SlideShare a Scribd company logo
52
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ตัวเรา.......เป็นพลเมืองดี ระยะเวลาในการสอน......................ชั่วโมง
1.	 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำรงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด
ป. 4/1	 ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยในฐานะสมาชิกที่ดีของชุมชน
ป. 4/2	 ปฏิบัติตนในการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
ป. 4/3	 วิเคราะห์สิทธิพื้นฐานที่เด็กทุกคนพึงได้รับตามกฎหมาย
ป. 4/5	 เสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในชีวิตประจำวัน
ป. 5/1	 ยกตัวอย่างและปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพ และหน้าที่ในฐานะพลเมืองดี
ป. 5/2	 เสนอวิธีการปกป้องคุ้มครองตนเองหรือผู้อื่นจากการละเมิดสิทธิเด็ก
ป. 6/1	 ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของครอบครัวและชุมชน
มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธำรงรักษาไว้ซึ่งการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวชี้วัด
ป. 4/1	 อธิบายอำนาจอธิปไตยและความสำคัญของระบอบประชาธิปไตย
ป. 4/2	 อธิบายบทบาทหน้าที่ของพลเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง
2.	 จุดประสงค์การเรียนรู้
	 1.	ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี ตามวิถีประชาธิปไตยในฐานะสมาชิกที่ดีของชุมชน
	 2.	อธิบายและยกตัวอย่างสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ในฐานะพลเมืองดีได้
	 3.	บอกและปฏิบัติตามกฎหมายพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ครอบครัว และชุมชนได้
	 4.	อธิบายสิทธิพื้นฐานที่เด็กทุกคนพึงได้รับการปกป้องคุ้มครองได้
	 5.	เสนอวิธีการปกป้อง คุ้มครองตนเอง หรือผู้อื่นจากการละเมิดสิทธิเด็กได้
	 6.	อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในสังคมไทย ในชุมชนได้
	 7.	อธิบายองค์ประกอบทางวัฒนธรรม และเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลาได้
	 8.	ปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
	 9.	บรรยายคุณค่าของวัฒนธรรมในภาคต่างๆ ของไทย ที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตของคนในสังคมชุมชนได้
	 10.	มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน
53
3.	 กระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง
 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
1. คุณครูและนักเรียนร่วมสนทนาเกี่ยวกับข่าว เหตุการณ์บ้านเมือง และข่าวใน
สังคม/ชุมชนของเรา
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มรายงานข่าวและเหตุการณ์จากหนังสือพิมพ์ที่เตรียมมาเกี่ยว
กับการเมือง การปกครอง เช่น ข่าวการเลือกตั้งสมาชิกสภาตำบล จังหวัด หรือ
ผู้ว่ากรุงเทพมหานคร
	 –	 ผู้สมัครมีใครบ้าง มีคุณสมบัติอย่างไร
	 –	 นักเรียนมีสิทธิเลือกตั้งหรือไม่ ควรทำอย่างไร
	 –	 เปรียบเทียบความเจริญระหว่างจังหวัดกับจังหวัด อำเภอกับอำเภอ หรือ
ประเทศกับประเทศ มีอาชีพ ความเป็นอยู่ ความเจริญแตกต่างกันอย่างไร
เพราะเหตุใด (ในการเปรียบเทียบไม่ควรใช้เงินหรือวัตถุเป็นหลัก พูดให้
ครอบคลุมคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม การปฏิบัติตามกฎระเบียบ
กฎหมาย ฯลฯ อาจมองความสุขของคนในชุมชน/สังคมเป็นตัววัด)
3.	ให้มีกิจกรรมนอกเวลา ช่วยกันรวบรวมข้อมูลในสังคม ชุมชน จังหวัด เช่น
	 –	 ผู้สมัครลงเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดกรุงเทพมหานคร ส.ส. ส.จ. ส.ก.
ส.ข. ในครั้งนี้ (ดูเหตุการณ์ใกล้เคียง) กี่คน
	 –	 ผู้มีสิทธิเลือกตั้งกี่เปอร์เซ็นต์ ออกมาเลือกตั้งกี่เปอร์เซ็นต์
	 –	 มีเหตุการณ์ใดบ้างที่ประชาชนไม่พอใจรัฐบาล อ่านหนังสือพิมพ์แล้ว
รวบรวม
	 –	 แต่ละครั้งประชาชนออกมาชุมนุมคัดค้านกี่เปอร์เซ็นต์ อายุ อาชีพ และ

รายได้ของชุมชนคัดค้าน (อันแสดงถึงความตื่นตัวทางการเมือง และใช้สิทธิ
ตามรัฐธรรมนูญ)
4.	ให้มีการรายงานผลจากการสำรวจข้อมูลแต่ละกลุ่มและอภิปรายตามหัวข้อ
ดังนี้
	 4.1	แนวโน้มของโลกปัจจุบัน คือ การมีระบบการเมืองแบบเปิด และเน้นการ
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
	 4.2	ความตื่นตัวของประชาชนทางการเมืองเนื่องจากการพัฒนาเศรษฐกิจ
สังคม การศึกษา และสื่อมวลชน เทคโนโลยีการสื่อสาร (เห็นได้จากกลุ่ม
พันธมิตรประชาธิปไตย - ผู้เขียน)
	 4.3	เหตุการณ์ที่ผ่านมา 14 ตุลาคม 2516, 6 ตุลาคม 2519 และพฤษภาคม 2535
เป็นประวัติศาสตร์ที่คอยกระตุ้นความทรงจำกึ่งการต่อสู้และเสียสละชีวิต
เลือดเนื้อ
ปฏิบัติตามโรงเรียนต้นทาง
ทบทวนความเป็นพลเมืองดี 
ตามวินัยชาวพุทธ
หมวดหนึ่ง
วางฐานชีวิตให้มั่น
(ดูในแผนหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 
ตัวเรา)
“วินัยที่ฝึกไว้ดีนี้ คือ อุดมมงคล”
หมวดสอง
“นำชีวิตให้ถึงจุดหมาย”
ก. จุดหมาย 3 ขั้น
ขั้นที่ 1 จุดหมายขั้นตาเห็น 
หรือประโยชน์ปัจจุบัน
ก)	 สุขภาพดี
ข)	มีงาน มีเงิน
ค)	มีสถานภาพดี
ง)	 มีครอบครัวผาสุก
ทั้ง 4 นี้ พึงเกิดมีโดยธรรม และ
ใช้ให้เป็นประโยชน์ทั้งแก่ตนและ
ผู้อื่น
ขั้นที่ 2 จุดหมาย
ขั้นเลยตาเห็นหรือประโยชน์
เบื้องหน้า
ก)	 มีความอบอุ่น ซาบซึ้ง สุขใจ
ไม่อ้างว้าง เลื่อนลอย มีหลัก
ยึดเหนี่ยวใจให้เข้มแข็งด้วย
ศรัทธา
ข)	มีความภูมิใจในชีวิต สะอาดที่
ได้ประพฤติแต่การอันดีงาม
ด้วยความสุจริต
54
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง
 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 4.4	กระแสโลกาภิวัตน์ ทำให้ประเทศไทยมีการแปรเปลี่ยนทั้งโครงสร้างและ
กายภาพ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจและการเมืองมีสูง การใช้อำนาจ
เผด็จการแบบสังคมเกษตรจึงไร้ผลการแปรเปลี่ยนดังกล่าว
	 4.5	เทคโนโลยีการสื่อสารทำให้ปฏิบัติการของผู้อยู่ในอำนาจล้าสมัย การ
บิดเบือนข่าวสารทำได้ยาก
	 4.6	การต่อต้านนายกรัฐมนตรี ที่ต้องการแก้รัฐธรรมนูญเพื่อพวกพ้อง ไม่
รักษาผลประโยชน์ส่วนรวม ฯลฯ อีกท่าทีอันแข็งกร้าวและเชื่อมั่นใน
อำนาจยิ่งเป็นการยั่วยุ
	 4.7	ธรรมาภิบาล ธรรมะของผู้บริหารบ้านเมือง
	 4.8	พลังของประชาชน เช่น พันธมิตรประชาธิปไตย ฯลฯ
	 4.9	วิกฤติแห่งความน่าเชื่อถือ สื่อมวลชนของรัฐไม่เป็นกลาง
	 4.10	ความเชื่อแบบเก่าที่ว่าอำนาจสามารถสยบได้ ล้าสมัย ไม่ทันเหตุการณ์โลก
ค)	มีความอิ่มใจในชีวิต มีคุณค่า
ที่ได้ทำประโยชน์ตลอดมา
ด้วยน้ำใจ เสียสละ
ง)	 มีความแกล้วกล้า มั่นใจที่จะ
แก้ไขปัญหา นำชีวิตและ
ภารกิจไปได้ด้วยปัญญา
จ)	 มีความโล่งจิต มั่นใจ มีทุน
ประกันภพใหม่ด้วยได้ทำไว้
แต่กรรมดี
ขั้นที่ 3 จุดหมายสูงสุด หรือ
ประโยชน์อย่างยิ่ง
ก)	 ถึงถูกโลกธรรมกระทบ ถึงจะ
5.	จัดกิจกรรมการเลือกตั้งประธาน/หัวหน้าชั้น และคณะกรรมการ ทำหน้าที่เพื่อ
ส่วนรวม กำหนดบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน ให้คณะกรรมการประชุมร่วมกับ
กลุ่มนักเรียนเพื่อวางแผนทำกิจกรรม บำเพ็ญประโยชน์ เพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน์ไม่น้อยกว่า 20 ชั่วโมง ต่อปี (ป. 4 - ป. 6 ไม่น้อยกว่า 60
ชั่วโมง)
6.	กลุ่มนักเรียน ศึกษาสิทธิพื้นบ้านที่เด็กพึงได้รับการปกป้องคุ้มครอง รวบรวม
ข้อมูลเด็กถูกกระทำจากชุมชน/สังคม/หนังสือพิมพ์ เป็นข้อมูลพื้นฐานที่ทุกคน
ควรรู้ ป้องกันตนเอง เพื่อน และกลุ่มเด็กในชุมชน/สังคม
	 –	 จัดนิทรรศการ อภิปราย ให้เพื่อนนักเรียนในโรงเรียนร่วมเรียนรู้ โดยมีครู
เป็นพี่เลี้ยงและที่ปรึกษา
7.	ศึกษา กิจกรรมในสังคม/ชุมชน วันสำคัญ ประเพณี และวัฒนธรรมต่างๆ
	 –	 ศึกษาจากโทรทัศน์ ซีดี วีซีดี สื่อต่างๆ ตลอดจนทัศนศึกษานอกเวลา
รวบรวมภาพ ข้อมูล กิจกรรม เชิญวิทยากรมาบรรยาย เพื่อศึกษาความแตก
ต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในสังคม/ชุมชน ในประเทศไทย รวบรวมทำ
โครงงาน จัดการแสดงร่วมกับกลุ่มสาระภาษาไทย และศิลปนาฏศิลป์
	 –	 จัดนิทรรศการ จัดถ่ายทำเป็นภาพและซีดี
	 –	 ค้นคว้าและเขียนรายงานเกี่ยวกับประวัติวัฒนธรรม ประเพณีของคนไทย
ภาคต่างๆ ตามเผ่าพันธุ์ และการนับถือศาสนา เน้นคุณค่าและผลต่อการดำรง
ชีวิตในสังคม อภิปราย และจัดนิทรรศการ รวบรวมผลงานไว้เป็นเล่ม หรือ
เป็นซีดี หรือทั้งสองแบบ
8.	นักเรียนร่วมกันคิด และจัดกิจกรรมการแสดงนิทรรศการ ถ่ายภาพ เขียนข่าว
ฯลฯ เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน/ของไทย
	 พบความผันผวนปรวนแปรก็
ไม่หวั่นไหว มีใจเกษมศานต์
มั่นคง
ข)	ไม่ถูกความยึดติดถือมั่น บีบ
คั้นจิต ไม่ผิดหวัง โศกเศร้า มี
จิตโล่งโปร่งเบาเป็นอิสระ
ค)	สดชื่น เบิกบานใจ ผ่องใส ไร้
ทุกข์ มีความสุขที่แท้
ง)	 รู้เท่าทันและทำการตรงตาม
เหตุปัจจัย ชีวิตหมดจดสดใส
อยู่ด้วยปัญญา
ข.	 จุดหมาย 3 ด้าน
ด้านที่ 1 จุดหมายเพื่อตนหรือ
ประโยชน์ตน
ด้านที่ 2 จุดหมายเพื่อผู้อื่น หรือ
ประโยชน์ผู้อื่น
ด้านที่ 3 จุดหมายร่วมกัน หรือ
ประโยชน์ทั้ง 2 ฝ่าย คือประโยชน์

