SlideShare a Scribd company logo
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
เรื่อง
เทคนิคการสอน การวัดและประเมินผลตามตัวชี้วัด
ที่สอดคล้องกับทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21
นางศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ
ครูเชี่ยวชาญพิเศษ (คศ.5)
ข้าราชการบานาญ
สาระการอบรม
1. ทักษะการคิดวิเคราะห์คิดสังเคราะห์ คิดแก้ปัญหา คิดแบบมีวิจารณญาณ
คิดริเริ่มสร้างสรรค์ทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 และทักษะแกนกลาง
ที่พึงประสงค์ของหลักสูตรใหม่ ปี 2557
2. เทคนิคการสอนที่เน้นกระบวนการเรียนรู้และการปฏิบัติ
3. การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
4. การออกแบบการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เน้นพฤติกรรมระดับสูง
และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาครูให้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนที่เน้น
กระบวนการคิดและทักษะการคิดในศตวรรษที่21
2. เพื่อให้ครูจัดการเรียนรู้โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้มากกว่าการท่องจา
3. เพื่อให้ครูสามารถออกแบบการวัดและประเมินผลที่ตรงตามตัวชี้วัดและ
เป้าหมายของหลักสูตร
4. เพื่อให้ครูเห็นความสาคัญและสามารถเชื่อมโยงบูรณาการ กระบวนการ
จัดการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผล ที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียน
5. เพื่อพัฒนาครูให้มีคุณภาพสนองต่อนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
ทักษะการคิด
1. การคิดวิเคราะห์
2. การคิดสังเคราะห์
3. การคิดแก้ปัญหา
4. การคิดแบบมีวิจารณญาณ
5. คิดริเริ่มสร้างสรรค์
6. ทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21
7. ทักษะแกนกลางที่พึงประสงค์ของหลักสูตรใหม่ ปี 2557
1.แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11* (55-59)
เสริมสร้างทักษะให้คนไทยมีการเรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต
การต่อยอดความคิดสู่นวัตกรรมความรู้ความคิดสร้างสรรค์
2. พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545
ม.24 (2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์
และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ปัญหา
ม.24 (3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติ
ให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่าน เกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง
ความสาคัญและความจาเป็นในการพัฒนาทักษะการคิด
3. หลักสูตรแกนกลางฯ กาหนดสมรรถนะสาคัญ
ของผู้เรียนไว้ 5 ข้อ
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
5. เกณฑ์การผ่านช่วงชั้น และจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
“ ผู้เรียนต้องผ่านการประเมิน การอ่าน คิด วิเคราะห์ เขียน ”
6. หลักสูตรใหม่ปี2557 เน้นการจัดการเรียนการสอน
ที่ฝึกและพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหา
คิดแบบมีวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ คิดเชื่อมโยงบูรณาการ
ซึ่งเป็นทักษะที่สาคัญในศตวรรษที่21
4. มาตรฐานการศึกษาเพื่อประเมินภายนอก การศึกษาขั้นพื้นฐาน
“ ให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์
คิดสร้างสรรค์ มีวิจารณญาณ ไตร่ตรอง มีวิสัยทัศน์ ”
ไอสไตน์ (Einstein)
ความคิดและจินตนาการสาคัญกว่าความรู้
โทมัส เอวา เอดิสัน (Thomas Alva Edison)
(1847-1931)
อัจฉริยะบุคคล ได้รับ 1% มาจากแรงบันดาลใจ
ส่วนอีก 99% มาจากไม่หยุดทดลองปฏิบัติ
ไอสไตน์ ยกย่อง เอดิสัน ที่เป็นนักคิด นักประดิษฐ์
เป็นเจ้าของสิทธิบัตรทางปัญญา 1,093 ชิ้น
ดอกกุหลาบ ปากกา หนังสือ ขวด
ส้ม นก กรรไกร แว่นตา
เครื่องบิน หลอดไฟ ไก่ สุนัข
รถยนต์ เทียน เด็กหญิง กบ
เปลี่ยนจากคาให้เป็นรูปธรรม จะทาให้เข้าใจง่ายขึ้น
จาได้น้อย
จาได้ดี จาได้ดีสนใจ สนุก รัก ชอบ เกลียด
การเรียนการสอนควรเน้นกระบวนการเรียนรู้
คิดวิเคราะห์ มากกว่าการสอนให้จา
การเรียนการสอนควรเน้นกระบวนการเรียนรู้
การคิดวิเคราะห์ มากกว่าการสอนให้จา
ความจาของบุคคลมีลักษณะคล้ายเรือสุพรรณหงส์
หมั่นตั้งคาถาม
สนับสนุนให้ผู้เรียน
หาคาตอบ สร้างความอบอุ่น
ครูพัฒนาความคิดได้อย่างไร
เสริมแรงอย่าง
สม่าเสมอ
ให้ผู้เรียนมีโอกาส
คิดอย่างทั่วถึง
สนับสนุนให้ผู้เรียน
ใช้เหตุผล
ลดพฤติกรรม
ทางวาจาและ
เป็นผู้ฟังที่ดี
การคิดวิเคราะห์และการคิดสังเคราะห์
การวิเคราะห์
เป็นการคิดเปรียบเทียบของสมอง ความสามารถในการแยกความรู้
ออกเป็นส่วน ทาความเข้าใจในแต่ละส่วนว่าสัมพันธ์หรือแตกต่างกัน
อย่างไร
หลักการสอน
จัดกิจกรรมให้นักเรียนคิดเปรียบเทียบจาแนก แยกความรู้ออกเป็น
ส่วน ทาความเข้าใจในแต่ละส่วนว่าสัมพันธ์กันอย่างไร
ตัวอย่างการฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์
กิจกรรมฝึกวิเคราะห์และสรุปความรู้
พืชทั้งสองชนิดนี้จัดเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
จงสังเกตส่วนประกอบของพืช
วิเคราะห์ส่วนประกอบแล้วสรุปว่า
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวมีลักษณะเฉพาะอย่างไร
คาถาม ถ้าต้องการตรวจสอบว่า
พืชตัวอย่างเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวหรือไม่ ต้องการข้อมูลใดบ้าง
ตัวอย่างที่ 1
ตัวอย่าง คาประพันธ์ประเภทกลอนแปด ที่กาหนดให้นี้
ใช้ประกอบการทากิจกรรม
ถึงม้วยดินสิ้นฟ้ามหาสมุทร ไม่สิ้นสุดความรัก สมัครสมาน
แม้อยู่ในใต้หล้า สุธาธาร ขอพบพานพิศวาสทุกชาติไป
ตัวอย่างที่ 2 วิเคราะห์ประเภทฉันทลักษณ์
กิจกรรม
1. เขียนเส้นเชื่อมโยงคาสัมผัส
2. จงเขียนผังกลอนแปดที่ได้จากการวิเคราะห์ตัวอย่างกลอนแปด
ที่กาหนดให้
ถึงบางพูดพูดดีเป็นศรีศักดิ์ มีคนรักรสถ้อยอร่อยจิต
แม้นพูดชั่วตัวตายทาลายมิตร จะชอบผิดในมนุษย์เพราะพูดจาฯ
1
2
เฉลยกิจกรรม ข้อ 1
ถึงบางพูดพูดดีเป็นศรีศักดิ์ มีคนรักรสถ้อยอร่อยจิต
แม้นพูดชั่วตัวตายทาลายมิตร จะชอบผิดในมนุษย์เพราะพูดจาฯ
2
ถึงม้วยดินสิ้นฟ้ามหาสมุทร ไม่สิ้นสุดความรัก สมัครสมาน
แม้อยู่ในใต้หล้า สุธาธาร ขอพบพานพิศวาสทุกชาติไป
1
เฉลยกิจกรรม ข้อ 2 นักเรียนเขียนผัง 1 บท แต่ครูอธิบายเพิ่มเติมให้ครบ ดังนี้
ตัวอย่างที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
การแสดงนาฏศิลป์ในรูปภาพใดที่แสดงถึงอารมณ์ความสนุกสนานแข็งแรง กระฉับกระเฉงที่สุด
การคิดสังเคราะห์ (Synthesis – Type Think)
ความสามารถในการคิดที่ดึงองค์ประกอบต่างๆ มาหลอมรวมกัน
ภายใต้โครงสร้างใหม่อย่างเหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงค์ เป็นการค้นคว้า
รวบรวมข้อมูล เพื่อสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลย่อยๆ เป็นหลักการหรือ
แนวคิดใหม่ที่มีคุณค่าและคุณภาพสูงกว่าเดิม คนที่มีความคิดสังเคราะห์จะทา
ให้เข้าใจและเห็นภาพรวมของสิ่งใดๆ ได้ดี (สุวิทย์ มูลคา. 2547 : 13)
การคิดสังเคราะห์ อาจนาสิ่งที่กาหนดให้มาสร้างคาตอบหรือ
ภาพหรือโมเดล แต่อย่างไรก็ตามก่อนที่จะสังเคราะห์องค์ความรู้หรือ
สิ่งที่โจทย์ต้องการต้องผ่านการวิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมาย
ข้อมูลให้ถูกต้องจึงสามารถสังเคราะห์สิ่งที่ต้องการได้
ตัวอย่างการฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์และคิดสังเคราะห์
ตัวอย่างที่ 1 กาหนดแบตเตอรี่หลอดไฟ4หลอดและสายไฟฟ้าให้จงเขียนวงจรไฟฟ้า
