลางและตอนใต้ของจังหวัด ส่วนพื้นที่ทางตอนเหนือ ของจังหวัดจะมีปริมารฝนตกน้อย และไม่ค่อยสม่ำเสมอ โดยเฉลี่ยแล้วในปีหนึ่ง ๆ จะมีฝนตก  100  วัน ปริมาณฝนเฉลี่ย  1 , 200-1 , 400 มิลลิเมตรต่อปี อุณหภูมิต่ำสุดประมาณ  10  องศาเซลเซียส สูงสุดประมาณ  40  องศาเซลเซียส เฉลี่ยประมาณ  26-28  องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพันธ์เฉลี่ยร้อยละ  66-73
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ทรัพยากร
ในจังหวัดศรีสะเกษมีชุมชนหลายกลุ่มอาศัยอยู่ร่วมกัน ทั้งนี้เป็นผลมาจากการอพยพย้ายครัวเข้ามา ของคนเชื้อชาติต่าง ๆ ในอดีต แม้ปัจจุบันยังคงเห็นลักษณะ เฉพาะทางกายภาพและวัฒนธรรมของกลุ่มคนเหล่านั้นอยู่  กลุ่มคนที่ว่านี้ได้แก่  ชาวลาว ชาวเขมร ชาวส่วยหรือกูย และเยอ ประชากร
จากกรุงเทพมหานครสามารถเดินทางไปยังจังหวัดศรีสะเกษได้ดังนี้ โดยรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือ มาลงที่สถานีศรีสะเกษ ระยะทาง  515.09  กิโลเมตร โดยทางหลวงแผ่นดินหมายเลข  1 ( ถนนพหลโยธิน )  ถึงทางแยกเข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข  2 ( ถนนมิตรภาพ )  ที่กิโลเมตรที่  107  แล้วไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข  2 ถึงจังหวัดนครราชสีมา แยกทางขวาเข้าทางหลวงหมายเลข  226 ผ่านจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดสุรินทร์จึงถึงจังหวัดศรีสะเกษ  รวมระยะทาง  571  กิโลเมตร โดยรถโดยสารประจำทาง สามารถเดินทางจากสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ สายตะวันออกเฉียงเหนือ มาลงที่สถานีรขนส่งผู้โดยสาร จังหวัดศรีสะเกษได้โดยตรง โดยเครื่องบิน สามารถเดินทาง โดยสายการบินภายในประเทศมายังท่าอากาศยานอุบลราชธานี และเดินทางต่อมายังจังหวัดศรีสะเกษ ด้วยระยะทางอีกประมาณ  60  กิโลเมตร
การศึกษา โรงเรียน  ดูที่ รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดศรีสะเกษ  ระดับอุดมศึกษา  มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ  มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดศรีสะเกษ  สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตศรีสะเกษ  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ศูนย์วัดสระกำแพงใหญ่  อำเภออุทุมพรพิสัย  มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ศูนย์การศึกษาศรีสะเกษ  วิทยาลัยเฉลิมกาญจนา
แหล่งประวัติศาสตร์ ปราสาทสระกำแพงใหญ่ บริเวณที่ตั้งของจังหวัดนี้เคยเป็นอู่วัฒนธรรมสมัยทวารวดีและอาณาจักรเขมร โบราณเช่นเดียวกับพื้นที่อื่น ๆ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากหลักฐานทาง โบราณค ด ีที่บ้านหลุบโมก ตำบลเมืองคง อำเภอราศีไศล พบร่องรอยเมืองโบราณ มีคูน้ำและคันดินล้อมรอบสองชั้น ภายในเมืองมีซากโบราณสถานและใบเสมาอัน แสดงถึงร่องรอยการนับถือพุทธศาสนา นอกจากนี้ยังพบปราสาท และปรางคู่อีกหลายแห่ง โดยเป็นศิลปะเขมรราวพุทธศตวรรษที่  16-17 แหล่งทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญ เช่น ปราสาทสระกำแพงใหญ่ อำเภออุทุมพรพิสัย ,   ปราสาทตาเล็ง อำเภอขุขัน์ ,   ปราสาทโดนตวล อำเภอกันทรลักษ์ และปราสาทปรางค์กู่ อำเภอปรางค์กู่
แหล่งท่องเที่ยว จังหวัดศรีสะเกษ มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และทางวัฒนาธรรมหลายแห่ง อาทิ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ผามออีแดง
[object Object]
ปราสาท  อำเภอขุขันธ์
[object Object]
[object Object]
[object Object]
กีฬา ในจังหวัดศรีสะเกษ มีการจัดการแข่งขันกีฬาในระดับประเทศหลายครั้ง ได้แก่ การแข่งขันกีฬายกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย พ . ศ . 2552 การแข่งขันกีฬาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งประเทศไทย พ . ศ . 2552 กีฬาอาชีพในศรีสะเกษนั้น มีสโมสรฟุตบอลอาชีพ คือ สโมสรฟุตบอลจังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งเป็นทีมฟุตบอลทีมแรก ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ได้ผ่านเข้าแข่งขันในการ แข่งขันฟุตบอลอาชีพสูงสุดของประเทศไทย คือ ไทยพรีเมียร์ลีก
คำขวัญ  :  "  ศรีสะเกษแดนปราสาทขอม กระเทียมดี มีสวนสมเด็จ  เขตดงลำดวน หลากล้วนวัฒนธรรม  "
 