สุขของสังคม
จาก ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์
(ป.อ. ปยุตฺโต)
55
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง
 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 8.1	นักเรียนร่วมกันเขียนผังความคิด (Mind Mapping) ดังนี้ :- อาจเขียนขยาย
รายละเอียดให้มากขึ้นตามที่ศึกษา ค้นคว้ามาได้

พว.
 
	 8.2	นักเรียนศึกษา ค้นคว้า และรวบรวมภูมิปัญญาชาวบ้านในชุมชนของตน
แล้วมารวบรวมเป็นภูมิปัญญาชาวหัวหิน เช่น
		ภูมิปัญญา	 –	 ด้านอาหาร	 –	 อาหารทะเล
					 –	 ผลไม้กวน
						 ฯลฯ
			 –	 การแต่งกาย	 –	 ผ้าโขมพัสตร์
			 –	 การละเล่น	 –	 ระบำกะลา
						 ฯลฯ

	 8.3	นักเรียนช่วยกันศึกษาองค์ประกอบของภูมิปัญญาชาวบ้าน แล้วเขียนผัง
ความคิดติดบอร์ด คุณครูชวนสนทนาเพื่อให้นักเรียนสังเกต สนใจ
ค้นคว้า โดยให้เด็กมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ จากการเห็นสิ่งของในบ้าน
ฯลฯ


ภูมิปัญญา
ภูมิปัญญาชาวบ้าน

 ภูมิปัญญาไทย
ขนบธรรมเนียม
ประเพณีไทย

ภาคใต้
และอื่นๆ
ชาวหัวหิน
ชาวล้านนา
และอื่นๆ
ภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ

อาหารไทย
เครื่องแต่งกายไทย
ดนตรีไทย
ภูมิปัญญาชาวบ้าน

ประเพณีศาสนา
การเคารพบูชา
สิ่งเหนือความปกติ
อยู่ร่วมกันในสังคม
ด้านการทำมาหากิน
การทำหัตถกรรม
พื้นบ้าน




—	รดน้ำดำหัว
—	สู่ขวัญ
—	สืบชะตา
—	ผูกเสี่ยว
—	ผิดผีเสียผี
—	ไหว้ครู
—	ลงแขก
การปรุงอาหาร
และถนอมอาหาร

—	แหนมไส้อั่วหมูยอ
—	กุ้งแห้ง
—	แกงต่างๆ
—	น้ำพริก
—	ส้มตำ
—	กล้วยตากทุเรียนกวน
—	กะปิน้ำปลาปลาเค็ม
ด้านสร้างสรรค์
ทางศิลปะ

—	ดนตรีพื้นเมือง
—	การแสดงพื้นเมือง
—	ลิเก
—	หมอลำ
—	หนังตะลุง
—	โนรา
—	โลหะ
—	ดินเผา
—	เครื่องไม้
—	จักสาน
—	เครื่องทอ
—	การเกษตร
—	การสร้างฝาย
—	การสร้างเครื่องมือ
	 เครื่องใช้ 
แนวผสมผสาน
ทฤษฎีใหม่
ด้านสุขภาพอนามัย

—	อบตัว
—	นวด
—	ใช้ยาสมุนไพร
56
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง
 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 ในการซักถาม ควรรวบรวมจากสิ่งที่นักเรียนสังเกตพบเห็น ในหมู่บ้าน
ชุมชน (คือข้อย่อยก่อน จึงค่อยสรุปเป็นข้อใหญ่ เพื่อให้นักเรียนได้คิด :
เน้นทักษะกระบวนการคิด)

9.	เมื่อเรียนจบแต่ละชั่วโมง ให้นักเรียนช่วยกันคิดสรุป วิเคราะห์ ว่าสิ่ง/เรื่องต่างๆ
เหล่านี้เกี่ยวข้องกับตัวเราอย่างไร ถ้าเราไม่ได้เกิดมาในชุมชนนี้ ประเทศไทยนี้
เราจะคิดใช้ชีวิตหรือมีความเป็นอยู่อย่างที่เป็นอยู่หรือไม่ ให้นักเรียนเปรียบ
เทียบกับชนชาติอื่นในเอเชีย และทวีปอื่น เท่าที่มีประสบการณ์ การตั้งคำถาม
เน้นการคิด วิเคราะห์ ความมีเหตุผล คิดในเชิงบวก คิดสร้างสรรค์ คิดอย่าง
โยนิโสมนสิการ