เมื่อหลอดไฟหนึ่งหลอดดับแล้วยังมีหลอดอื่นๆสว่างได้หลายดวงมากที่สุดทุกกรณี
(อาจกาหนดเป็นรูปอุปกรณ์ก็ได้ นักเรียนต้องเขียนวงจรไฟฟ้าด้วยตนเอง)
หรือ
ตัวอย่างที่ 2
ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ในการทากิจกรรม
ถ้าตรวจสอบพบว่าสายไฟ
ของเครื่องซักผ้าชารุดหรือขาด
ท่านจะเลือกใช้เครื่องมือสาหรับ
ซ่อมชนิดใดบ้าง เพราะเหตุใด
เฉลย
1. มิเตอร์...ใช้.....
2. หัวแร้ง...ใช้......
3. คีมตัดสายไฟ ใช้.....
4. ผ้าเทปพันสายไฟ ใช้.....
5. ไขควง ใช้.....
ทากิจกรรมคิดวิเคราะห์คิดสังเคราะห์
1. จงฉีกกระดาษ A4 แล้วคลี่ออกเป็นวง ให้ตัวสามารถลอดเข้าไปได้
3. จงตัดกระดาษตามเส้นที่ปรากฏจะได้กระดาษ 3 ชิ้น
แล้วนามาประกอบกันให้ได้คน 2 คน
ขี่ม้าในท่าทีที่สง่างาม และสมบูรณ์ที่สุด
ในเวลา 5 นาที
2. จงพับรูปแอ๊ปเปิ้ล ให้เหลือ 1 ผล
ที่สมบูรณ์ และพับได้ไม่เกิน 4 ครั้ง
ในเวลา 3 นาที
ขั้นตอนการแก้ปัญหาแบบ โพลยา (POLYA,1957)
เข้าใจปัญหา (See) วางแผน (Plan) ปฏิบัติ(Do) ตรวจสอบ(Check)
-สัญลักษณ์
-ต้องการอะไร
-มีข้อมูลอะไรบ้าง
-แยกแยะปัญหาย่อย
-จัดลาดับขั้นตอนการแก้ปัญหา
-เตรียมอุปกรณ์ สิ่งที่จะใช้
การคิดแก้ปัญหา
ให้แบ่งพื้นที่บนนาฬิกาออกเป็น 3 ส่วน
โดยแต่ละส่วน เมื่อนาตัวเลขมารวมกันต้องได้ผลลัพธ์เท่ากัน
ขั้นตอน
เข้าใจปัญหา 1. แบ่งพื้นที่เป็น 3 ส่วน
2. แต่ละส่วน นาตัวเลขมาบวกกัน
ต้องเท่ากัน
3. ตัวเลขทั้งหมดรวมแล้วได้เท่าไหร่
4. แต่ละส่วน ตัวเลขรวมกันแล้ว
เท่ากัน เท่ากับตัวเลขเท่าไร
วางแผน 1. มีเลขทั้งหมดกี่ตัว
2. ดังนั้นแต่ละส่วน ควรมีตัวเลขกี่ตัว
3. บนหน้าปัดนาฬิกา ตัวเลขทางซ้าย
และขวาต่างกันอย่างไร
4. นาตัวเลข 4 ตัวทางซ้ายหรือขวา
มารวมกันได้หรือไม่
ปฏิบัติ
ตรวจสอบ
6.ประโยชน์ คือ เป็นเครื่องมือ
ในการตัดสินใจ
2.คิดไตร่ตรอง รอบคอบ
มีข้อมูลโดยอาศัยความรู้
ความคิด ประสบการณ์
การคิดอย่างมี
วิจารณญาณ
5.วัตถุประสงค์
เพื่อให้ได้ผลของการ
คิดที่ผ่านการ
กลั่นกรอง
3.มีการพิจารณาข้อมูลรอบด้าน
ตรวจสอบความเชื่อถือได้ของ
ข้อมูลและแหล่งข้อมูล
4.มีการไตร่ตรองอย่าง
รอบคอบ พิจารณาผลที่
จะตามมาก่อนตัดสินใจ
1.มีการระบุ
ประเด็นปัญหา
องค์ประกอบ
การคิดแบบมีวิจารณญาณ เอนนิส (Ennis,1985) ให้หลักการไว้ดังนี้
คิดริเริ่มสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ คือ กระบวนการคิดของสมองซึ่งมีความสามารถในการคิดได้
หลากหลายและแปลกใหม่จากเดิมโดยสามารถนาไปประยุกต์ทฤษฎีหรือหลักการได้อย่าง
รอบคอบและมีความถูกต้องจนนาไปสู่การคิดค้นและสร้างสิ่งประดิษฐ์ที่แปลกใหม่หรือ
รูปแบบความคิดใหม่ ความคิดสร้างสรรค์ในการทางาน การเรียน หรือกิจกรรมที่ต้อง
อาศัยความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ ควรจะประกอบไปด้วย3 ประการ คือ
1. สิ่งใหม่ (new, original) เป็นการคิดที่นอกกรอบความคิดที่มีอยู่เดิมที่ไม่เคยมีใคร
คิดได้มาก่อนหรืออาจะเกิดจากการต่อยอดความคิดเดิมเพื่อให้เป็นสิ่งใหม่
2.ใช้การได้ (workable) เป็นความคิดที่เกิดจากการสร้างสรรค์ที่ลึกซึ้ง
สามารถนามาพัฒนาให้เป็นจริง และใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม ตอบสนอง
วัตถุประสงค์ของการคิดได้เป็นอย่างดี
3. มีความเหมาะสม เป็นความคิดที่สะท้อนความมีเหตุมีผล ที่เหมาะสม และมีคุณค่า
ภายใต้มาตรฐานที่ยอมรับกันโดยทั่วไป
ตัวอย่างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
1. เอดิสัน ประดิษฐ์หลอดไฟชนิดมีไส้เป็นคนแรกพัฒนามาเป็นหลอดไฟ
ชนิดต่างๆ
2. พี่น้องตระกูลไรท์จิตนาการว่าคนสามารถบินได้พัฒนามาเป็นเครื่องบิน
3. ความคิดสร้างสรรค์ว่าโทรศัพท์สามารถเห็นหน้ากันได้ ปัจจุบันเป็นจริง
ปลูกข้าวในแม่น้า โคมไฟทาจากช้อพลาสติก ลูกชิ้นปิ้งรูปแองกี้เบิร์ด
กิจกรรมฝึกทักษะการคิด
คาชี้แจง
1. วิเคราะห์ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ วิชาที่สอนและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
หรือ เนื้อหาแล้วเลือกมา 1 ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้
2. คิดกิจกรรมฝึกทักษะการคิดโดยเลือกทักษะการคิดมา1 ทักษะ
จากทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดริเริ่มสร้างสรรค์คิดแก้ปัญหา
คิดแบบมีวิจารณญาณ
การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา
- แสดงให้เห็นถึงการใช้เหตุผลเพื่อรองรับความเข้าใจ
- สามารถตัดสินใจจากตัวเลือกที่หลากหลายซับซ้อน
- เข้าใจถึงความเชื่อมโยงที่มีต่อระบบต่างๆ
- ระบุแนวคิดหรือตั้งคาถามที่สามารถนาไปสู่การสร้าง
ทางเลือกที่ดีกว่า ชัดเจนกว่าในการแก้ปัญหา
- กาหนดแนวทางวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อนาไปใช้
ในการแก้ปัญหา หรือตอบคาถาม
ทักษะในศตวรรษที่ 21
(21st Century Skills)
1. ทักษะ (Skill) คือ ความสามารถในการทาสิ่งใดสิ่งหนึ่งด้วยความ
ชานาญอันเกิดจากการทาหรือปฏิบัติบ่อยๆ
พ.ศ.2338 หรือ ค.ศ.1795 Sir William Curtis ได้เสนอทักษะที่
จาเป็นในระบบการศึกษาเอาไว้ 3 ด้าน คือ 3Rs ได้แก่
1) Reading ที่หลายคนแปลว่า “อ่านออก”
2) Writing ที่หลายคนแปลว่า “เขียนได้”
3) Arithmetic ที่บางคนให้คาจากัดความว่า “คิดเลขเป็น”
 แต่นั่นคือเมื่อ 200 ปีที่แล้ว !!!!
2. ปัจจุบัน ทักษะ 3Rs ของ Sir William Curtis ได้รับการปรับเปลี่ยนมาเป็น
ทักษะ 3ร. ซึ่งได้รับการปรับเปลี่ยนมานานแล้ว คือ
1) รู้ศัพท์รู้ภาษา (literacy) คือ ไม่ใช่แค่อ่านออกเขียนได้
(reading & writing) แต่ต้องเข้าใจความหมายของคาต่างๆ และ
สามารถสื่อสารคาต่างๆ เหล่านั้นออกมาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
2) รู้คณิตศาสตร์ (numeracy) คือ ไม่ใช่แค่คิดเลขเป็น (arithmetic) แต่ต้องมี
ความสามารถตีความและเข้าใจความคิดต่างๆ ที่สื่อสารออกมาในรูปของ
คณิตศาสตร์ เช่น เลขคณิต, พีชคณิต, เรขาคณิต, ตรีโกณมิติ ฯลฯ
3) รู้ ICT (information communication technology) คือ มีความสามารถใน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อันเป็นทักษะที่จาเป็นอย่างยิ่งใน
โลกปัจจุบัน
3. โลกในศตวรรษที่ 21 เยาวชนต้องมีทักษะมากกว่า 3Rs. จาเป็นต้องเพิ่มทักษะ 4Cs
หรือ 4ก. ด้วย ได้แก่
1) การคิดแบบมีวิจารณญาณ (Critical thinking) คือ มีความสามารถ
ในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีเหตุผล และอาจต้องสามารถตัดสินคุณค่า
ของเรื่องต่างๆ ที่คิดนั้นด้วย
2) การสื่อสาร (Communication) คือมีความสามารถใช้ศัพท์ใช้ภาษา, ใช้ ICT และ
ใช้จิตวิทยาเพื่อสื่อสารกับผู้อื่นให้ประสบความสาเร็จได้
3) การทางานร่วมกัน (Collaboration) คือ มีความสามารถในการทางานร่วมกับ
ผู้อื่นได้, การร่วมมือกับคนหลายคนที่อาจมีพื้นฐานต่างกันทั้งแนวคิด, ความเชื่อ,
หรือความรู้ เพื่อทางานหรือทากิจกรรมใดๆให้ประสบความสาเร็จได้
4) การสร้างสรรค์ (Creativity) คือ มีความสามารถในการจินตนาการเพื่อสร้างสรรค์
สิ่งใหม่ๆ (Creative) อันจะนาไปสู่ความคิดใหม่ๆ, วิธีการใหม่ๆ หรือสิ่งใหม่ๆ ที่
เรียกว่า นวัตกรรม (Innovation)
4. ทักษะ 3ร. คือ 1) รู้ศัพท์รู้ภาษา 2) รู้คณิตศาสตร์ 3) รู้ ICT
ทักษะ 4ก. คือ 1) การคิดแบบมีวิจารณญาณ 2) การสื่อสาร
3) การทางานร่วมกัน 4) การสร้างสรรค์
รวมเป็นทักษะที่สาคัญในยุคศตวรรษที่ 21 ซึ่งจะต้องได้รับการบรรจุไว้
ในระบบการศึกษาของไทยในศตวรรษที่21 นี้
ที่มา : พีระ พนาสุภน
1. ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต
2. ทักษะการจัดการและความรับผิดชอบ
3. ทักษะการคิด วิเคราะห์ คิดวิพากษ์ คิดสร้างสรรค์