บรรณานุกรม สารานุกรมเสรี .  “ จังหวัดศรีสะเกษ .”   6  ธันวาคม  2553.  < http://th.wikipedia.org/wiki. >  8   ธันวาคม  2553.   จังหวัดศรีสะเกษ .  “ จังหวัดศรีสะเกษ .”   8   ธันวาคม  2553.   < www.toursisaket.com/.>  8   ธันวาคม    2553.
จบการนำเสนอ   จัดทำโดย นายธีรวุฒิ  ดวงบุรมย์ ชั้น ม . 5 / 3

More Related Content

What's hot

พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานBenjawan Hengkrathok
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
สุนทรภู่กวีเอกไทย302
สุนทรภู่กวีเอกไทย302สุนทรภู่กวีเอกไทย302
สุนทรภู่กวีเอกไทย302chindekthai01
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

What's hot (20)

พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
 
ประวัติศาสตร์ไทย
ประวัติศาสตร์ไทยประวัติศาสตร์ไทย
ประวัติศาสตร์ไทย
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
สุนทรภู่กวีเอกไทย302
สุนทรภู่กวีเอกไทย302สุนทรภู่กวีเอกไทย302
สุนทรภู่กวีเอกไทย302
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่สุนทรภู่
สุนทรภู่
 

Similar to ศรีษเกษ

ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงันตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงันTat Samui
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์Songwut Wankaew
 
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์Songwut Wankaew
 
ผลกระทบทางการท่องเที่ยวของเกาะเสม็ด
ผลกระทบทางการท่องเที่ยวของเกาะเสม็ดผลกระทบทางการท่องเที่ยวของเกาะเสม็ด
ผลกระทบทางการท่องเที่ยวของเกาะเสม็ดWakaba Terada
 
งานเล็ก
งานเล็กงานเล็ก
งานเล็กJarutsee
 

Similar to ศรีษเกษ (20)

ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงันตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
 
7
77
7
 
จังหวัดร้อยเอ็ด
จังหวัดร้อยเอ็ดจังหวัดร้อยเอ็ด
จังหวัดร้อยเอ็ด
 
ประเทศภูฏาน
ประเทศภูฏานประเทศภูฏาน
ประเทศภูฏาน
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
 
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
 
สงขลา
สงขลาสงขลา
สงขลา
 
จังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษจังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษ
 
อารยธรรมอินคา
อารยธรรมอินคาอารยธรรมอินคา
อารยธรรมอินคา
 
สมุทรสงคราม
สมุทรสงครามสมุทรสงคราม
สมุทรสงคราม
 
ผลกระทบทางการท่องเที่ยวของเกาะเสม็ด
ผลกระทบทางการท่องเที่ยวของเกาะเสม็ดผลกระทบทางการท่องเที่ยวของเกาะเสม็ด
ผลกระทบทางการท่องเที่ยวของเกาะเสม็ด
 
วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)
วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)
วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)
 
พระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยาพระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยา
 