ภาคผนวก
ชาวพุทธชั้นนำ ต้องมีความเข้มแข็งที่จะตั้งมั่นอยู่ในหลักธรรม ให้เป็นตัวอย่างแก่ชาวพุทธทั่วไป นอกจาก
รักษา “วินัยชาวพุทธ” แล้ว ต้องมี อุบาสกธรรม 5 ดังนี้
1.	 มีศรัทธา เชื่อ ประกอบด้วยปัญญา ไม่งมงาย ยึดมั่นในพระรัตนตรัย ไม่หวั่นไหว ไม่แกว่งไกว ถือธรรมเป็น
ใหญ่และสูงสุด
2.	 มีศีล นอกจากตั้งอยู่ในศีล 5 และสัมมาอาชีพแล้ว ควรถือศีลอุโบสถตามกาลเพื่อพัฒนาตน ให้ชีวิตและ
ความสุขพึ่งพาวัตถุน้อยลง ลดการเบียดเบียน และเกื้อกูลแก่ผู้อื่นได้มากขึ้น
3.	 ไม่ถือมงคล ตื่นข่าว เชื่อกรรม มุ่งหวังผลการกระทำด้วยเรี่ยวแรง ความเพียรพยายามตามเหตุผล ไม่ตื่นข่าว
เล่าลือโชคลางเรื่องขลังมงคล ไม่หวังผลจากอำนาจดลบันดาล
4.	 ไม่แสวงหาพาหิรทักขิไณย์ ไม่ไขว่คว้าเขตบุญขุนคลังผู้วิเศษศักดิ์สิทธิ์ นอกหลักพระพุทธศาสนา
5.	 ขวนขวายในการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ใส่ใจริเริ่ม และสนับสนุนกิจกรรมการกุศล ตามหลักคำสอน
ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
(คัดบางตอนจาก ธรรมนูญชีวิต : พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ. ปยุตฺโต)
_________________________________________
57
ภาคผนวก
แผนผังหน้าที่พลเมือง
หมายเหตุ หัวข้อจากผังมโนทัศน์ (Mind Mapping) หน่วย ตัวเรา ของภาคการศึกษาที่ 1
หน้าที่ สิทธิ
การมีส่วนร่วม
คุณธรรมของพ่อแม่/ครู
คุณธรรมของผู้นำชุมชน
คุณธรรมของผู้ปกครอง (ผู้นำ)
– นักการเมือง
คุณธรรมของตัวเรา
หน้าที่ของนักเรียนต่อ
ครอบครัว พ่อแม่ (ลูกที่ดี)
หน้าที่และสิทธิของบุคคล
ในครอบครัว
อุดมการณ์และนักการเมือง

การวิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสาร
ของชุมชนและบ้านเมือง

การมีส่วนร่วมของสมาชิก
ในครอบครัว
การมีส่วนร่วมของสมาชิก
ในโรงเรียน
การมีส่วนร่วมของสมาชิก
ในชุมชน
การเป็นพลเมืองดีตามวิถีชีวิต
ประชาธิปไตย
– ปฏิบัติ เคารพในกฎหมาย

พว.
58
ภาคผนวก (สำหรับคุณครูผู้สอน)
การเมืองไทยกับประชาธิปไตย
ตั้งแต่ปฏิวัติปี 2475 เป็นต้นมา มีการกล่าวว่าประเทศไทยปกครองแบบระบอบประชาธิปไตย แต่จากข้อเท็จ
จริงที่มีการรัฐประหาร การเปลี่ยนแปลงรัฐบาลโดยการยึดอำนาจ การเผด็จการในระบอบรัฐสภา (โดยอาศัยเสียงข้างมาก)
เหล่านี้ล้วนแต่เป็นพฤติกรรมทางการเมือง ซึ่งผิดแนวระบอบประชาธิปไตย เหตุใดระบอบประชาธิปไตยจึงไม่ได้ผลอย่าง
เต็มที่ในประเทศไทย ซึ่งจะต้องพิจารณาจากสภาพแวดล้อมต่างๆ อันได้แก่ โครงสร้างทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง
รวมถึงสมาชิกของสังคม ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สำคัญที่สุด เพราะโครงสร้างดังกล่าวเกิดขึ้นจากน้ำมือมนุษย์ บทความนี้
จะไม่พูดถึงจุดดี หรือจุดบกพร่องของระบอบประชาธิปไตย และขอสันนิษฐานไว้ก่อนว่าระบอบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษัตริย์เป็นประมุข เป็นสิ่งที่ประเทศไทยต้องการ
การมองหาสาเหตุที่ทำให้การปกครองแบบประชาธิปไตยไม่ได้ผลในประเทศไทย เราอาจมองเริ่มต้นจาก
“เงื่อนไขที่จะทำให้ประชาธิปไตยได้ผลในทางปฏิบัติ” ซึ่งนักวิชาการตะวันตกได้เสนอแนวคิดเหล่านี้ไว้
โทมัส เจฟเฟอร์สัน กล่าวว่าประชาธิปไตยจะได้ผลดีในประเทศกสิกรรม ที่คนมีการศึกษาดี ส่วนแมกซ์ 

เวเบอร์ มีความเห็นว่า จะได้ผลในประเทศอุตสาหกรรม
ข้อเท็จจริง ระบอบประชาธิปไตยมีอยู่ในทั้งสองระบบเศรษฐกิจ ในกรณีเฉพาะประเทศไทย การเปลี่ยนแปลง
ทางเศรษฐกิจจะมีส่วนอย่างมากต่อการเปลี่ยนแปลงการเมือง สังคม ทัศนคติ และค่านิยมของประชาชน เราลองปรับ
“ทฤษฎี” เข้ากับข้อเท็จจริงของประเทศไทยว่าจะสอดคล้องกับเงื่อนไขที่สรุปได้หรือไม่ ถ้าไม่ได้จะหาทางแก้ไขได้อย่างไร
1.	 มรดกตกทอดจากระบบโบราณของไทย
สภาพปัจจุบันเป็นผลจากอดีต ซึ่งเปลี่ยนแปลงเพียงบางส่วน จากความเจริญของยุคใหม่
เศรษฐกิจ สังคม และการปกครองปัจจุบัน ประกอบด้วยการกสิกรรมเป็นส่วนใหญ่ คนที่อยู่ในชนบทมีมาก
กว่าสี่ในห้าของพลเมืองทั้งหมด คนที่อยู่ในเมืองและเมืองใหญ่ประกอบด้วยพ่อค้า นักธุรกิจ และข้าราชการ ซึ่งอาจจัด
เป็นคนชั้นกลาง มีจำนวนไม่มากนัก พ่อค้าส่วนใหญ่เป็นคนจีน อินเดีย และอื่นๆ คนจีน (หรือคนไทยเชื้อสายจีน) เป็น
นักการค้าที่มีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ
ทัศนคติของคนไทย “โตขึ้นขอให้เป็นเจ้าคนนายคน” เป็นผลมาจากระบอบศักดินา ซึ่งเป็นช่องทางเคลื่อนไหว
ทางสังคมที่สำคัญที่สุดในสมัยนั้น ชาวบ้านชาวนาก็อาจเป็นพระยาได้ ถ้าหากมีความสามารถพอ และรู้จักเล่นการเมือง
นี่คือทฤษฎี
เจ้านาย หรือข้าราชการ เป็นผู้มีอำนาจ และเกียรติยศ และคาดหวังให้คนทั่วไปปฏิบัติต่อตนเช่นนั้นสืบทอดมา
จนปัจจุบัน
การปฏิวัติในปี 2475 เป็นการโอนอำนาจการเมืองจากพระมหากษัตริย์ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปสู่
กลุ่มนักการเมืองและทหาร ประชาชนส่วนใหญ่ไม่ได้มีส่วนร่วมด้วย ทำให้เกิดเงื่อนไขสำคัญๆ เช่น ความรู้สึกเสมอภาค
ความทัดเทียมในทางเศรษฐกิจ ความเจริญทางเศรษฐกิจ การมีวัฒนธรรมทางการเมืองที่สอดคล้องกับประชาธิปไตยขาด
หายไป สภาพดังกล่าวย่อมยากแก่การเจริญเติบโตของระบอบประชาธิปไตยและง่ายต่อการคงอยู่ของระบอบเผด็จการ
แบบ Authoritarianism
59
2.	 พุทธศาสนา และบุคลิก อุปนิสัยของคนไทย
ศาสนามีบทบาทอย่างมากต่อความคิดของมนุษย์ และต่อทัศนคติที่มีต่อโลก และต่อสังคมที่อาศัยอยู่ ฯลฯ
แมกซ์ เวเบอร์ มีความเห็นว่า ความเจริญในทางเศรษฐกิจแบบระบบนายทุนของตะวันตก เกิดจากศาสนาลัทธิ Calvinism
นักวิชาการหลายท่านกล่าวว่า พุทธศาสนาทำให้คนเจริญทางเศรษฐกิจช้าลง ก่อให้เกิดอุปนิสัยแบบไทย (ซึ่ง
เหมาะกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงมากกว่า - ผู้เรียบเรียง) เป็นการยากที่จะชี้ขาดลงไปว่าเพราะพุทธศาสนาหรือเพราะคน
ไทยมีบุคลิกอุปนิสัยดังนี้อยู่แล้ว จึงรับพุทธศาสนิกายเถรวาทไว้เป็นปรัชญาชีวิตตน สถาบันการเมืองจึงเป็นสิ่งที่ไม่มี
ความสำคัญพอ เพราะทุกคนมีตัวเองเป็นเครื่องกำหนดชีวิต โดยมีกรรมเป็นเครื่องชี้แนะ “ความดี” หรือ “กรรมดี”
ทุกคนจึงมีความรับผิดชอบต่อตนเองโดยลำพัง ยอมทนต่อสภาพอันไม่ยุติธรรม หรือผิดหลักการ จนมีผู้กล่าว
ว่าคนไทยมีลักษณะ Carefree ไม่ค่อยยินดียินร้ายต่อประโยชน์ส่วนตัวในระบบการเมือง ไม่ค่อยมีความรู้สึกปกป้องสิทธิ
และความยุติธรรมทางการเมือง มีความเชื่อว่าสิ่งไม่ดีที่เกิดขึ้นจะเข้ารูปเข้ารอยเอง (Self-correcting) เพราะจักรวาลนี้มี
กรรมเป็นสิ่งควบคุม
บุคลิกอุปนิสัยของคนไทย คือ การสอดคล้องกันระหว่าง individualism กับ hierarchicalism คือความเป็นตัว
ของตัวเอง กับการเคารพอาวุโสแบบยอมรับอำนาจ การเป็นตัวของตัวเองแบบไม่ผูกพัน ไม่รับผิดชอบต่อสถาบันของ
สังคม ซึ่งเป็นหน่วยส่วนรวมหน่วยใหญ่ มุ่งแต่อิสระส่วนตัว แต่ขณะเดียวกันก็ประกอบด้วยการเคารพรับอำนาจแบบ
ระบบอาวุโส ซึ่งคุณค่านิยมของสังคม ฯลฯ ไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกัน ดังนั้นระบบ hierachicalism ยังคง function 