4. ทักษะการแก้ปัญหา
5. ทักษะการทางานร่วมกับผู้อื่น
6. ทักษะการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่มา : หลักสูตร ปี 57 ฉบับร่าง
ชุดทักษะแกนกลางที่พึงประสงค์ของหลักสูตรใหม่ ปี 2557
ความรู้และทักษะพื้นฐานที่จาเป็นต่อการสอน
ที่เน้นกระบวนการคิดของผู้เรียน
< การทางานสมอง >ซีกซ้าย
วิทยาศาสตร์
การเขียนเป็นแถว
วิเคราะห์
เหตุผล ตรรกะ
รายการ
สัญลักษณ์ ตัวเลข
รูปแบบ
การทางานเป็นขั้นตอน
จินตนาการ
ศิลปะวิทยาการ
ใจลอย
สีสัน ความคิดสร้างสรรค์
ภาพรวม องค์รวม
จังหวะ วาดรูป ภาพ
สังเคราะห์ การมองการณ์ไกล
มิติ
ซีกขวา
ฝึกทักษะการคิด
1. ฝึกทักษะการคิดพื้นฐาน
- สังเกต - ตีความ
- สารวจ - การเชื่อมโยง
- จาแนก - การใช้เหตุผล
- จัดลาดับ - การแปลความ
- เปรียบเทียบ - การขยายความ
- จัดกลุ่ม/ หมวดหมู่ - การสรุปความ
- การอ้างอิง - การตั้งคาถาม
2. ฝึกทักษะการคิดขั้นสูง
- การให้คานิยาม / ตั้งชื่อเรื่อง - การปรับโครงสร้าง
- การจัดระบบ - การวิเคราะห์
- การจัดโครงสร้าง - การสังเคราะห์
- การหาแบบแผน - การประเมินค่า
- การทานาย
- การตั้งสมมติฐาน / การสารวจสมมติฐาน
คิดแก้ปัญหา
คิดตัดสินใจ
คิดริเริ่มสร้างสรรค์
คิดอย่างมีจารณญาณ
การวางแผน
การกากับ
การตรวจสอบ
ความก้าวหน้า
ตนเอง
สังคม สิ่งแวดล้อม
มิติการคิด
6 ด้าน
การควบคุม
ประเมินการคิด
ด้านข้อมูล
เนื้อหา คุณสมบัติ
ที่เอื้อต่อการคิด
ด้านทักษะการคิด
ด้านลักษณะการคิด
ด้านกระบวนการคิด
คิดคล่อง
คิดหลากหลาย
คิดละเอียด
คิดชัดเจน
คิดอย่างมีเหตุผล
คิดกว้าง คิดไกล
คิดลึกซึ้ง
คิดแหวกแนว พูด
ฟัง
อธิบาย
แสดง เขียน
วิเคราะห์
จัดระบบ
ใจกว้าง
เป็นธรรม
ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนกระตือรือร้นขยัน
ช่างวิเคราะห์
มั่นใจ
วิชาการ
ทักษะการคิด
พื้นฐาน
ทักษะ
การสื่อสาร
ทักษะ
การคิดระดับสูง
สังเกต
สารวจ
ฝึกการคิด
12 รูปแบบ
12. ฝึกคิดแบบ
ผังมโนทัศน์
1. ฝึกทบทวน
ความรู้เดิม
2.ฝึกคิด
ริเริ่มสร้างสรรค์
3. ฝึกคิด
แบบ Web
4. ฝึกคิด
เปรียบเทียบ
5. ฝึกคิดแบบ
เวนน์ไดอะแกรม
6. ฝึกคิดแบบ
เรียงลาดับเหตุการณ์
7. ฝึกคิดแบบ
ผังความคิด
8. ฝึกคิดแบบ
แยกรายละเอียด
9. ฝึกคิดแบบ
หักมุม
10. ฝึกคิดแบบ
องค์รวม
11. ฝึกคิดแบบ
ก้างปลา
รูปแบบการคิดวิเคราะห์ที่ใช้ในการเรียนการสอน
1. ฝึกทบทวนความรู้เดิม หรือคิดให้คล่อง
- ให้นักเรียนเขียนสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่เรียนมาให้
มากที่สุด เช่น
ฝึกเขียนชื่อศัพท์ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับสัตว์ เขียนชื่อเมืองหลวง
เขียนชื่อประเทศในกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ภายในเวลาที่กาหนดให้ผู้ที่คิดคล่องจะได้จานวนมากที่สุด
2. ฝึกความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
- ให้นักเรียนฝึกคิดนอกกรอบของสิ่งที่กาหนด
และสามารถทาได้ เช่น ให้คิดประโยชน์ของ
ผ้าเช็ดตัว ผ้าขาวม้า แปรงสีฟัน ดินสอ
ขันพลาสติก ให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้
คิดนอกกรอบ ต่อยอดความคิด
แก้วพลาสติกคู่ขวัญ
ใช้สอนเรื่องความดันของอากาศ
3. ฝึกคิดแบบ Web (คิดกว้าง)
พม่า
เวียดนาม มาเลเซีย
AEC
ลาว
ฟิลิปปินส์ บรูไน
อินโดนีเซีย
กัมพูชา
ไทย
สิงโปร์
4. ฝึกคิดแบบเปรียบเทียบเรียงลาดับ (Ranking Leader)
- การให้นักเรียนเรียงลาดับ จากน้อยไปหามาก
ตัวอย่าง
เก่งอายุมากกว่าปอ 7 ปี แต่อ่อนกว่าโต้ง
5 ปี โน้ตอายุน้อยกว่าโต้ง 6 ปี จงเรียงลาดับ
ผู้ที่อายุมากไปหาอายุน้อย..
เก่งอายุมากกว่าปอ 7 ปี แต่อ่อนกว่าโต้ง 5 ปี โน้ตอายุ
น้อยกว่าโต้ง 6 ปี จงเรียงลาดับ ผู้ที่อายุมากไปหาอายุน้อย..
...เฉลย...
6 ปี
5 ปี
7 ปี
โต้ง
เก่ง
โน้ต
ปอ
คาถาม
เซลล์ไฟฟ้า ก. มีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าเซลล์ไฟฟ้า ข. 0.8 โวลต์
เซลล์ไฟฟ้า ค. มีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าเซลล์ไฟฟ้า ข. 1.2 โวลต์
ถ้าเซลล์ไฟฟ้า ก. มีศักย์ไฟฟ้า 1.5 โวลต์
เซลล์ไฟฟ้า ค. และ ข. มีศักย์ไฟฟ้ากี่โวลต์
เซลล์ไฟฟ้า ก. มีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าเซลล์ไฟฟ้า ข. 0.8 โวลต์
เซลล์ไฟฟ้า ค. มีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าเซลล์ไฟฟ้า ข. 1.8 โวลต์
ถ้าเซลล์ไฟฟ้า ก. มีศักย์ไฟฟ้า 1.5 โวลต์
เซลล์ไฟฟ้า ค. และ ข. มีศักย์ไฟฟ้ากี่โวลต์
...เฉลย...
1.8V
0.8 V
ค.
ก. 1.5 V
ข.
5. ฝึกคิดแบบเรียงลาดับเหตุการณ์ หรือ
ใช้เหตุผลจากเริ่มต้นไปจุดสุดท้าย
ก ข ค ง
คาถาม
เวลา 7.00น. ถ้าดวงอาทิตย์อยู่ทางขวามือของเรา ด้านหน้าของเราจะ
เป็นทิศใด
จงเรียงลาดับเหตุการณ์จากภาพ ก ข ค ง ให้ถูกต้อง
ฝึกทักษะการคิด แบบเรียงลาดับเหตุการณ์ (Sequence)
จงเรียงลาดับเหตุการณ์ต่อไปนี้
1. ก. ขุดหลุม ข. รดน้า ค. กลบดิน ง. ปลูก
2. ก.ดานา ข.เกี่ยวข้าว ค.ไถนา ง.นวดข้าว
3. ก.หนอน ข.ผีเสื้อ ค.ดักแด้ ง.ไข่
จงวิเคราะห์ภาพที่กาหนดให้ว่าเป็นภาพของสัตว์
ประเภทใด พร้อมแต่งเรื่องจากภาพแล้วเขียนวงจรชีวิต
6. ฝึกคิดแบบแผนภูมิเวนน์ (Venn diagram)
- ให้ แทน 1 สิ่ง
- ส่วนที่เหมือนกัน ซ้อนกัน หรืออยู่ภายใน
- ส่วนที่ต่างกันอยู่ภายนอก
- อาจมี 2 วง 3 วง 4 วง หรือ 5 วงก็ได้
A B
ส่วนต่าง
จาก B
ส่วนต่าง
จาก A
ส่วน
เหมือน
กัน
X Y Z
ตัวอย่างแผนภูมิเวนน์ เปรียบเทียบสมบัติของ
เกลือ กับ น้าตาล
เกลือ น้าตาล
- สารละลายนาไฟฟ้า
-รสเค็ม
-จุดหลอมเหลวสูง
- สารละลายไม่นาไฟฟ้า
-รสหวาน
-จุดหลอมเหลวต่า
-ผลึกสีขาว ใส
รูปสี่เหลี่ยม
-เป็นสารบริสุทธิ์
-เป็นสารเนื้อเดียว
-ละลายน้าได้
กิจกรรม
จงเขียนความสัมพันธ์โดยใช้วงกลมแทนสิ่งที่กาหนดให้
ตัวอย่าง นักบวช พระ เณร สมภาร
จงเขียนความสัมพันธ์ของ..
1. ผู้ชาย ตารวจ ประชาชน ช่างตัดผม
เฉลย
1. ผู้ชาย ตารวจ ประชาชน ช่างตัดผม
2. ผู้ชาย ตารวจ ทหาร พระ
เฉลย
2. ผู้ชาย ตารวจ ทหาร พระ
กาหนดให้แผนผังเวนน์ต่อไปนี้ แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
ระบบสุริยะ ดาวเคราะห์ ดาวศุกร์ ดาวพุธ ดาวเหนือ
จงพิจารณาแผนผังเวนน์ แล้วระบุว่า ก. ข. ค. ง. และจ. คืออะไร
ก
ข ค
ง จ
ฝึกคิดแบบหาลักษณะร่วม Venn Diagram
จงวงกลมคาตอบที่แสดงลักษณะร่วมขอแต่ละข้อ
1.ตะโกน พูด บ่น
ก.ความดัง ข.ท่าทาง
ค.อารมณ์ ง.อาการณ์
2.ปู่ ตา พ่อ
ก.อายุ ข.เพศ
ค.คนแก่ ง.ญาติ
3.วัด คฤหาส วัง
ก.ความร่่ารวย ข.ขนาด
ค.รูปทรง ง.ที่อาศัย
4.มะนาว มะดัน มะยม
ก.รูปทรง ข.ขนาด
ค.รส ง.สี
5.น้าบาดาล น้าปะปา น้าคลอง
ก.ประโยชน์ ข.ความใส
ค.สี 4.ความสะอาด
ฝึกคิดแบบผังความคิด(Mind Map) มีหัวข้อหลัก หัวข้อรอง และข้อย่อย
ตัวเรา
เกิด
ครอบครัว
การศึกษา
ตาแหน่งหน้าที่
งานอดิเรก
รางวัล
วันที่
เดือน
พ.ศ.
พ่อ
แม่
ลูก
ลูกสาว
ลูกชาย
ป.1-ป.6 โรงเรียน
ม.1-ม.6 โรงเรียน
ปริญญาตรี มหาวิทยาลัย
ปริญญาโท มหาวิทยาลัย
ประยุกต์ผังความคิดจากต้นแบบ เพื่อให้สะดวกในการเขียน
กลีบดอก
เกสรเพศผู้
เกสรเพศเมีย
ส่วนประกอบ
กลีบเลี้ยง
ประเภทดอก
เจริญเป็นผล
หน้าที่
ดอก
พยุงลาต้น ดูดน้าและเกลือแร่
หน้าที่
รากแก้ว รากแขนง ท่อโฟเอม
ราก
ใบ
ส่วนประกอบ
ของพืช
ลาต้น
หายใจ ทางปากใบ
สร้างอาหาร สังเคราะห์ด้วยแสง
คายน้า ทางปากใบ
หน้าที่
ท่อไซเลม
ลาเลียงน้า
ลาเลียงอาหาร
มี 2 ระบบ
8. ฝึกคิดแบบจาแนกรายละเอียด (แบบ Grid)
แยกแยะส่วนประกอบของหัวข้อหรือสิ่งที่กาหนดให้
อาหาร
ส่วนประกอบของสารอาหาร
ไขมัน คาร์โบไฮเดรต โปรตีน เกลือแร่
ข้าวผัดกุ้ง
น้าส้มคั้น
การฝึกแบบจาแนกรายละเอียด ต้องอาศัยทักษะการสังเกตและ