ตาก
ตากตาก
ตาก
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
Indus1
Indus1Indus1
Indus1
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
งานเล็ก
งานเล็กงานเล็ก
งานเล็ก
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

ศรีษเกษ

  • 2.                    กว่า 2,000 ปีมาแล้ว   ชุมชนโบราณยุคโลหะสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ได้ทิ้งร่องรอยคูน้ำกำแพงเมือง ภาชนะดินเผา   โครงกระดูก   และโบราณวัตถุอื่นๆ   ไว้ในบริเวณ อ . เมืองสุรินทร์ และ อ . ราศีไศล จ . ศรีสะเกษ   สอดคล้องกับจดหมายเหตุของจีน   ซึ่งได้ระบุไว้ว่า   บริเวณแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยมีอาณาจักรขนาดใหญ่ชื่อว่าฟูนัน   โดยมีชาวลพว้าปกครอง   ต่อมาในราวปี พ . ศ . 1100 ละว้าเริ่มเสื่อมอำนาจลง   ในขณะเดียวกันขอมกำลังเรืองอำนาจแผ่อิทธิพลเข้าในภูมิภาคนี้   โดยในสมัยพระเจ้ามเหนทรวรมันตั้งอาณาจักรเจนละขึ้น   โดยมีเมืองสุรินทร์เป็นเมืองหน้าด่านสำคัญก่อนถึงเมืองพิมายซึ่งเป็นศูนย์กลาง การปกครองในครั้งนั้น ประวัติจังหวัดศรีสะเกษ
  • 3. ก่อนปี พ . ศ . 1200 อาณาจักรเจนละได้ย้ายเมืองหลวงจากบริเวณวัดภู   จำปาสัก   มาที่บริเวณที่ตั้งเมืองสุรินทร์ต่อเนืองเมืองพิมายในโคราช   ดังปรากฏหลักฐานว่า พระเจ้าชัยวรมันที่ 6 ในราว พ . ศ . 1623-1650 โปรดเกล้าฯ   ให้สร้างเมืองพิมายขึ้นใหม่ทับซากอาคารโบราณ   ซึ่งสันนิฐานว่าเป็นเมืองเดิมของอาราจักรเจนละ
  • 4.                     ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 โปรดเกล้าฯ   ให้สร้างศาสนสถานในรูปแบบของปราสาทหินทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก กระจายอยู่ไปในดินแดนอีสานใต้   ซึ่งเป็นเส้นทางเชื่อมโยงระหว่างนครวัด กับเมืองพิมาย ( ในโคราช ) โดยผ่านช้องปราสาทตาเมือน   ชายแดนสุรินทร์ – กัมพูชาที่มีโบราณสถานกลุ่มปราสาทตาเหมือน   หลงเหลิอร่องรอยความยิ่งใหญ่ในอดีต
  • 5.                  หลังรัชกาลพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ความรุ่งเรืองของอาณาจักร ของขอมเริ่มเสื่อมสลายลง   เหลืองเพียงชนเผ่าพื้นเมืองที่กระจายอยู่ทั่วพื้นที่   จวบจนกระทั่งช่วงปลายอยุธยาจึงมีบันทึกเรื่องราวดินแดน สุรินทร์ - ศรีสะเกษ ขึ้นอีกครั้ง   โดยในปี พ . ศ . 2260  ในช่วงสมัยอยุธยาตอนปลาย   มีกลุ่มคนชาวกูยหรือส่วยได้ย้ายถิ่นฐานจากเมืองอัตปือแสนแป   แคว้นจำปาสักในลาวเข้ามาอยู่แถบเมืองสุรินทร์และศรีสะเกษ   กระจายกันอยู่เป็นกลุ่มๆ   ได้แก่   กลุ่มนายเชียงปุม   กลุ่มนายเซียงสี     กลุ่มนายเซียงสี   กลุ่มนายเซียงมะ   กลุ่มนายเซียงไชย     กลุ่มนายเวียงขัน   หรือตากะจะ   กลุ่มชาวกูยทั้งหมดนี้มี ความสามารถในการจับช้างและเลี้ยงช้างสืบทอดมาจนปัจจุบัน