อยู่ในสังคม ขณะเดียวกัน สังคมก็ยอมทนต่อความเป็นตัวของตัวเองแบบไทย ตราบเท่าที่ไม่เกิดการกระทบกระเทือนต่อ
ระบบอันแรกจนเกินไป
*ระบบ hierarchicalism มีส่วนเกี่ยวเนื่องจากระบบการปกครอง การอบรมในครอบครัว ในโรงเรียน และความ
สัมพันธ์ในสังคม ส่วนความเป็นตัวเองแบบไทยนั้น อาจเป็นลักษณะดั้งเดิมของไทย หรืออาจเชื่อในหลักของกรรม
3.	 ทหาร และรัฐประหาร
การเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปี 2475 ทำให้เกิดช่องว่างทางอำนาจการเมืองขึ้น ซึ่งถูกแทนที่โดยทหารซึ่งเป็น
สถาบันที่มีความเจริญสูงในด้านองค์กร และเป็นปึกแผ่น เมื่อเกิดระส่ำระสายขึ้น ทหารจึงเป็นองค์กรเดียวที่พอจะรักษา
เสถียรภาพไว้ได้ และในอดีตทหารมีบทบาทสำคัญในการรักษาเอกราชของชาติไทย ในสมัยหนึ่งองค์การทหารยังได้รับ
การส่งเสริมให้เป็นปึกแผ่นยิ่งขึ้นจากประเทศสหรัฐอเมริกา
4.	 สรุป
จากการวิเคราะห์เบื้องต้น พอสรุปได้ว่า การปกครองระบอบประชาธิปไตยไม่บรรลุผลในประเทศไทย
เนื่องจากมรดกตกทอดของระบบการปกครองและโครงสร้างของสังคมในสมัยโบราณ โครงสร้างของเศรษฐกิจและ
คุณค่านิยม และทัศนคติของประชาชน อันเนื่องมาจากการปกครอง การอบรมในครอบครัว ความสัมพันธ์ในทางสังคม
ประกอบกับโลกทัศน์อันเป็นผลของศาสนาผนวกกับขาดสถาบันการเมืองที่เข้มแข็ง มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละเพื่อ
ส่วนรวม และประเทศชาติโดยแท้จริง ช่วงโลกาภิวัตน์ เมื่อมีอำนาจกอบโกยผลประโยชน์ให้ตนเองและพรรคพวกโดยใช้
กฎหมายเป็นเครื่องมือ (ผู้เรียบเรียง)
60
ปัญหาการเมืองไทยในอนาคต
การเมืองไทยในอนาคตจะมีลักษณะไม่คงตัว ปัญหาต่างๆ ที่รัฐบาลจะต้องประสบมีมากมาย การประคับ
ประคองมิให้รัฐบาลล่มนั้นต้องได้ผู้มีความสามารถจริงๆ และต้องประกอบด้วยความร่วมมือจากประชาชน ความคาด
หวังว่าจะได้อะไรต่ออะไรมากมายจากการปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้น ควรอยู่ในลักษณะมองความจริง
ประชาธิปไตยมิใช่ยาวิเศษที่แก้ปัญหาเศรษฐกิจ ความยากจนได้ฉับพลัน แต่เป็นระบบการเมืองที่จะช่วยให้สิทธิเสรีภาพ
ความเสมอภาค และความยุติธรรมทางสังคม แต่ความแตกต่างในเรื่องฐานะความยากจนอาจจะแก้ไม่ได้ฉับพลัน รัฐบาล
ในอนาคตจะต้องเป็นรัฐบาลที่กล้าหาญ ทำงานแข่งกับเวลา กล้าดำเนินนโยบายที่จะนำมาซึ่งความยุติธรรม แม้จะกระทบ
กระทั่งผลประโยชน์คนบางกลุ่ม กล้าที่จะทำอะไรที่ไม่เคยทำมาก่อน เช่น อาจใช้ระบบสังคมนิยม เพื่อให้สวัสดิการแก่

ผู้เสียเปรียบ เก็บภาษีทางตรง เช่น ภาษีที่ดิน ฯลฯ เพื่อนำเงินไปพัฒนาประเทศเพื่อคนส่วนใหญ่ ไม่เน้นเฉพาะนโยบาย
ประชานิยม แต่เน้นการฝึกอาชีพให้ประชาชนพึ่งพาตนเองได้ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และที่สำคัญอย่างยิ่งรัฐบาล
ต้องบริหารประเทศด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต เพื่อประโยชน์ของประชาชนส่วนรวม และชาติบ้านเมือง ไม่ใช่เฉพาะ