คิดวิเคราะห์ ดังตัวอย่าง
Tick ( ) What food do you eat each day ?
Food
Day
Meat, fish
chicken, egg
Milk, cheese
yoghurt
Flour, rice
Sugar, wheat
Vegetables fruits
Sunday
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
ตัวอย่างใบงาน
9. ฝึกคิดแบบหักมุม (Right angle)
ฝึกให้นักเรียนคิดในเชิงบวกและเชิงลบ เช่น
สิ่งที่มีประโยชน์
สิ่งที่มีโทษ
ฝึกคิดว่ามีโทษอะไรแฝงอยู่
ฝึกคิดว่ามีประโยชน์อะไรแฝงอยู่
ฝึกคิดแบบหักมุม (Right angle)
ให้นักเรียนฝึกคิดในเชิงบวกและลบ
สิ่งที่เป็นประโยชน์ โทษที่แฝงอยู่
1.แก๊สออกซิเจน
........................................... ..........................................
.......................................... .........................................
2.น้าตาล
........................................... ..........................................
.......................................... .........................................
3.เกลือ
........................................... ..........................................
.......................................... .........................................
ให้นักเรียนฝึกคิดในเชิงบวกและลบ
สิ่งที่เป็นโทษ ประโยชน์
1. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
........................................... ..........................................
.......................................... .........................................
2. แสงแดด
........................................... ..........................................
.......................................... .........................................
3. ยาฆ่าแมลง
........................................... ..........................................
.......................................... .........................................
ฝึกคิดแบบหักมุม (Right angle)
10. ฝึกคิดแบบองค์รวมหรือสายรุ้ง (Spectrum)
ฝึกวิเคราะห์องค์ประกอบทั้งหมดแล้วพิจารณาว่าขาด
ส่วนใดจะมีผลกระทบมากที่สุด น้อยที่สุด หรือขาดส่วนใดแล้ว
สิ่งนั้นยังคงดาเนินต่อไปได้ เช่น การทดลองเรื่องอุณหภูมิมีผล
ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
การทดลองครั้งที่ อุณหภูมิ (C) เวลาที่ใช้ (วินาที)
1
2
3
4
20
อุณหภูมิห้อง
40
60
180
110
60
25
1. การทดลองใด
สามารถตัดออก
แล้วยังสรุปเหมือนเดิม
2. การทดลองใด
ไม่ควรตัดออก
ฝึกคิดแบบองค์รวมหรือสายรุ้ง (Spectrum)
ห้องใดในบ้านที่ไม่มีก็ได้ ให้เลือกมา 2 ห้อง
1. ห้องนอน
2. ห้องนั่งเล่น
3. ห้องน้า
4. ห้องครัว
11. ฝึกคิดแบบก้างปลา
ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนวิชา
วิทยาศาสตร์ต่า
ครู เพื่อน สื่อการเรียนรู้
ตนเอง สิ่งแวดล้อม ข้อสอบยาก
ง่วงนอน
แบ่งเวลาไม่เหมาะสม
การบ้านมาก
เกียจคร้าน
12. คิดแบบผังมโนทัศน์ (Concept Map)
ใช้ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน หรือ ใช้ขั้นสรุปก็ได้
ประเทศไทย
มี 6 ภาค
ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ ภาค
ตะวันออก
ภาคตะวันตก ภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ
มี....จังหวัด มี....จังหวัด มี....จังหวัด
มี....จังหวัด
มี....จังหวัด
มี....จังหวัด
ฝึกทักษะการคิด
คาชี้แจง
ให้สร้างกิจกรรมฝึกทักษะการคิดรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง
จาก12 รูปแบบทักษะการคิด มา 1 กิจกรรม
เทคนิคการสอนที่เน้น
กระบวนการเรียนรู้และการปฏิบัติ
บลูม(Bloom 1974) การเรียนรู้ที่สมบูรณ์ มีการเปลี่ยนแปลง 3 ประการ (KPA)
Cognitive Domain
ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ
การเรียนรู้
Learning
การเปลี่ยนแปลงด้าน
ทักษะความชานาญ
Psychomotor Domain
ด้านจิตใจ
Affective Domain
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสมอง
การปฏิบัติ
การเคลื่อนไหว
การสร้างชิ้นงาน
การนาเสนอ การแสดงความรู้สึกอารมณ์
ความเชื่อ
เจต
คติ
ค่านิยม
ฝูงชนกาเนิดคล้าย คลึงกัน
ใหญ่ย่อมเพศ ผิวพรรณ แผกบ้าง
ความรู้อาจเรียนทัน กันหมด
ยกแต่ชั่ว ดี กระด้าง อ่อนแก้ฤาไหว
(พระราชนิพนธ์โคลงสุภาษิต รัชกาลที่ 5)
Learning By Doing
John Dewey
Benjamin S. Bloom
ทุกคนเรียนรู้ได้เท่าเทียมกัน
แต่ใช้เวลาต่างกัน
ปราชญ์ชาวบ้าน : สุราษฎร์ธานี
นายสมพร แซ่โค้ว .... สอนลิง
หลักการสอน
ให้ความรัก ก่อนให้ความรู้
การเรียนรู้ต้องผ่านการปฏิบัติ
UNESCO
ยูเนสโกได้กาหนดภาระด้านการศึกษาในทศวรรษที่21
การศึกษาในทศวรรษที่ 21 ประกอบด้วย 4 เสาหลัก
(จาก “คุณภาพศิษย์ เป้าหมายการประเมินของ สมศ.”)
1. การเรียนเพื่อรู้ (Learning to know)
- เน้นการรวบรวมความรู้เข้าด้วยกัน
- มีการศึกษาลงลึกในบางวิชา ซึ่งจะเป็นพื้นฐาน
ที่นาไปสู่การศึกษาตลอดชีวิต
2. การเรียนเพื่อการปฏิบัติ (Learning to do)
- เน้นการพัฒนาทักษะและศักยภาพของผู้เรียน
- ช่วยสร้างความสามารถในการดารงชีพอยู่ใน
สถานการณ์ต่างๆ
- ให้ผู้เรียนมีโอกาสได้ทดลองและพัฒนา
ความสามารถของตน โดยมีส่วนร่วมในโครงการ
ประสบการณ์ในงานอาชีพหรืองานทางสังคม
3. การเรียนเพื่อชีวิต (Learning to be)
- เน้นให้มนุษย์สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตทุกด้าน
และสามารถปรับตัวให้อยู่ในสังคมที่เปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็ว
- จรรโลงในสิ่งดีๆ และยับยั้งสิ่งที่ไม่เหมาะสม
ได้อย่างมีความสุข
4. การเรียนที่จะอยู่ร่วมกัน (Learning to live together)
- เน้นให้สามารถดารงชีวิตอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ
มีความรัก และเคารพซึ่งกันและกัน
- สร้างความรู้ ความเข้าใจในผู้อื่นทั้งแง่
ประวัติศาสตร์ ธรรมเนียม ประเพณี ค่านิยมทาง
จิตใจที่เหมาะที่ควร มวลมนุษย์
การเตรียมตัวก่อนสอน
1. ศึกษาวิเคราะห์ เนื้อหาสาระ เรื่องที่สอนจากตาราหลายๆเล่มให้เข้าใจชัดเจน
2. วิเคราะห์เป้าหมายการเรียนรู้ตามหลักสูตรทั้งด้านK P และA นาไปออกข้อสอบและ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ตัวอย่างตัวชี้วัด
ตัวอย่างที่ 1 พ 1.1 ม.1/3 วิเคราะห์ ภาวะการเจริญเติบโตทางร่างกายของตนเองกับ
เกณฑ์มาตรฐาน
ตัวอย่างที่ 2 ว 5.1 ป.4/5 ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า
และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวอย่างที่ 3 ค 3.2 ป.5/2 สร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก รูปสามเหลี่ยมมุมฉากและวงกลม
ตัวอย่างที่ 4 ส 2.1 ป.3/1 สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประเพนีละวัฒนะธรรม
ในครอบครัวและท้องถิ่น
ถ้าขาดตัว P หรือตัว A ให้เติมให้เต็มโดยนามาจาก P และ A ที่หลักสูตรแกนกลางกาหนด
ตัวอย่างการวิเคราะห์ตัวชี้วัดเพื่อวัดผลและสอน
ตัวชี้วัด ความรู้ / สาระสาคัญ
(K)
ทักษะกระบวนการ/ตัวบ่งชี้
(P)
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
(A)
ต 2.2 ป.1/1
ระบุตัวอักษรและเสียง
ตัวอักษรของ
ภาษาต่างประเทศและ
ภาษาไทย
ตัวอักษรและ
เสียงตัวอักษร
ต่างประเทศ
(ภาษาอังกฤษ)และ
ภาษาไทย
ระบุ
ความสามารถในการสื่อสาร
ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน ความ
ถูกต้องตามหลักวัฒนธรรมเจ้าของ
ภาษา
ท 5.1 ม.1/2
วิเคราะห์ วิจารณ์
วรรณคดี วรรณกรรม
และวรรณกรรมท้องถิ่น