  • 6.                 ต่อมาในราวปี พ . ศ . 2302  ในสมัยพระเจ้าเอกทัศน์แห่งกรุงศรีอยุธยา   ได้เกิดเหตุช้างเผือกหนีจากกรุงศรีอยุธยามุ่งไปทางฝั่งแม่น้ำมูลด้านใต้   กลุ่มชาวกุยดังกล่าวซึ่งมีความสามารถในการจับช้าง   จึงอาสาจับช้างเผือกได้สำเร็จ   พระเจ้าเอกทัศน์จึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานบรรดาศักดิ์แต่งตั้งหัวหน้า กลุ่มชายกูยทั้งหกคน   ในจำนวนนี้มีชาวกูยที่เป็นผู้ก่อสร้างเมืองสุรินทร์ - ศรีสะเกษ ในเวลาต่อมาคือเชียงปุม   ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหลวงสุรินทร์ภักดี   เจ้าเมืองประทายสมันต์ ( บ้านคูปะทาย )   นายตากะจะหรือเชียงขัน ให้เป็นพระยาไกรภักดีศรีนครลำดวนเป็นเจ้าเมืองขุขันธ์ ( เป็นที่ตั้งของ อ . เมืองศรีสะเกษ )   สุรินทร์ - ศรีสะเกษจึงมีประวัติการตั้งเมืองในเหตุการณ์เดียวกัน
  • 7.                  ส่วนเมืองขุนชันธ์เกิดกันดารน้ำในปี พ . ศ . 2321   พระยาไกรภักดีศรีนครลำดวนจึงย้ายเมืองไปตั้งเมืองใหม่ที่บ้านเตระ ต . ห้วยเหนือ อ . ขุขันธ์   ในขณะนั้นได้ตั้งเมืองใต้การปกครองชื่อบ้านโดนสามขา   สระกำแพงใหญ่   มีพระภักดีภูสงครามเป็นเจ้าเมือง   จนกระทั่งในปี พ . ศ . 2447 ตรงกับรัชกาลที่ 5 เมืองขุขันธ์ได้ย้ายมาที่   อ . เมืองศีะสะเกษในปัจุบัน   ถึงปี พ . ศ . 2476 จึงมีฐานะเป็นจังหวัดขุขันธ์   มาเปลี่ยนชื่อเป็น จ . ศรีสะเกษในปี พ . ศ . 2481 โดยเกี่ยวโยงกับตำนานที่ว่า   เมื่อพันปีมาแล้ว   มีนางพญาขอมองค์หนึ่ง   เดินทางมาแวะพักค้างแรมที่ปราสาทสระกำแพงใหญ่   ได้ลงสะผมในสระกำแพงใหญ่   ชาวบ้านที่ได้พบเห็นชื่นชมความงาม ของนางพญาขอมจึงเรียกบริเวณนี้ว่าเมืองสระเกษ
  • 8. พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ จังหวัดศรีสะเกษ เริ่มขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย เมื่อ พ . ศ . 2302 สมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ โปรดให้ยกบ้านปราสาทสี่เหลี่ยมดงลำดวนขึ้นเป็นเมืองนครลำดวน ต่อมาเมืองนครลำดวนเกิดภาวะขาดแคลนน้ำจึงโปรดเกล้าฯ ให้เทครัวไปจัดตั้งเมืองใหม่ที่ริมหนองแตระห่างจากเมืองเดิมไปทางใต้ เมืองใหม่เรียก &quot; เมืองขุขันธ์ &quot; หรือ &quot; เมืองคูขัณฑ์ &quot; ซึ่งได้แก่อำเภอขุขันธ์ในปัจจุบัน
  • 9. ต่อมาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกโปรดเกล้าฯ ให้แยกบ้านโนนสามขาสระกำแพงออกจากเมืองขุขันธ์ แล้วตั้งเป็นเ มืองใหม่เรียก เมืองศรีสะเกศครั้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ใน พ . ศ . 2455 จึงโปรดให้รวมบ้านเมืองขุขันธ์ เมืองศรีสะเกศ และเมืองเดชอุดม เข้าเป็นเมืองเดียวกันเรียก &quot; เมืองขุขันธ์ &quot; ซึ่งต่อมาใน พ . ศ . 2459 มีประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนคำว่าเมืองเรียกว่าจังหวัด ลงวันที่ 19 พฤษภาคม ปีนั้นเอง เมืองขุขันธ์จึงเรียกใหม่เป็น &quot; จังหวัดขุขันธ์ &quot; ตามนั้น