พรรคพวกส่วนตัว (ผู้เรียบเรียง)
กิจกรรมที่ควรให้นักเรียนหาข้อมูลมารายงานเพื่อความเข้าใจ
	 1.	 การกระจายอำนาจและการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชนบท
	 ก.	 ปัญหาและอุปสรรค	 ข.	 ข้อดี - ข้อเสีย
	 ค.	 สาเหตุ	 ง.	 ผล
	 2.	 การแก้ปัญหาความคิดเห็นที่แตกต่างทางการเมือง ในสังคม
	 ก.	 สาเหตุของปัญหา	 ข.	 วิธีการแก้ปัญหา
	 ค.	 ธรรมาภิบาล	 ง.	 หลักธรรมข้อใดในพระพุทธศาสนาควรนำมาปฏิบัติ
	 3.	 ศึกษาจากประเทศเพื่อนบ้าน ในเอเชีย และเอเชียอาคเนย์ (Southeast Asia)
	 ก.	 ประเทศที่มีความเจริญมั่นคงทางเศรษฐกิจ เพราะเหตุใด
	 ข.	 ประเทศที่ไม่ร่ำรวยมั่งคั่ง แต่ประชาชนมีความสุข เพราะเหตุใด
	 ค.	 ประเทศที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม ทั้งๆ ที่มีทรัพยากรจำนวนเพียงพอกับประชากร เพราะเหตุใด
	 ง.	 สรุปความคิดเห็นของนักเรียนจากการศึกษาและเรียนรู้ จดบันทึกไว้เพื่อติดตามเหตุการณ์บ้านเมืองต่อไป
หนังสืออุเทศน์
การเมือง การปกครองของไทย : ศ. ดร. ลิขิต ธีระเวคิน, 2549.
_________________________________________
61
º—ß¡‚π∑—»πå°≈ÿà¡ “√–°“√‡√’¬π√Ÿâ —ߧ¡»÷°…“ »“ π“·≈–«—≤π∏√√¡
™—Èπª√–∂¡»÷°…“ªï∑’Ë 4 - 6 ¿“§‡√’¬π∑’Ë 1 ªï°“√»÷°…“ 2554
Àπ૬°“√‡√’¬π√Ÿâ∑’Ë 1 μ—«‡√“
μ—«‡√“
ª.4 - 6
¿“…“Õ—ß°ƒ…
- °“√ π∑π“∑—°∑“¬
- §”»—æ∑凰’ˬ«°—∫μ—«‡√“
»‘≈ª–
- «“¥¿“懰’ˬ«°—∫μ—«‡√“
- °“√‡¢’¬π Mind Map-
ping μ°·μàß√–∫“¬ ’
¿“…“‰∑¬
- Õ¿‘ª√“¬ 𔇠πÕº≈ß“π
Àπâ“™—Èπ‡√’¬π
-  ¡ÿ¥‡≈ࡇ≈Á°
 ÿ¢»÷°…“
- °“√ÕÕ°°”≈—ß°“¬„π™’«‘μ
ª√–®”«—π
§≥‘μ»“ μ√å
- °“√„™â®à“¬„π™’«‘μ
ª√–®”«—π
¡Ÿ≈π‘∏‘°“√»÷°…“∑“߉°≈ºà“𥓫‡∑’¬¡  ß«π≈‘¢ ‘∑∏‘Ï
62
μ—«‡√“
1.
1. μ—Èߧ”∂“¡∑’ˇ°’ˬ«°—∫μ—«‡√“
2. ¥Ÿ¿“懰’ˬ«°—∫ªí≠À“¢Õßμ—«‡√“
3.  π∑π“ Õ¿‘ª√“¬∂÷߇Àμÿ°“√≥åÀ√◊Õ
¢âÕ§«“¡∑’Ëπà“ π„®
4.  √â“ߧ”∂“¡‡°’ˬ«°—∫‡√◊ËÕßπ—ÈπÊ
5. π‘∑“π
6. ‡æ≈ß 2.
1. «‘‡§√“–Àå‡√◊ËÕß√“«‡°’ˬ«°—∫∫∑§«“¡
¢âÕ§«“¡ªí≠À“
2. ‡¢’¬π·ºπº—ߧ«“¡§‘¥‡°’ˬ«°—∫μ—«‡√“
‡√◊ËÕß∑’ˇ°’ˬ«¢âÕß
3. ¡’°“√Õ¿‘ª√“¬¢âÕμà“ßÊ À√◊Õªí≠À“
¢âÕ¡Ÿ≈∑’Ëπ—°‡√’¬πμâÕß°“√∑√“∫
3.
1. „À⥟¿“æÀ√◊ÕVDOÀ√◊ÕVCDÀ√◊ÕÀ“∑’ˇ°’ˬ«¢âÕß
2. ¡’°“√«‘‡§√“–Àå„π‡√◊ËÕßμà“ßÊ ·¬°ÕÕ°¡“„Àâ™—¥‡®π
4.
1. À“¢âÕ¡Ÿ≈‡°’ˬ«°—∫∑âÕß∂‘Ëπ®“°
ÀâÕß ¡ÿ¥ ∫ÿ§≈“°√
2.  —¡¿“…≥å«‘∑¬“°√®“°∑âÕß∂‘Ëπ
3. §âπ§«â“¢âÕ¡Ÿ≈®“° Internet
5.
- ∑”„∫ß“πμ“¡∑’˧√Ÿ°”Àπ¥
- ∑”·∫∫Ωñ°À—¥
- ∫—π∑÷°§«“¡√Ÿâ®“°°“√√à«¡°—π √ÿª
- ∫—π∑÷°®“°°“√ —¡¿“…≥å
6.
- √«∫√«¡¿“æÀ√◊Õ¢âÕ¡Ÿ≈ ¿“æ«“¥ π‘∑“π
- ·øÑ¡º≈ß“ππ—°‡√’¬π
- ·ºπº—ߧ«“¡§‘¥
7.
- π”¡“ª√–¬ÿ°μå
- π—°‡√’¬π™◊Ëπ™¡º≈ß“π¢Õßμπ‡Õß·≈–‡æ◊ËÕπ
- π”º≈ß“π¢Õßπ—°‡√’¬π¡“Õ¿‘ª√“¬
·≈°‡ª≈’Ë¬π§«“¡√Ÿâ
- 𔇠πÕ¢—ÈπμÕπ°“√∑”ß“πªí≠À“«‘∏’°“√
°“√𔉪„™â
8.
- π”º≈ß“π¡“®—¥π‘∑√√»°“√ √“¬ß“π
- ®—¥· ¥ßº≈ß“πÀπâ“™—Èπ‡√’¬π
°“√«“ß·ºπ°“√®—¥°“√‡√’¬π√Ÿâ
Àπ૬°“√‡√’¬π√Ÿâ∑’Ë 1 μ—«‡√“
¡Ÿ≈π‘∏‘°“√»÷°…“∑“߉°≈ºà“𥓫‡∑’¬¡  ß«π≈‘¢ ‘∑∏‘Ï

More Related Content

What's hot

นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษาครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
Boonlert Aroonpiboon
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
Jaru O-not
 
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผลsasiton sangangam
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
tassanee chaicharoen
 
สาระสำคัญของการลูกเสือ
สาระสำคัญของการลูกเสือสาระสำคัญของการลูกเสือ
สาระสำคัญของการลูกเสือpreecha klamrassamee
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
ครูต๋อง ฉึก ฉึก
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
Nattayaporn Dokbua
 
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54somchaitumdee50
 
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
KruKaiNui
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการteaw-sirinapa
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 

What's hot (17)

นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
 
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
สาระสำคัญของการลูกเสือ
สาระสำคัญของการลูกเสือสาระสำคัญของการลูกเสือ
สาระสำคัญของการลูกเสือ
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
 
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
 
กิจการนักเรียน
กิจการนักเรียนกิจการนักเรียน
กิจการนักเรียน
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 

Viewers also liked

แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc
Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
Prachoom Rangkasikorn
 
Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
Microsoft word   แผนบริหารการจัดการเรียนการสอนMicrosoft word   แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmap
Prachoom Rangkasikorn
 
กระบวนการจัดการเรียนรู้ทักษะเผชิญสถานการณ์
กระบวนการจัดการเรียนรู้ทักษะเผชิญสถานการณ์กระบวนการจัดการเรียนรู้ทักษะเผชิญสถานการณ์
กระบวนการจัดการเรียนรู้ทักษะเผชิญสถานการณ์
จารุ โสภาคะยัง
 
ใบงาน วิชาสังคมศึกษา ป.5 หน่วยที่ 3
ใบงาน วิชาสังคมศึกษา ป.5 หน่วยที่ 3ใบงาน วิชาสังคมศึกษา ป.5 หน่วยที่ 3
ใบงาน วิชาสังคมศึกษา ป.5 หน่วยที่ 3Luvvy Sugar
 
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 101 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1Siwaphon Tonpui
 

Viewers also liked (8)

แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
Microsoft word   แผนบริหารการจัดการเรียนการสอนMicrosoft word   แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
 
ผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmap
 
กระบวนการจัดการเรียนรู้ทักษะเผชิญสถานการณ์
กระบวนการจัดการเรียนรู้ทักษะเผชิญสถานการณ์กระบวนการจัดการเรียนรู้ทักษะเผชิญสถานการณ์
กระบวนการจัดการเรียนรู้ทักษะเผชิญสถานการณ์
 
ใบงาน วิชาสังคมศึกษา ป.5 หน่วยที่ 3
ใบงาน วิชาสังคมศึกษา ป.5 หน่วยที่ 3ใบงาน วิชาสังคมศึกษา ป.5 หน่วยที่ 3
ใบงาน วิชาสังคมศึกษา ป.5 หน่วยที่ 3
 
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 101 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc

หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
Proud N. Boonrak
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์nang_phy29
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
gam030
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
nattawad147
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Piyapong Chaichana
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
wanneemayss
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
nattawad147
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Theerayut Ponman
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
poppai041507094142
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
wanitchaya001
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
teerayut123
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
wanichaya kingchaikerd
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
benty2443
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
fernfielook
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
nattapong147
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
School curiculum
School curiculumSchool curiculum
School curiculum
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 

More from Prachoom Rangkasikorn

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
Prachoom Rangkasikorn
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
Prachoom Rangkasikorn
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 

More from Prachoom Rangkasikorn (20)