ที่อ่าน พร้อมทั้ง
ยกเหตุผลประกอบ
วรรณคดี วรรณกรรม
และวรรณกรรมท้องถิ่น
ที่อ่าน
วิเคราะห์ วิจารณ์
ความสามารถในการสื่อสาร
มีเหตุผล
มุ่งมั่นในการทางาน
ใฝ่เรียนรู้
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
รักความเป็นไทย
มีวินัย
3. ศึกษาเทคนิคการสอน สื่อการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล
4. จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและ
การปฏิบัติโดยเลือกเทคนิคที่เหมาะสมกับเรื่องที่สอน และ
สอนตามแนวทางการออกข้อสอบที่เตรียมไว้ (Backward design)
5. จัดเตรียมอุปกรณ์ สื่อ เครื่องมือวัดและประเมินผลให้ครบ
6. ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ให้มั่นใจก่อนสอน
การเตรียมตัวก่อนสอน (ต่อ)
การเข้าสอน/ดาเนินการสอน
1. เสริมสร้างบรรยากาศที่ดี เตรียมความพร้อมของผู้เรียน(ขั้นนา)
2. บอกหัวข้อที่จะสอนและเป้าหมายการเรียนรู้ (ตัวชี้วัด)
- นักเรียนต้องรู้อะไร (K)
- ต้องทาอะไรได้ (P)
- เป็นคนที่มีคุณลักษณะ / คุณภาพอย่างไร (A)
3. ดาเนินการสอนตามแผนปรับแผนให้ยืดหยุ่นตามสถานการณ์และบูรณาการ
การวัดและประเมินผลให้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน
4. อภิปรายซักถามเพื่อฝึกทักษะการคิดและการสังเคราะห์องค์ความรู้
5. ตรวจสอบผลการเรียนรู้ทันทีที่สอนจบแต่ละตัวชี้วัด / หัวข้อและเฉลย
ปรับปรุงแก้ไขก่อนที่จะเรียนเรื่องต่อไป
6. บันทึกหลังสอนไว้เป็นข้อมูลการแก้ปัญหาหรือพัฒนาคุณภาพการ
จัดการเรียนการสอน
7. เก็บข้อมูลเกี่ยวกับคะแนนของนักเรียนไว้เพื่อจัดทารายงานหรือ
พัฒนาผลงานทางวิชาการ
8. นาปัญหาจากบันทึกหลังสอนหรือความต้องการในการพัฒนานักเรียน
ไปทาวิจัยในชั้นเรียน
การเข้าสอน/ดาเนินการสอน
กระบวนการ คือ แนวทางดาเนินการเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างมีลาดับขั้นตอน
ที่ต่อเนื่องตั้งแต่ต้นจนจบแล้วเสร็จ
1. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1) กาหนดปัญญา
2) ตั้งสมมติฐาน
3) รวบรวมข้อมูล
4) วิเคราะห์ข้อมูล
5) สรุป
2. กระบวนการสืบสวนสอบสวน
1) กาหนดปัญหา
2) ตั้งสมมติฐาน
3) รวบรวมข้อมูล
4) ทดสอบสมมติฐาน
5) สร้างข้อสรุป
6) นาไปประยุกต์ใช้
กระบวนการที่ใช้ในการเรียนการสอน 14 กระบวนการ ควรเลือกไปใช้ให้เหมาะสมกับเรื่องที่สอน
3. กระบวนการทางคณิตศาสตร์
3.1 กระบวนการสร้างทักษะคานวณ
1) ตรวจสอบความคิดรวบยอด
2) สรุปกฎ สูตร ทฤษฎีบท
3) ฝึกการใช้กฎ
4) ปรับปรุงแก้ไข
3.2 กระบวนการแก้ปัญหาโจทย์
1) วิเคราะห์โจทย์
2) กาหนดขั้นตอนปฏิบัติ
3) ลงมือปฏิบัติ
4) ตรวจสอบคาตอบ
4. กระบวนการคิดวิจารณญาณ
1) สังเกต
2) อธิบาย
3) รับฟัง
4) เชื่อมโยงความสัมพันธ์
5) วิจารณ์
6) สรุป
5. กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
1) จาแนกความแตกต่าง
2) หาลักษณะร่วม
3) ระบุชื่อความคิดรวบยอด
4) ทดสอบและนาไปใช้
6. กระบวนการเรียน ความรู้ ความเข้าใจ
1) สังเกตตระหนัก
2) วางแผนปฏิบัติ
3) ลงมือปฏิบัติ
4) พัฒนาความรู้ ความเข้าใจ
5) สรุป
7. กระบวนการกลุ่ม
1) มีผู้นา อาจผลัดเปลี่ยนกัน
2) วางแผนกาหนดวัตถุประสงค์
และวิธีการ
3) รับฟังความคิดเห็นจากสมาชิก
ทุกคนบนพื้นฐานของเหตุผล
4) แบ่งหน้าที่รับผิดชอบเมื่อมี
การปฏิบัติ
5) ติดตามผลการปฏิบัติปรับปรุง
6) ประเมินผลรวมและชื่นชมใน
ผลงานของคณะ
8. กระบวนการเรียนภาษา
1) ทาความเข้าใจสัญลักษณ์ สื่อ
รูปภาพ รูปแบบ เครื่องหมาย
2) สร้างความคิดรวบยอด
3) ส่อความหมายความคิด
4) พัฒนาความสามารถ
9. กระบวนการตระหนัก
1) สังเกต
2) วิจารณ์
3) สรุป
10. กระบวนการสร้างเจตคติ
1) สังเกต
2) วิจารณ์
3) สรุป
11. กระบวนการสร้างค่านิยม
1) สังเกต-ตระหนัก
2) ประเมินเชิงเหตุผล
3) กาหนดค่านิยม
4) วางแผนปฏิบัติการ
5) ปฏิบัติด้วยความชื่นชม
12. กระบวนการปฏิบัติ
1) สังเกต-รับรู้
2) ทาตามแบบ
3) ทาเองโดยไม่มีแบบ
4) ฝึกให้ชานาญ
13. กระบวนการแก้ปัญหา
1) สังเกต-กาหนดปัญหา
2) วิเคราะห์
3) สร้างทางเลือก
4) เก็บข้อมูลประเมินทางเลือก
5) สรุป
14. ทักษะกระบวนการ
1) ตระหนักในปัญหาและความ
ต้องการจาเป็น
2) คิดวิเคราะห์วิจารณ์
3) สร้างทางเลือกหลากหลาย
4) ประเมินผลและเลือกทางเลือก
5) กาหนดและลาดับขั้นตอนปฏิบัติ
6) ปฏิบัติด้วยความชื่นชม
7) ประเมินระหว่างปฏิบัติ
8) ปรับปรุงให้ดีขึ้นอยู่เสมอ
9) ประเมินผลรวมเพื่อเกิดความ
ภาคภูมิใจ
โรเบิร์ต คาร์พลัส ( Robert Karplus )
การนาเข้าสู่บทเรียน
สร้างความสนใจ
Engagement การสารวจ
Exploration
การประเมินผล
Evaluation
การขยายความรู้
การลงข้อสรุป
Elaboration
การอธิบาย
Explanation
พีรามิดการเรียนรู้ของวิธีการสอนแบบกระตือรือร้น
บรรยาย
การอ่าน
สื่อโสตทัศนูปกรณ์
การสาธิต
การอภิปรายกลุ่ม
การลงมือปฏิบัติ
การสอนผู้อื่น/การใช้สิ่งที่เรียนรู้ทันที
พีรามิดการเรียนรู้
ค่าร้อยละเฉลี่ยอัตราความคงทน
5
10
20
30
50
75
90
1.จากวารสารวิชาการปีที่6 ฉบับที่9 เดือนกันยายน 2546 ของสพฐ.
- ผู้เรียนเรียนรู้แบบมีความหมาย
- การเรียนแบบร่วมมือระหว่างผู้เรียน
- ครูลดบทบาทในการสอนการให้ความรู้
- ครูเพิ่มกิจกรรมให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้น
- จัดให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ โดยพูด เขียน อภิปราย
Active Learning
Active Learning เป็นการจัดการเรียนรู้บนความเชื่อ 2 ประการ
1.) การเรียนรู้เป็นความพยายามโดยธรรมชาติของมนุษย์
2.) แต่ละบุคคลมีแนวทางในการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน(Meyersand
Jones,1993) โดยผู้เรียนจะถูฏเปลี่บนบทบาทจากผู้รับความรู้(Receive)
ไปสู่การมีส่วนร่วมในการสร้างความรู้(co-creaters)(Fedler and
Brent,1996)
3. Bonwell,1991
1.ผู้เรียนกระตือรือร้นทา
กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 2.กิจกรรมหลากหลาย
3.ฝึกทักษะการคิด
วิเคราะห์ คิดแก้ปัญหา
4.ตรวจสอบความเข้าใจทันที
ที่เรียนจบ
5.ใช้ร่วมกับเทคนิคเพื่อนคู่คิด เน้น
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และตรวจสอบ
ผลการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด
ทากิจกรรมเพื่อนคู่คิด
ทุกกิจกรรมมีคะแนน
เป็นเป้าหมาย
สอบแบบ
เพื่อนคู่คิด
สอบแบบ
Open book
6.นักเรียนมีโอกาสพัฒนา
คะแนนจากผลการทา
กิจกรรมและการสอบ
7.ประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
สะสมรวบรวมตลอดภาคเรียน
8.มีผลให้ผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น
ผลการสอบเข้ามหาวิทยาลัย
เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 90.83
งานวิจัยผลงานเชี่ยวชาญพิเศษ(คศ.5)ของครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ
1. เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
2. นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ และมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียน-นักเรียน ครู-นักเรียน
3. มีการทางานเป็นกลุ่ม มีวินัย
4. นักเรียนเป็น
ผู้รับผิดชอบ
ในการเรียนรู้
5. เน้นทักษะกระบวนการ
ใช้ทักษะการแก้ปัญหา
6. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
7. เรียนรู้ด้วยการปฏิบัติ
มีการฟัง อ่าน พูด เขียน
แบบกระตือรือร้น
8. มีการทดสอบและเฉลย
ทันที เพื่อปรับปรุงแก้ไข
พัฒนาคะแนนได้
นักเรียนประเมินตนเอง
อย่างต่อเนื่อง
9. ครูเป็นผู้แนะนา
นาอภิปราย กระตุ้นให้คิด
ให้ความรู้ จัดสื่ออุปกรณ์
ใบงาน ตั้งคาถาม
และตอบคาถาม
วิจัยและพัฒนาสื่อนวัตกรรม การจัดการเรียนรู้