  • 10. ครั้น รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร์ ในวันที่ 11 พฤศจิกายน พ . ศ . 2481 คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ได้ตราพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนนามจังหวัด และอำเภอบางแห่ง พุทธศักราช 2481 มาตรา 3 ให้เปลี่ยนชื่อ &quot; จังหวัดขุขันธ์ &quot; เป็น จังหวัดศรีสะเกษ ( เดิมในพระราชกฤษฎีกาสะกดว่า &quot; ศีร์ษะเกษ &quot;) นับแต่นั้น ทั้งนี้ พระราชกฤษฎีกาดังกล่าวมีผลใช้บังคับตั้งแต่ วันที่ 14 พฤศจิกายน พ . ศ . 2481
  • 11. ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดยโสธร ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดอุบลราชธานี ทิศใต้ ติดต่อกับราชอาณาจักรกัมพูชา ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดสุรินทร์และจังหวัดร้อยเอ็ด อาณาเขตติดต่อ
  • 12. ตราประจำจังหวัด   : รูปปรางค์กู่มีดอกลำดวน 6 กลีบอยู่เบื้องล่าง ( เดิมใช้ภาพปราสาทหินเขาพระวิหารเป็นตราประจำจังหวัด มาเปลี่ยนเป็นตราปัจจุบันเมื่อ พ . ศ . 2512 ดอกไม้ประจำจังหวัด : ดอกลำดวน ( Melodorum fruticosum ) ต้นไม้ประจำจังหวัด : ลำดวน ( Melodorum fruticosum ) คำขวัญประจำจังหวัด : หลวงพ่อโตคู่บ้าน ถิ่นฐานปราสาทขอม ข้าว หอมกระเทียมเทียมดี มีสวนสมเด็จ เขตดงลำดวน หลากล้วนวัฒนธรรม เลิศล้ำสามัคคี
  • 13.
  • 14. จังหวัดศรีสะเกษ แบ่งเขตเลือกตั้งออกเป็น 3 เขต มีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งสิ้น 9 คน โดยแต่ละเขตแบ่งออกดังนี้ เขต 1 ประกอบด้วย อำเภอเมืองศรีสะเกษ อำเภอยางชุมน้อย อำเภอกันทรารมย์ อำเภอโนนคูณ อำเภอพยุห์ อำเภอราษีไศล อำเภอศิลาลาด อำเภอบึงบูรพ์ และอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ เขต 2 ประกอบด้วย อำเภอเมืองจันทร์ อำเภออุทุมพรพิสัย อำเภอห้วยทับทัน อำเภอวังหิน อำเภอปรางค์กู่ อำเภอขุขันธ์ และอำเภอภูสิงห์ เขต 3 ประกอบด้วย อำเภอกันทรลักษ์ อำเภอขุนหาญ อำเภอไพรบึง อำเภอศรีรัตน อำเภอเบญจลักษ์ และอำเภอน้ำเกลี้ยง การเลือกตั้ง
  • 15. จังหวัดศรีสะเกษนั้น ตอนใต้มีทิวเขาพนมดงรัก ซึ่งทอดตัวในแนวตัวตกและตะวันออกเป็น เส้นแบ่งเขตแดนระหว่างไทยกับกัมพูชา ยอดเขาสูงสุดในจังหวัดชื่อ &quot; พนมโนนอาว &quot; สูงหกร้อยเจ็ดสิบเอ็ดเมตรจากระดับทะเลปานกลาง โดยตั้งอยู่ในเขตอำเภอกันทรลักษ์จากเขาพนมโนนอาวนี้ พื้นที่ค่อย ๆ ลาดต่ำขึ้นไปทางเหนือลงสู่ที่ราบลุ่มแม่น้ำมูล ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบลอนลาด มีระดับความสูงระหว่าง หนึ่งร้อยห้าสิบเมตรถึงสองร้อยเมตรจากระดับทะเลปานกลาง มีลำน้ำหลายสายไหลผ่านที่ราบลอนลาดนี้ลงไปยังแม่น้ำมูลซึ่ง ได้แก่ ห้วยทับทัน ห้วยสำราญ และห้วยขะยุง ภูมิประเทศ