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
 

แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc

  • 1. 52 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ตัวเรา.......เป็นพลเมืองดี ระยะเวลาในการสอน......................ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำรงรักษา ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ป. 4/1 ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยในฐานะสมาชิกที่ดีของชุมชน ป. 4/2 ปฏิบัติตนในการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี ป. 4/3 วิเคราะห์สิทธิพื้นฐานที่เด็กทุกคนพึงได้รับตามกฎหมาย ป. 4/5 เสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในชีวิตประจำวัน ป. 5/1 ยกตัวอย่างและปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพ และหน้าที่ในฐานะพลเมืองดี ป. 5/2 เสนอวิธีการปกป้องคุ้มครองตนเองหรือผู้อื่นจากการละเมิดสิทธิเด็ก ป. 6/1 ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของครอบครัวและชุมชน มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธำรงรักษาไว้ซึ่งการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวชี้วัด ป. 4/1 อธิบายอำนาจอธิปไตยและความสำคัญของระบอบประชาธิปไตย ป. 4/2 อธิบายบทบาทหน้าที่ของพลเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี ตามวิถีประชาธิปไตยในฐานะสมาชิกที่ดีของชุมชน 2. อธิบายและยกตัวอย่างสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ในฐานะพลเมืองดีได้ 3. บอกและปฏิบัติตามกฎหมายพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ครอบครัว และชุมชนได้ 4. อธิบายสิทธิพื้นฐานที่เด็กทุกคนพึงได้รับการปกป้องคุ้มครองได้ 5. เสนอวิธีการปกป้อง คุ้มครองตนเอง หรือผู้อื่นจากการละเมิดสิทธิเด็กได้ 6. อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในสังคมไทย ในชุมชนได้ 7. อธิบายองค์ประกอบทางวัฒนธรรม และเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลาได้ 8. ปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี 9. บรรยายคุณค่าของวัฒนธรรมในภาคต่างๆ ของไทย ที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตของคนในสังคมชุมชนได้ 10. มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน
  • 2. 53 3. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง 1. คุณครูและนักเรียนร่วมสนทนาเกี่ยวกับข่าว เหตุการณ์บ้านเมือง และข่าวใน สังคม/ชุมชนของเรา 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มรายงานข่าวและเหตุการณ์จากหนังสือพิมพ์ที่เตรียมมาเกี่ยว กับการเมือง การปกครอง เช่น ข่าวการเลือกตั้งสมาชิกสภาตำบล จังหวัด หรือ ผู้ว่ากรุงเทพมหานคร – ผู้สมัครมีใครบ้าง มีคุณสมบัติอย่างไร – นักเรียนมีสิทธิเลือกตั้งหรือไม่ ควรทำอย่างไร – เปรียบเทียบความเจริญระหว่างจังหวัดกับจังหวัด อำเภอกับอำเภอ หรือ ประเทศกับประเทศ มีอาชีพ ความเป็นอยู่ ความเจริญแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด (ในการเปรียบเทียบไม่ควรใช้เงินหรือวัตถุเป็นหลัก พูดให้ ครอบคลุมคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม การปฏิบัติตามกฎระเบียบ กฎหมาย ฯลฯ อาจมองความสุขของคนในชุมชน/สังคมเป็นตัววัด) 3. ให้มีกิจกรรมนอกเวลา ช่วยกันรวบรวมข้อมูลในสังคม ชุมชน จังหวัด เช่น – ผู้สมัครลงเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดกรุงเทพมหานคร ส.ส. ส.จ. ส.ก. ส.ข. ในครั้งนี้ (ดูเหตุการณ์ใกล้เคียง) กี่คน – ผู้มีสิทธิเลือกตั้งกี่เปอร์เซ็นต์ ออกมาเลือกตั้งกี่เปอร์เซ็นต์ – มีเหตุการณ์ใดบ้างที่ประชาชนไม่พอใจรัฐบาล อ่านหนังสือพิมพ์แล้ว รวบรวม – แต่ละครั้งประชาชนออกมาชุมนุมคัดค้านกี่เปอร์เซ็นต์ อายุ อาชีพ และ รายได้ของชุมชนคัดค้าน (อันแสดงถึงความตื่นตัวทางการเมือง และใช้สิทธิ ตามรัฐธรรมนูญ) 4. ให้มีการรายงานผลจากการสำรวจข้อมูลแต่ละกลุ่มและอภิปรายตามหัวข้อ ดังนี้ 4.1 แนวโน้มของโลกปัจจุบัน คือ การมีระบบการเมืองแบบเปิด และเน้นการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 4.2 ความตื่นตัวของประชาชนทางการเมืองเนื่องจากการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และสื่อมวลชน เทคโนโลยีการสื่อสาร (เห็นได้จากกลุ่ม พันธมิตรประชาธิปไตย - ผู้เขียน) 4.3 เหตุการณ์ที่ผ่านมา 14 ตุลาคม 2516, 6 ตุลาคม 2519 และพฤษภาคม 2535 เป็นประวัติศาสตร์ที่คอยกระตุ้นความทรงจำกึ่งการต่อสู้และเสียสละชีวิต เลือดเนื้อ ปฏิบัติตามโรงเรียนต้นทาง ทบทวนความเป็นพลเมืองดี ตามวินัยชาวพุทธ หมวดหนึ่ง วางฐานชีวิตให้มั่น (ดูในแผนหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ตัวเรา) “วินัยที่ฝึกไว้ดีนี้ คือ อุดมมงคล” หมวดสอง “นำชีวิตให้ถึงจุดหมาย” ก. จุดหมาย 3 ขั้น ขั้นที่ 1 จุดหมายขั้นตาเห็น หรือประโยชน์ปัจจุบัน ก) สุขภาพดี ข) มีงาน มีเงิน ค) มีสถานภาพดี ง) มีครอบครัวผาสุก ทั้ง 4 นี้ พึงเกิดมีโดยธรรม และ ใช้ให้เป็นประโยชน์ทั้งแก่ตนและ ผู้อื่น ขั้นที่ 2 จุดหมาย ขั้นเลยตาเห็นหรือประโยชน์ เบื้องหน้า ก) มีความอบอุ่น ซาบซึ้ง สุขใจ ไม่อ้างว้าง เลื่อนลอย มีหลัก ยึดเหนี่ยวใจให้เข้มแข็งด้วย ศรัทธา ข) มีความภูมิใจในชีวิต สะอาดที่ ได้ประพฤติแต่การอันดีงาม ด้วยความสุจริต