พัฒนาบทเรียนแบบหน่วยสมบูรณ์แบบ
ที่เน้นการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น วิชาเคมี ว.40224 (เทอม1)
(ปีพ.ศ.2546 – 2548)
ข้อค้นพบ
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง มีทักษะการคิดวิเคราะห์ร้อยละ 78.77
และสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้ร้อยละ 90.83
ผลงานของครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ที่ผ่านการประเมินวิทยฐานะ เชี่ยวชาญพิเศษ
นวัตกรรมสื่อการเรียนรู้แบบหน่วยสมสมบูรณ์แบบ
ที่เน้นการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น วิชาเคมี ว.40225 (เทอม2)
รายการที่2
รายการที่1
หลักการ
- ให้นักเรียนเรียนอย่างมีเป้าหมาย มีพลัง และกระตือรือร้น
- ตรวจการบ้านอย่างจริงจัง เป็นข้อมูลป้อนกลับ
สอน
ทากิจกรรม
ปฏิบัติ
- ใช้เทคนิคเพื่อนคู่คิด จับคู่แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ตรวจสอบ
ทันที
ให้คะแนน
ปรับปรุง
พัฒนา
เรียนหัวข้อ
ต่อไป
ตัวอย่าง แบบบันทึกคะแนนการประเมินเพื่อพัฒนาระหว่างเรียนโดยครูผู้สอน
เป็นการประเมินการสอบย่อย กิจกรรม การเขียนรายงานตามสภาพจริงในห้องเรียน
วิชา.............................................................................. ชั้น..................................
ภาคเรียนที่......................................... ปีการศึกษา........................................
เลขที่ ชื่อ
นามสกุล
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ครั้งที่ 5 ครั้งที่ 6 ครั้งที่ 7 ครั้งที่ 8 รวม
80
เทียบ
คะแนน
10 พัฒนา 10 พัฒนา 10 พัฒนา 10 พัฒนา 10 พัฒนา 10 พัฒนา 10 พัฒนา 10 พัฒนา
1
2
3
4
....
....
ข้อแนะนา 1. คะแนนประเมินเพื่อพัฒนา ครูกาหนดเองตามความเหมาะสม ว่าควรเก็บกี่ครั้ง
คะแนนเทียบ จากคะแนนเต็มที่รวมไว้แล้ว เทียบเป็นคะแนนจริงที่กาหนด
เป็นคะแนนเก็บเป็นการประเมินตามสภาพจริงระหว่างภาค
2. คะแนนแต่ละครั้งควรเท่ากันเช่น 10 คะแนน ถ้านักเรียนผิด 1 ข้อถูกหัก 1 คะแนน
ผิด 2 ข้อ หัก 2 คะแนน ผิด 3 ข้อ หัก 3 คะแนน แล้วให้โอกาสนักเรียนพัฒนาคะแนน
เทคนิคการสอน
1. เพื่อนคู่คิด
 ใช้ได้ทุกเรื่อง
 แก้ปัญหานักเรียนไม่ชอบ
ตั้งคาถาม ตอบคาถาม หรือ
แสดงความคิดเห็นกลุ่มใหญ่
 มี 3 เทคนิค
การจัดกิจกรรมที่เน้นกระบวนการกลุ่ม
กิจกรรม
1. ให้นักเรียนต่างคนต่างทาใบงาน
2. เมื่อเสร็จแล้วให้จับคู่ตรวจคาตอบ อภิปราย ซักถาม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
3. แลกเปลี่ยนกันตรวจ โดยฟังเฉลยจากครู
4. ผู้ตรวจต้องจดบันทึกสิ่งที่เพื่อนคู่คิดทาผิดพร้อมทั้งให้คะแนน
และเซ็นชื่อรับรองการตรวจ
เพื่อนคู่คิดแบบที่ 1
1. เล่าเรื่องการถ่ายทอดพลังงาน
...................................................................
...................................................................
...................................................................
...................................................................
...................................................................
...................................................................
...................................................................
2. ผู้ผลิตได้แก่............................................
3. กระบวนการที่ใช้คือ................................
4. ผู้บริโภคอันดับ 1 ได้แก่ ..........................
5. ผู้บริโภคอันดับ 3 ได้แก่ .........................
6. ผู้ย่อยสลาย ได้แก่...................................
กิจกรรม เรื่อง การถ่ายทอดพลังงาน
คาชี้แจง ให้นักเรียนจัดกลุ่ม กลุ่มละ2คน ทากิจกรรมต่อไปนี้
1. ระบายสี 2. เล่าเรื่องการถ่ายทอดพลังงาน 3. ระบุผู้ผลิต ผู้บริโภคอันดับ 1 ผู้บริโภคอันดับ 3
และผู้ย่อยสลาย 4.เติมศัพท์ภาษาอังกฤษลงในช่องสี่เหลี่ยม
1. เล่าเรื่องการถ่ายทอดพลังงาน
...................................................................
...................................................................
...................................................................
...................................................................
...................................................................
...................................................................
...................................................................
2. ผู้ผลิตได้แก่............................................
3. กระบวนการที่ใช้คือ................................
4. ผู้บริโภคอันดับ 1 ได้แก่ ..........................
5. ผู้บริโภคอันดับ 3 ได้แก่ .........................
6. ผู้ย่อยสลาย ได้แก่...................................
กิจกรรม เรื่อง การถ่ายทอดพลังงาน
คาชี้แจง ให้นักเรียนจัดกลุ่ม กลุ่มละ2คน ทากิจกรรมต่อไปนี้
1. ระบายสี 2. เล่าเรื่องการถ่ายทอดพลังงาน 3. ระบุผู้ผลิต ผู้บริโภคอันดับ 1 ผู้บริโภคอันดับ 3
และผู้ย่อยสลาย 4.เติมศัพท์ภาษาอังกฤษลงในช่องสี่เหลี่ยม
คาชี้แจง จงระบุส่วนประกอบของพืช หมายเลข 1 ,2,3,4และ เขียนหน้าที่ของส่วนประกอบแต่ละส่วน
อย่างละ 3 ข้อ
1..............................
...............................
................................
................................
2..............................
...............................
................................
................................3..............................
...............................
................................
................................
4..............................
...............................
................................
................................ 4
3
2
1
1. ให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ หรือกรอบความรู้ที่กาหนดให้
2. ตั้งคาถามคนละ2-3 ข้อ
3. จับคู่เป็นเพื่อนคู่คิดโดยผลัดกันถาม-ตอบ
- ถ้า ก. ตั้งคาถาม ข. ต้องเป็นผู้ตอบ และก. ต้องจดคาตอบของ ข.ไว้
เมื่อ ก. ถามครบทุกข้อแล้วให้ข. เป็นผู้ตั้งคาถามและ ก. เป็นผู้ตอบ ซึ่ง ข.
ต้องจดคาตอบของ ก. ไว้
4. ครูเฉลยข้อสรุปที่ได้จากใบความรู้หรือกรอบความรู้ที่กาหนด
5. ก. ให้คะแนน ข. และ ข. ให้คะแนน ก.
6. บันทึกคะแนนของนักเรียนทุกคนในแบบบันทึกคะแนนที่ครูจัดไว้ให้
เพื่อนคู่คิดแบบที่ 2
คาชี้แจง 1.อ่านกรอบความรู้ที่กาหนดให้ 2.ตั้งคาถาม 2 ข้อ
3.จับคู่แลกเปลี่ยน ผลัดกัน ตั้งคาถามและตอบคาถาม ให้จดสิ่งที่เพื่อนตอบไว้
4.เมื่อหมดเวลาฟังเฉลยจากครู แล้วประเมินเพื่อนโดยให้คะแนนที่เห็นว่าเหมาะสม
คาถาม 1. ............................................................................
2.............................................................................
คาตอบของเพื่อนคู่คิด
1...............................................................................
2...............................................................................
แนวทางในการจัดกิจกรรม
1. วิเคราะห์เนื้อหาในหลักสูตรที่สามารถใช้กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ 2 เรื่อง
2. นักเรียนคนที่1. อ่านเรื่องป่าชายเลน
นักเรียนคนที่ 2. อ่านเรื่องป่าเบญจพรรณ กาหนดเวลาให้ 10 นาที