  • 16. ตัวเมืองตั้งอยู่ฝั่งห้วยสำราญ ห่างจากแม่น้ำมูล ไปทางทิศใต้ประมาณสิบกิโลเมตร และอยู่สูงจากระดับทะเลปานกลาง หนี่งร้อยยี่สิบหกเมตรทางตอนเหนือของจังหวัดมีแม่น้ำมูลไหลผ่านเขต อำเภอราษีไศลอำเภอยางชุมน้อยและอำเภอกันทรารมย์ เป็นระยะทางยาวประมาณหนึ่งร้อยยี่สิบกิโลมเตร บริเวณนี้ถือเป็นแหล่งอุดมสมบูรณ์ที่สุดของจังหวัด เนื่องจากเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำขนาดใหญ่อันอยู่สูงจากระดับทะเลปานกลาง ประมาณ 115-130 เมตร
  • 17. ทุ่งกุลาร้องไห้ เป็นที่ราบขนาดใหญ่มีพื้นที่ประมาณ 2 ล้านไร่ อยู่ในเขตจังหวัดสุรินทร์ จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดร้อยเอ็ด การที่ได้ชื่อว่าทุ่งกุลาร้องไห้ มีเรื่องเล่าสืบกันมาว่าชนเผ่ากุลาซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยจากเมืองเมาะตะมะ ประเทศพม่าได้เดินทางมาค้าขายผ่านทุ่งแห่งนี้ ต้องใช้เวลาเดินทางหลายวัน ไม่พบหมู่บ้านใด ๆ เลย น้ำก็ไม่มีดื่ม ต้นไม้ก็ไม่มีที่จะให้ร่มเงา มีแต่ทุ่งหญ้าเต็มไปหมด พื้นดินเป็นทราย เดินทางยากลำบาก เหมือนอยู่กลางทะเลทราย ทำให้คนพวกนี้ถึงกับร้องไห้ ในอดีตทุ่งกุลาร้องไห้ในฤดูแล้ง พื้นที่ส่วนใหญ่จะแห้งแล้งมาก ส่วนในฤดูฝนน้ำจะท่วมทุกปี ใต้พื้นดินลงไปเป็นน้ำเค็ม ไม่สามารถทำการเกษตรได้ หลังจากที่ได้มีการพัฒนาที่ดินแล้ว ทุ่งกุลาร้องไห้ได้กลายเป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิที่สำคัญของประเทศ และกลายเป็นอู่ข้าวอู่น้ำที่มีชื่อเสียงของไทย
  • 18. ภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศโดยทั่วไปของจังหวัดศรีสะเกษ มีอากาศร้อนจัดในฤดูร้อนและค่อนข้างหนาวจัดในฤดูหนาว ส่วนฤดูฝนจะมีฝนตกหนักในเดือนกันยายน โดยมักจะตกหนัก ในพื้นที่ตอนกลางและตอนใต้ของจังหวัด ส่วนพื้นที่ทางตอนเหนือ ของจังหวัดจะมีปริมารฝนตกน้อย และไม่ค่อยสม่ำเสมอ โดยเฉลี่ยแล้วในปีหนึ่ง ๆ จะมีฝนตก 100 วัน ปริมาณฝนเฉลี่ย 1 , 200-1 , 400 มิลลิเมตรต่อปี อุณหภูมิต่ำสุดประมาณ 10 องศาเซลเซียส สูงสุดประมาณ 40 องศาเซลเซียส เฉลี่ยประมาณ 26-28 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพันธ์เฉลี่ยร้อยละ 66-73
  • 19.
  • 20. ในจังหวัดศรีสะเกษมีชุมชนหลายกลุ่มอาศัยอยู่ร่วมกัน ทั้งนี้เป็นผลมาจากการอพยพย้ายครัวเข้ามา ของคนเชื้อชาติต่าง ๆ ในอดีต แม้ปัจจุบันยังคงเห็นลักษณะ เฉพาะทางกายภาพและวัฒนธรรมของกลุ่มคนเหล่านั้นอยู่ กลุ่มคนที่ว่านี้ได้แก่ ชาวลาว ชาวเขมร ชาวส่วยหรือกูย และเยอ ประชากร
  • 21. จากกรุงเทพมหานครสามารถเดินทางไปยังจังหวัดศรีสะเกษได้ดังนี้ โดยรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือ มาลงที่สถานีศรีสะเกษ ระยะทาง 515.09 กิโลเมตร โดยทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ( ถนนพหลโยธิน ) ถึงทางแยกเข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 ( ถนนมิตรภาพ ) ที่กิโลเมตรที่ 107 แล้วไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 ถึงจังหวัดนครราชสีมา แยกทางขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 