  • 3. 54 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง 4.4 กระแสโลกาภิวัตน์ ทำให้ประเทศไทยมีการแปรเปลี่ยนทั้งโครงสร้างและ กายภาพ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจและการเมืองมีสูง การใช้อำนาจ เผด็จการแบบสังคมเกษตรจึงไร้ผลการแปรเปลี่ยนดังกล่าว 4.5 เทคโนโลยีการสื่อสารทำให้ปฏิบัติการของผู้อยู่ในอำนาจล้าสมัย การ บิดเบือนข่าวสารทำได้ยาก 4.6 การต่อต้านนายกรัฐมนตรี ที่ต้องการแก้รัฐธรรมนูญเพื่อพวกพ้อง ไม่ รักษาผลประโยชน์ส่วนรวม ฯลฯ อีกท่าทีอันแข็งกร้าวและเชื่อมั่นใน อำนาจยิ่งเป็นการยั่วยุ 4.7 ธรรมาภิบาล ธรรมะของผู้บริหารบ้านเมือง 4.8 พลังของประชาชน เช่น พันธมิตรประชาธิปไตย ฯลฯ 4.9 วิกฤติแห่งความน่าเชื่อถือ สื่อมวลชนของรัฐไม่เป็นกลาง 4.10 ความเชื่อแบบเก่าที่ว่าอำนาจสามารถสยบได้ ล้าสมัย ไม่ทันเหตุการณ์โลก ค) มีความอิ่มใจในชีวิต มีคุณค่า ที่ได้ทำประโยชน์ตลอดมา ด้วยน้ำใจ เสียสละ ง) มีความแกล้วกล้า มั่นใจที่จะ แก้ไขปัญหา นำชีวิตและ ภารกิจไปได้ด้วยปัญญา จ) มีความโล่งจิต มั่นใจ มีทุน ประกันภพใหม่ด้วยได้ทำไว้ แต่กรรมดี ขั้นที่ 3 จุดหมายสูงสุด หรือ ประโยชน์อย่างยิ่ง ก) ถึงถูกโลกธรรมกระทบ ถึงจะ 5. จัดกิจกรรมการเลือกตั้งประธาน/หัวหน้าชั้น และคณะกรรมการ ทำหน้าที่เพื่อ ส่วนรวม กำหนดบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน ให้คณะกรรมการประชุมร่วมกับ กลุ่มนักเรียนเพื่อวางแผนทำกิจกรรม บำเพ็ญประโยชน์ เพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ไม่น้อยกว่า 20 ชั่วโมง ต่อปี (ป. 4 - ป. 6 ไม่น้อยกว่า 60 ชั่วโมง) 6. กลุ่มนักเรียน ศึกษาสิทธิพื้นบ้านที่เด็กพึงได้รับการปกป้องคุ้มครอง รวบรวม ข้อมูลเด็กถูกกระทำจากชุมชน/สังคม/หนังสือพิมพ์ เป็นข้อมูลพื้นฐานที่ทุกคน ควรรู้ ป้องกันตนเอง เพื่อน และกลุ่มเด็กในชุมชน/สังคม – จัดนิทรรศการ อภิปราย ให้เพื่อนนักเรียนในโรงเรียนร่วมเรียนรู้ โดยมีครู เป็นพี่เลี้ยงและที่ปรึกษา 7. ศึกษา กิจกรรมในสังคม/ชุมชน วันสำคัญ ประเพณี และวัฒนธรรมต่างๆ – ศึกษาจากโทรทัศน์ ซีดี วีซีดี สื่อต่างๆ ตลอดจนทัศนศึกษานอกเวลา รวบรวมภาพ ข้อมูล กิจกรรม เชิญวิทยากรมาบรรยาย เพื่อศึกษาความแตก ต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในสังคม/ชุมชน ในประเทศไทย รวบรวมทำ โครงงาน จัดการแสดงร่วมกับกลุ่มสาระภาษาไทย และศิลปนาฏศิลป์ – จัดนิทรรศการ จัดถ่ายทำเป็นภาพและซีดี – ค้นคว้าและเขียนรายงานเกี่ยวกับประวัติวัฒนธรรม ประเพณีของคนไทย ภาคต่างๆ ตามเผ่าพันธุ์ และการนับถือศาสนา เน้นคุณค่าและผลต่อการดำรง ชีวิตในสังคม อภิปราย และจัดนิทรรศการ รวบรวมผลงานไว้เป็นเล่ม หรือ เป็นซีดี หรือทั้งสองแบบ 8. นักเรียนร่วมกันคิด และจัดกิจกรรมการแสดงนิทรรศการ ถ่ายภาพ เขียนข่าว ฯลฯ เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน/ของไทย พบความผันผวนปรวนแปรก็ ไม่หวั่นไหว มีใจเกษมศานต์ มั่นคง ข) ไม่ถูกความยึดติดถือมั่น บีบ คั้นจิต ไม่ผิดหวัง โศกเศร้า มี จิตโล่งโปร่งเบาเป็นอิสระ ค) สดชื่น เบิกบานใจ ผ่องใส ไร้ ทุกข์ มีความสุขที่แท้ ง) รู้เท่าทันและทำการตรงตาม เหตุปัจจัย ชีวิตหมดจดสดใส อยู่ด้วยปัญญา ข. จุดหมาย 3 ด้าน ด้านที่ 1 จุดหมายเพื่อตนหรือ ประโยชน์ตน ด้านที่ 2 จุดหมายเพื่อผู้อื่น หรือ ประโยชน์ผู้อื่น ด้านที่ 3 จุดหมายร่วมกัน หรือ ประโยชน์ทั้ง 2 ฝ่าย คือประโยชน์ สุขของสังคม จาก ธรรมนูญชีวิต พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
  • 4. 55 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง 8.1 นักเรียนร่วมกันเขียนผังความคิด (Mind Mapping) ดังนี้ :- อาจเขียนขยาย รายละเอียดให้มากขึ้นตามที่ศึกษา ค้นคว้ามาได้ พว. 8.2 นักเรียนศึกษา ค้นคว้า และรวบรวมภูมิปัญญาชาวบ้านในชุมชนของตน แล้วมารวบรวมเป็นภูมิปัญญาชาวหัวหิน เช่น ภูมิปัญญา – ด้านอาหาร – อาหารทะเล – ผลไม้กวน ฯลฯ – การแต่งกาย – ผ้าโขมพัสตร์ – การละเล่น – ระบำกะลา ฯลฯ 8.3 นักเรียนช่วยกันศึกษาองค์ประกอบของภูมิปัญญาชาวบ้าน แล้วเขียนผัง ความคิดติดบอร์ด คุณครูชวนสนทนาเพื่อให้นักเรียนสังเกต สนใจ ค้นคว้า โดยให้เด็กมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ จากการเห็นสิ่งของในบ้าน ฯลฯ ภูมิปัญญา ภูมิปัญญาชาวบ้าน ภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย ภาคใต้ และอื่นๆ ชาวหัวหิน ชาวล้านนา และอื่นๆ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ อาหารไทย เครื่องแต่งกายไทย ดนตรีไทย ภูมิปัญญาชาวบ้าน ประเพณีศาสนา การเคารพบูชา สิ่งเหนือความปกติ อยู่ร่วมกันในสังคม ด้านการทำมาหากิน การทำหัตถกรรม พื้นบ้าน — รดน้ำดำหัว — สู่ขวัญ — สืบชะตา — ผูกเสี่ยว — ผิดผีเสียผี — ไหว้ครู — ลงแขก การปรุงอาหาร และถนอมอาหาร — แหนมไส้อั่วหมูยอ — กุ้งแห้ง — แกงต่างๆ — น้ำพริก — ส้มตำ — กล้วยตากทุเรียนกวน — กะปิน้ำปลาปลาเค็ม ด้านสร้างสรรค์ ทางศิลปะ — ดนตรีพื้นเมือง — การแสดงพื้นเมือง — ลิเก — หมอลำ — หนังตะลุง — โนรา — โลหะ — ดินเผา — เครื่องไม้ — จักสาน — เครื่องทอ — การเกษตร — การสร้างฝาย — การสร้างเครื่องมือ เครื่องใช้ แนวผสมผสาน ทฤษฎีใหม่ ด้านสุขภาพอนามัย — อบตัว — นวด — ใช้ยาสมุนไพร
  • 5. 56 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ในการซักถาม ควรรวบรวมจากสิ่งที่นักเรียนสังเกตพบเห็น ในหมู่บ้าน ชุมชน (คือข้อย่อยก่อน จึงค่อยสรุปเป็นข้อใหญ่ เพื่อให้นักเรียนได้คิด : เน้นทักษะกระบวนการคิด) 9. เมื่อเรียนจบแต่ละชั่วโมง ให้นักเรียนช่วยกันคิดสรุป วิเคราะห์ ว่าสิ่ง/เรื่องต่างๆ เหล่านี้เกี่ยวข้องกับตัวเราอย่างไร ถ้าเราไม่ได้เกิดมาในชุมชนนี้ ประเทศไทยนี้ เราจะคิดใช้ชีวิตหรือมีความเป็นอยู่อย่างที่เป็นอยู่หรือไม่ ให้นักเรียนเปรียบ เทียบกับชนชาติอื่นในเอเชีย และทวีปอื่น เท่าที่มีประสบการณ์ การตั้งคำถาม เน้นการคิด วิเคราะห์ ความมีเหตุผล คิดในเชิงบวก คิดสร้างสรรค์ คิดอย่าง โยนิโสมนสิการ ภาคผนวก ชาวพุทธชั้นนำ ต้องมีความเข้มแข็งที่จะตั้งมั่นอยู่ในหลักธรรม ให้เป็นตัวอย่างแก่ชาวพุทธทั่วไป นอกจาก รักษา “วินัยชาวพุทธ” แล้ว ต้องมี อุบาสกธรรม 5 ดังนี้ 1. มีศรัทธา เชื่อ ประกอบด้วยปัญญา ไม่งมงาย ยึดมั่นในพระรัตนตรัย ไม่หวั่นไหว ไม่แกว่งไกว ถือธรรมเป็น ใหญ่และสูงสุด 2. มีศีล นอกจากตั้งอยู่ในศีล 5 และสัมมาอาชีพแล้ว ควรถือศีลอุโบสถตามกาลเพื่อพัฒนาตน ให้ชีวิตและ ความสุขพึ่งพาวัตถุน้อยลง ลดการเบียดเบียน และเกื้อกูลแก่ผู้อื่นได้มากขึ้น 3. ไม่ถือมงคล ตื่นข่าว เชื่อกรรม มุ่งหวังผลการกระทำด้วยเรี่ยวแรง ความเพียรพยายามตามเหตุผล ไม่ตื่นข่าว เล่าลือโชคลางเรื่องขลังมงคล ไม่หวังผลจากอำนาจดลบันดาล 4. ไม่แสวงหาพาหิรทักขิไณย์ ไม่ไขว่คว้าเขตบุญขุนคลังผู้วิเศษศักดิ์สิทธิ์ นอกหลักพระพุทธศาสนา 5. ขวนขวายในการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ใส่ใจริเริ่ม และสนับสนุนกิจกรรมการกุศล ตามหลักคำสอน ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (คัดบางตอนจาก ธรรมนูญชีวิต : พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ. ปยุตฺโต) _________________________________________