1) อ่านเพื่อจับประเด็นสาคัญ แล้วนาไปเล่าให้เพื่อนฟัง
2) ผู้ฟังต้องตั้งใจฟัง จับประเด็นสาคัญ สงสัยอะไรให้จดไว้ ถามเมื่อเพื่อนเล่าจบ
เพื่อนตอบอย่างไรต้องจดไว้
3) ให้นักเรียนคนที่1และ2 ผลัดกันทากิจกรรมตามข้อ1) และ 2)
3. ครูเฉลยแนวคิดสาคัญของเรื่องที่ 1 และเรื่องที่ 2
4. ให้นักเรียนคนที่1 ประเมินให้คะแนนคนที่2 และนักเรียนคนที่ 2 ประเมินคนที่ 1
เกี่ยวกับองค์ความรู้และสาระที่ได้รับจากกิจกรรมเล่าสู่กันฟัง
5. นาคะแนนที่ประเมินมาบันทึกลงในแบบประเมินผล
เพื่อนคู่คิดแบบที่ 3
กิจกรรมเล่าสู่กันฟัง
1. ให้จับคู่เพื่อนคู่คิดต่างคนต่างอ่านเรื่องที่กาหนดให้แล้วผลัดกัน
เล่าและฟังอย่างกระตือรือร้นเพื่อจับใจความสาคัญมีถ้ามีปัญหา
สงสัยให้ถามหลังจากเล่าจบ และจดคาตอบที่เพื่อนตอบไว้
ก. เล่าเรื่องที่ 1 ข.ฟัง
ข. เล่าเรื่องที่ 2 ก.ฟัง
2. เมื่อทากิจกรรมจบ ให้ฟังข้อสรุปซึ่งเป็นการเฉลยของครู แล้ว
ก. ประเมินผลการเล่าเรื่องของ ข. จากนั้น ข. ประเมินการเล่าเรื่องของ
ค. แล้วบันทึกคะแนนไว้
กรอบความรู้ เรื่องที่ 1 ป่าชายเลน
เป็นป่าบริเวณชายทะเล และปากแม่น้าของประเทศในป่าเขตร้อน เป็นบริเวณน้ากร่อย
ประเทศไทยพบที่แถบชายฝั่งทะเลในภาคใต้ และภาคตะวันออก มีสภาพแวดล้อม ที่
ต่างจากป่าบกหลายอย่าง เช่น สภาพดินเป็นเลน ระดับน้าทะเลในช่วงต่างๆของแต่ละ
วันต่างกัน ดินมีแร่ธาตุและสารอาหารสมบูรณ์พืชที่พบในป่าชายเลนได้แก่ แสม
โกงกาง ตะบูน โพธิ์ทะเล เสมา พืชส่วนใหญ่จะมีรากค้าจุน ช่วยพยุงลาต้น มีรากหายใจ
โผล่พ้นดิน โกงกางเป็นพืชสาคัญมากในป่าชายเลน เป็นไม้ที่ใช้ผลิตถ่าน ซึ่งให้ความ
ร้อนสูง สัตว์ที่พบในป่าชายเลน มีทั้งสัตว์หน้าดินและในดิน รวมถึงมีนกเป็นจานวน
มาก นอกจากนี้ยังมีตัวอ่อนของสัตว์น้า ประเภทกุ้ง หอย ปู ปลา มาอาศัย และหาอาหาร
กรอบความรู้ เรื่องที่ 2 ป่าผลัดใบผสมหรือเบญจพรรณ (Mixed decidouous forests)
ขึ้นอยู่ทั่วไปทางภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่
ประมาณ ๖ ล้านเฮกตาร์
ทางภาคเหนือมีไม้สักขึ้นปะปนอยู่ทั่วไปในป่าชนิดนี้ ทางภาคกลางคงมีอยู่บ้าง
ในบางท้องที่ เช่น ที่กาญจนบุรี ส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือเคยมีไม้สักขึ้นอยู่บ้าง ใน
จังหวัดขอนแก่น หนองคาย และนครพนม แต่ปัจจุบันนี้มีเหลืออยู่เพียงเล็กน้อย
พรรณไม้ที่ส่าคัญ ได้แก่ ไม้สัก กว้าว มะค่าโมง ปันแถ ยมหิน เกล็ดด่า เกล็ดแดง
ตะแบก ประดู่ ปอ มะกอก แค ปู่เจ้า ตีนนก โมก แดง ฯลฯ นอกจากนี้ ยังมีไม้ไผ่ชนิด
ต่าง ๆ อีกด้วย
ชื่อ...................................ชั้น.............เลขที่...........
ชื่อเพื่อนคู่คิด.....................................เลขที่...........
กิจกรรมที่ 1 เรื่อง เล่าสู่กันฟัง เวลา................นาที คะแนน 10 คะแนน
1.เรื่องที่อ่าน ..................................................................................................................................................................
สาระความรู้ที่ได้ ..........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
คาถามที่เพื่อนถาม 1. .........................................................................................................................................................
(ตอบ.................................................................................................................................................)
2. .......................................................................................................................................................
(ตอบ...................................................................................................................................................)
2. เรื่องที่ฟังจากเพื่อน...........................................................................................................................................................
สาระความรู้ที่ได้ ...............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
คาถามที่ถาม เพื่อน1. ............................................................................................................................................................
(ตอบ...................................................................................................................................................)
2. .............................................................................................................................. ...........................
(ตอบ................................................................................................................................................)
3. ฟังเฉลยจากครูแล้ว เพื่อนคู่คิดควรให้คะแนน .............................คะแนน
การจัดกิจกรรมที่เน้นกระบวนการกลุ่ม
2. L.T. ( Learning Together )
1 2
3 4
1
1 2
3 4
2
1 2
3 4
3
1 2
3 4
4
1 2
3 4
5
1 2
3 4
6
1 2
3 4
7
1 2
3 4
8 ฝึกการทางานเป็นทีม
ต้องมีอุปกรณ์ครบ มีเวลาพอ
1ครูต้องเตรียมสื่อ/อุปกรณ์ให้พร้อม 2.ก่อนสอนต้องให้นักเรียนอ่านคาสั่งที่ครูให้ทากิจกรรม
แล้วสุ่ม 1 กลุ่ม อธิบายขั้นตอนการทางาน 3.ครูตรวจสอบความถูกต้องอาจต้องเพิ่มเติม
ให้สมบูรณ์ 4.นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรม 5.สุ่มนักเรียนนาเสนอผลงาน 6.ให้กลุ่มรายงาน
ประเมินตนเองและประเมินกลุ่มเพื่อน
1. ชื่อเรื่อง.....................................
2. เนื้อหาที่แต่ง.............................
......................................................
......................................................
......................................................
3. ปัญหา.......................................
......................................................
คาชี้แจง กิจกรรมที่ ........ เรื่อง ............................... เวลา 20 นาที
1. ให้นักเรียนจัดกลุ่มๆ ละ 3-4 คน เลือกประธาน เลขา แล้วแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบในกลุ่ม คะแนน 10 คะแนน
2. พิจารณารูปที่กาหนดให้แล้วทากิจกรรมต่อไปนี้
1. ระบายสี 2. เล่าเรื่องจากภาพ 3. ตั้งชื่อเรื่อง 4. วิเคราะห์ปัญหา 5. วิเคราะห์วิธีออกแบบแก้ไขปัญหา
6.ก้อนหินก้อนเล็กสาคัญอย่างไร ไม่มีได้หรือไม่ 7. บอกหลักการที่ทาให้งานสาเร็จ 8. หาคาศัพท์ภาษาอังกฤษให้ได้มากที่สุด
4. วิเคราะห์วิธีออกแบบแก้ไขปัญหา...........................................................................................................
5. ก้อนหินก้อนเล็กสาคัญอย่างไร ไม่มีได้หรือไม่ ......................................................................................
6. สรุปหลักการที่ใช้แก้ปัญหา ....................................................................................................................
7. ศัพท์ภาษาอังกฤษในภาพ.......................................................................................................................
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking
Thinking