226 ผ่านจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดสุรินทร์จึงถึงจังหวัดศรีสะเกษ รวมระยะทาง 571 กิโลเมตร โดยรถโดยสารประจำทาง สามารถเดินทางจากสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ สายตะวันออกเฉียงเหนือ มาลงที่สถานีรขนส่งผู้โดยสาร จังหวัดศรีสะเกษได้โดยตรง โดยเครื่องบิน สามารถเดินทาง โดยสายการบินภายในประเทศมายังท่าอากาศยานอุบลราชธานี และเดินทางต่อมายังจังหวัดศรีสะเกษ ด้วยระยะทางอีกประมาณ 60 กิโลเมตร
  • 22. การศึกษา โรงเรียน ดูที่ รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดศรีสะเกษ ระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดศรีสะเกษ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ศูนย์วัดสระกำแพงใหญ่ อำเภออุทุมพรพิสัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ศูนย์การศึกษาศรีสะเกษ วิทยาลัยเฉลิมกาญจนา
  • 23. แหล่งประวัติศาสตร์ ปราสาทสระกำแพงใหญ่ บริเวณที่ตั้งของจังหวัดนี้เคยเป็นอู่วัฒนธรรมสมัยทวารวดีและอาณาจักรเขมร โบราณเช่นเดียวกับพื้นที่อื่น ๆ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากหลักฐานทาง โบราณค ด ีที่บ้านหลุบโมก ตำบลเมืองคง อำเภอราศีไศล พบร่องรอยเมืองโบราณ มีคูน้ำและคันดินล้อมรอบสองชั้น ภายในเมืองมีซากโบราณสถานและใบเสมาอัน แสดงถึงร่องรอยการนับถือพุทธศาสนา นอกจากนี้ยังพบปราสาท และปรางคู่อีกหลายแห่ง โดยเป็นศิลปะเขมรราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 แหล่งทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญ เช่น ปราสาทสระกำแพงใหญ่ อำเภออุทุมพรพิสัย , ปราสาทตาเล็ง อำเภอขุขัน์ , ปราสาทโดนตวล อำเภอกันทรลักษ์ และปราสาทปรางค์กู่ อำเภอปรางค์กู่
  • 24.
  • 26.
  • 28.
  • 29.
  • 30.
  • 31. กีฬา ในจังหวัดศรีสะเกษ มีการจัดการแข่งขันกีฬาในระดับประเทศหลายครั้ง ได้แก่ การแข่งขันกีฬายกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย พ . ศ . 2552 การแข่งขันกีฬาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งประเทศไทย พ . ศ . 2552 กีฬาอาชีพในศรีสะเกษนั้น มีสโมสรฟุตบอลอาชีพ คือ สโมสรฟุตบอลจังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งเป็นทีมฟุตบอลทีมแรก ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ได้ผ่านเข้าแข่งขันในการ แข่งขันฟุตบอลอาชีพสูงสุดของประเทศไทย คือ ไทยพรีเมียร์ลีก
  • 32. คำขวัญ : &quot; ศรีสะเกษแดนปราสาทขอม กระเทียมดี มีสวนสมเด็จ เขตดงลำดวน หลากล้วนวัฒนธรรม &quot;
  • 33.  
  • 34. บรรณานุกรม สารานุกรมเสรี . “ จังหวัดศรีสะเกษ .” 6 ธันวาคม 2553. < http://th.wikipedia.org/wiki. > 8 ธันวาคม 2553. จังหวัดศรีสะเกษ . “ จังหวัดศรีสะเกษ .” 8 ธันวาคม 2553. < www.toursisaket.com/.> 8 ธันวาคม 2553.
  • 35. จบการนำเสนอ จัดทำโดย นายธีรวุฒิ ดวงบุรมย์ ชั้น ม . 5 / 3