More Related Content

What's hot

วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านNi Aslan
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
Nontaporn Pilawut
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
Phongsak Kongkham
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนWiparat Khangate
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
wisheskerdsilp
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษาแนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
P'kob Nong'kob
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
Jutarat Bussadee
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
Anucha Somabut
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
pupphawittayacom
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
Ploykarn Lamdual
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2thkitiya
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
รายงานผลการอบรมภาษาอังกฤษ53 2
รายงานผลการอบรมภาษาอังกฤษ53 2รายงานผลการอบรมภาษาอังกฤษ53 2
รายงานผลการอบรมภาษาอังกฤษ53 2
Sircom Smarnbua
 

What's hot (20)

วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียน
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
คุรุสดุดี
คุรุสดุดี คุรุสดุดี
คุรุสดุดี
 
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษาแนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
รายงานผลการอบรมภาษาอังกฤษ53 2
รายงานผลการอบรมภาษาอังกฤษ53 2รายงานผลการอบรมภาษาอังกฤษ53 2
รายงานผลการอบรมภาษาอังกฤษ53 2
 

Viewers also liked

การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
Prachyanun Nilsook
 
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
Prachyanun Nilsook
 
1.3 กระบวนการกลุ่ม
1.3 กระบวนการกลุ่ม1.3 กระบวนการกลุ่ม
1.3 กระบวนการกลุ่มTaweep Saechin
 
การใช้ ICT เพื่อยกระดับการศึกษาไทย
การใช้ ICT เพื่อยกระดับการศึกษาไทยการใช้ ICT เพื่อยกระดับการศึกษาไทย
การใช้ ICT เพื่อยกระดับการศึกษาไทย
Prachyanun Nilsook
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
Sunisa Khaisaeng
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
Jindarat JB'x Kataowwy
 
305เกมส์ฝึกคิด
305เกมส์ฝึกคิด305เกมส์ฝึกคิด
305เกมส์ฝึกคิด
niralai
 
คิดนอกกรอบ Thinking Out Of The Box
คิดนอกกรอบ Thinking Out Of The Boxคิดนอกกรอบ Thinking Out Of The Box
คิดนอกกรอบ Thinking Out Of The Box
Noppon Trirojporn
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
STEM Education KMUTNB
STEM Education KMUTNBSTEM Education KMUTNB
STEM Education KMUTNB
Prachyanun Nilsook
 

Viewers also liked (12)

การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
 
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)
 
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
 
1.3 กระบวนการกลุ่ม
1.3 กระบวนการกลุ่ม1.3 กระบวนการกลุ่ม
1.3 กระบวนการกลุ่ม
 
Thana pbl
Thana pblThana pbl
Thana pbl
 
การใช้ ICT เพื่อยกระดับการศึกษาไทย
การใช้ ICT เพื่อยกระดับการศึกษาไทยการใช้ ICT เพื่อยกระดับการศึกษาไทย
การใช้ ICT เพื่อยกระดับการศึกษาไทย
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
 
305เกมส์ฝึกคิด
305เกมส์ฝึกคิด305เกมส์ฝึกคิด
305เกมส์ฝึกคิด
 
คิดนอกกรอบ Thinking Out Of The Box
คิดนอกกรอบ Thinking Out Of The Boxคิดนอกกรอบ Thinking Out Of The Box
คิดนอกกรอบ Thinking Out Of The Box
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
STEM Education KMUTNB
STEM Education KMUTNBSTEM Education KMUTNB
STEM Education KMUTNB
 

Similar to Thinking

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5Meaw Sukee
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]Aon Narinchoti
 

Similar to Thinking (20)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
A
AA
A
 

More from Ict Krutao

สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559
สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559
สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559
Ict Krutao
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ict Krutao
 
ผลการคัดเลือกสถานศึกษาเพื่อรับรางวัลระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ปี 2558
ผลการคัดเลือกสถานศึกษาเพื่อรับรางวัลระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ปี 2558ผลการคัดเลือกสถานศึกษาเพื่อรับรางวัลระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ปี 2558
ผลการคัดเลือกสถานศึกษาเพื่อรับรางวัลระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ปี 2558
Ict Krutao
 
ประกาศ สพฐ58
ประกาศ สพฐ58ประกาศ สพฐ58
ประกาศ สพฐ58
Ict Krutao
 
Certificate
CertificateCertificate
Certificate
Ict Krutao
 
Sm center cerby-compet_203_school_780
Sm center cerby-compet_203_school_780Sm center cerby-compet_203_school_780
Sm center cerby-compet_203_school_780
Ict Krutao
 
Mou khuru
Mou khuruMou khuru
Mou khuru
Ict Krutao
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
Ict Krutao
 
ประกาศระบบดูแล57
ประกาศระบบดูแล57ประกาศระบบดูแล57
ประกาศระบบดูแล57
Ict Krutao
 
ประวัติ ด.ญ.สุธาทิพย์
ประวัติ ด.ญ.สุธาทิพย์ประวัติ ด.ญ.สุธาทิพย์
ประวัติ ด.ญ.สุธาทิพย์
Ict Krutao
 
ประวัติ ด.ช.ศุภวิทญ์
ประวัติ ด.ช.ศุภวิทญ์ประวัติ ด.ช.ศุภวิทญ์
ประวัติ ด.ช.ศุภวิทญ์
Ict Krutao
 
แนวทางรักษาความปลอดภัย 4
แนวทางรักษาความปลอดภัย 4แนวทางรักษาความปลอดภัย 4
แนวทางรักษาความปลอดภัย 4
Ict Krutao
 
แนวทางรักษาความปลอดภัย 2
แนวทางรักษาความปลอดภัย 2แนวทางรักษาความปลอดภัย 2
แนวทางรักษาความปลอดภัย 2
Ict Krutao
 
แนวทางรักษาความปลอดภัย 1
แนวทางรักษาความปลอดภัย 1แนวทางรักษาความปลอดภัย 1
แนวทางรักษาความปลอดภัย 1
Ict Krutao
 
แนวทางรักษาความปลอดภัย 3
แนวทางรักษาความปลอดภัย 3แนวทางรักษาความปลอดภัย 3
แนวทางรักษาความปลอดภัย 3
Ict Krutao
 
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 5 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 5 สำนักวิชาการฯ-2555แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 5 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 5 สำนักวิชาการฯ-2555Ict Krutao
 
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 4 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 4 สำนักวิชาการฯ-2555แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 4 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 4 สำนักวิชาการฯ-2555Ict Krutao
 
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 3 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 3 สำนักวิชาการฯ-2555แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 3 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 3 สำนักวิชาการฯ-2555Ict Krutao
 
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 2 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 2 สำนักวิชาการฯ-2555แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 2 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 2 สำนักวิชาการฯ-2555Ict Krutao
 
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 1 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 1 สำนักวิชาการฯ-2555แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 1 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 1 สำนักวิชาการฯ-2555Ict Krutao
 

More from Ict Krutao (20)

สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559
สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559
สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
 
ผลการคัดเลือกสถานศึกษาเพื่อรับรางวัลระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ปี 2558
ผลการคัดเลือกสถานศึกษาเพื่อรับรางวัลระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ปี 2558ผลการคัดเลือกสถานศึกษาเพื่อรับรางวัลระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ปี 2558
ผลการคัดเลือกสถานศึกษาเพื่อรับรางวัลระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ปี 2558
 
ประกาศ สพฐ58
ประกาศ สพฐ58ประกาศ สพฐ58
ประกาศ สพฐ58
 
Certificate
CertificateCertificate
Certificate
 
Sm center cerby-compet_203_school_780
Sm center cerby-compet_203_school_780Sm center cerby-compet_203_school_780
Sm center cerby-compet_203_school_780
 
Mou khuru
Mou khuruMou khuru
Mou khuru
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
ประกาศระบบดูแล57
ประกาศระบบดูแล57ประกาศระบบดูแล57
ประกาศระบบดูแล57
 
ประวัติ ด.ญ.สุธาทิพย์
ประวัติ ด.ญ.สุธาทิพย์ประวัติ ด.ญ.สุธาทิพย์
ประวัติ ด.ญ.สุธาทิพย์
 
ประวัติ ด.ช.ศุภวิทญ์
ประวัติ ด.ช.ศุภวิทญ์ประวัติ ด.ช.ศุภวิทญ์
ประวัติ ด.ช.ศุภวิทญ์
 
แนวทางรักษาความปลอดภัย 4
แนวทางรักษาความปลอดภัย 4แนวทางรักษาความปลอดภัย 4
แนวทางรักษาความปลอดภัย 4
 
แนวทางรักษาความปลอดภัย 2
แนวทางรักษาความปลอดภัย 2แนวทางรักษาความปลอดภัย 2
แนวทางรักษาความปลอดภัย 2
 
แนวทางรักษาความปลอดภัย 1
แนวทางรักษาความปลอดภัย 1แนวทางรักษาความปลอดภัย 1
แนวทางรักษาความปลอดภัย 1
 
แนวทางรักษาความปลอดภัย 3
แนวทางรักษาความปลอดภัย 3แนวทางรักษาความปลอดภัย 3
แนวทางรักษาความปลอดภัย 3
 
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 5 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 5 สำนักวิชาการฯ-2555แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 5 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 5 สำนักวิชาการฯ-2555
 
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 4 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 4 สำนักวิชาการฯ-2555แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 4 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 4 สำนักวิชาการฯ-2555
 
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 3 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 3 สำนักวิชาการฯ-2555แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 3 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 3 สำนักวิชาการฯ-2555
 
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 2 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 2 สำนักวิชาการฯ-2555แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 2 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 2 สำนักวิชาการฯ-2555
 
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 1 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 1 สำนักวิชาการฯ-2555แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 1 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 1 สำนักวิชาการฯ-2555
 

Recently uploaded

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 

Recently uploaded (6)

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 

Thinking