  • 6. 57 ภาคผนวก แผนผังหน้าที่พลเมือง หมายเหตุ หัวข้อจากผังมโนทัศน์ (Mind Mapping) หน่วย ตัวเรา ของภาคการศึกษาที่ 1 หน้าที่ สิทธิ การมีส่วนร่วม คุณธรรมของพ่อแม่/ครู คุณธรรมของผู้นำชุมชน คุณธรรมของผู้ปกครอง (ผู้นำ) – นักการเมือง คุณธรรมของตัวเรา หน้าที่ของนักเรียนต่อ ครอบครัว พ่อแม่ (ลูกที่ดี) หน้าที่และสิทธิของบุคคล ในครอบครัว อุดมการณ์และนักการเมือง การวิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสาร ของชุมชนและบ้านเมือง การมีส่วนร่วมของสมาชิก ในครอบครัว การมีส่วนร่วมของสมาชิก ในโรงเรียน การมีส่วนร่วมของสมาชิก ในชุมชน การเป็นพลเมืองดีตามวิถีชีวิต ประชาธิปไตย – ปฏิบัติ เคารพในกฎหมาย พว.
  • 7. 58 ภาคผนวก (สำหรับคุณครูผู้สอน) การเมืองไทยกับประชาธิปไตย ตั้งแต่ปฏิวัติปี 2475 เป็นต้นมา มีการกล่าวว่าประเทศไทยปกครองแบบระบอบประชาธิปไตย แต่จากข้อเท็จ จริงที่มีการรัฐประหาร การเปลี่ยนแปลงรัฐบาลโดยการยึดอำนาจ การเผด็จการในระบอบรัฐสภา (โดยอาศัยเสียงข้างมาก) เหล่านี้ล้วนแต่เป็นพฤติกรรมทางการเมือง ซึ่งผิดแนวระบอบประชาธิปไตย เหตุใดระบอบประชาธิปไตยจึงไม่ได้ผลอย่าง เต็มที่ในประเทศไทย ซึ่งจะต้องพิจารณาจากสภาพแวดล้อมต่างๆ อันได้แก่ โครงสร้างทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง รวมถึงสมาชิกของสังคม ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สำคัญที่สุด เพราะโครงสร้างดังกล่าวเกิดขึ้นจากน้ำมือมนุษย์ บทความนี้ จะไม่พูดถึงจุดดี หรือจุดบกพร่องของระบอบประชาธิปไตย และขอสันนิษฐานไว้ก่อนว่าระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์เป็นประมุข เป็นสิ่งที่ประเทศไทยต้องการ การมองหาสาเหตุที่ทำให้การปกครองแบบประชาธิปไตยไม่ได้ผลในประเทศไทย เราอาจมองเริ่มต้นจาก “เงื่อนไขที่จะทำให้ประชาธิปไตยได้ผลในทางปฏิบัติ” ซึ่งนักวิชาการตะวันตกได้เสนอแนวคิดเหล่านี้ไว้ โทมัส เจฟเฟอร์สัน กล่าวว่าประชาธิปไตยจะได้ผลดีในประเทศกสิกรรม ที่คนมีการศึกษาดี ส่วนแมกซ์ เวเบอร์ มีความเห็นว่า จะได้ผลในประเทศอุตสาหกรรม ข้อเท็จจริง ระบอบประชาธิปไตยมีอยู่ในทั้งสองระบบเศรษฐกิจ ในกรณีเฉพาะประเทศไทย การเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจจะมีส่วนอย่างมากต่อการเปลี่ยนแปลงการเมือง สังคม ทัศนคติ และค่านิยมของประชาชน เราลองปรับ “ทฤษฎี” เข้ากับข้อเท็จจริงของประเทศไทยว่าจะสอดคล้องกับเงื่อนไขที่สรุปได้หรือไม่ ถ้าไม่ได้จะหาทางแก้ไขได้อย่างไร 1. มรดกตกทอดจากระบบโบราณของไทย สภาพปัจจุบันเป็นผลจากอดีต ซึ่งเปลี่ยนแปลงเพียงบางส่วน จากความเจริญของยุคใหม่ เศรษฐกิจ สังคม และการปกครองปัจจุบัน ประกอบด้วยการกสิกรรมเป็นส่วนใหญ่ คนที่อยู่ในชนบทมีมาก กว่าสี่ในห้าของพลเมืองทั้งหมด คนที่อยู่ในเมืองและเมืองใหญ่ประกอบด้วยพ่อค้า นักธุรกิจ และข้าราชการ ซึ่งอาจจัด เป็นคนชั้นกลาง มีจำนวนไม่มากนัก พ่อค้าส่วนใหญ่เป็นคนจีน อินเดีย และอื่นๆ คนจีน (หรือคนไทยเชื้อสายจีน) เป็น นักการค้าที่มีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ ทัศนคติของคนไทย “โตขึ้นขอให้เป็นเจ้าคนนายคน” เป็นผลมาจากระบอบศักดินา ซึ่งเป็นช่องทางเคลื่อนไหว ทางสังคมที่สำคัญที่สุดในสมัยนั้น ชาวบ้านชาวนาก็อาจเป็นพระยาได้ ถ้าหากมีความสามารถพอ และรู้จักเล่นการเมือง นี่คือทฤษฎี เจ้านาย หรือข้าราชการ เป็นผู้มีอำนาจ และเกียรติยศ และคาดหวังให้คนทั่วไปปฏิบัติต่อตนเช่นนั้นสืบทอดมา จนปัจจุบัน การปฏิวัติในปี 2475 เป็นการโอนอำนาจการเมืองจากพระมหากษัตริย์ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปสู่ กลุ่มนักการเมืองและทหาร ประชาชนส่วนใหญ่ไม่ได้มีส่วนร่วมด้วย ทำให้เกิดเงื่อนไขสำคัญๆ เช่น ความรู้สึกเสมอภาค ความทัดเทียมในทางเศรษฐกิจ ความเจริญทางเศรษฐกิจ การมีวัฒนธรรมทางการเมืองที่สอดคล้องกับประชาธิปไตยขาด หายไป สภาพดังกล่าวย่อมยากแก่การเจริญเติบโตของระบอบประชาธิปไตยและง่ายต่อการคงอยู่ของระบอบเผด็จการ แบบ Authoritarianism
  • 8. 59 2. พุทธศาสนา และบุคลิก อุปนิสัยของคนไทย ศาสนามีบทบาทอย่างมากต่อความคิดของมนุษย์ และต่อทัศนคติที่มีต่อโลก และต่อสังคมที่อาศัยอยู่ ฯลฯ แมกซ์ เวเบอร์ มีความเห็นว่า ความเจริญในทางเศรษฐกิจแบบระบบนายทุนของตะวันตก เกิดจากศาสนาลัทธิ Calvinism นักวิชาการหลายท่านกล่าวว่า พุทธศาสนาทำให้คนเจริญทางเศรษฐกิจช้าลง ก่อให้เกิดอุปนิสัยแบบไทย (ซึ่ง เหมาะกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงมากกว่า - ผู้เรียบเรียง) เป็นการยากที่จะชี้ขาดลงไปว่าเพราะพุทธศาสนาหรือเพราะคน ไทยมีบุคลิกอุปนิสัยดังนี้อยู่แล้ว จึงรับพุทธศาสนิกายเถรวาทไว้เป็นปรัชญาชีวิตตน สถาบันการเมืองจึงเป็นสิ่งที่ไม่มี ความสำคัญพอ เพราะทุกคนมีตัวเองเป็นเครื่องกำหนดชีวิต โดยมีกรรมเป็นเครื่องชี้แนะ “ความดี” หรือ “กรรมดี” ทุกคนจึงมีความรับผิดชอบต่อตนเองโดยลำพัง ยอมทนต่อสภาพอันไม่ยุติธรรม หรือผิดหลักการ จนมีผู้กล่าว ว่าคนไทยมีลักษณะ Carefree ไม่ค่อยยินดียินร้ายต่อประโยชน์ส่วนตัวในระบบการเมือง ไม่ค่อยมีความรู้สึกปกป้องสิทธิ และความยุติธรรมทางการเมือง มีความเชื่อว่าสิ่งไม่ดีที่เกิดขึ้นจะเข้ารูปเข้ารอยเอง (Self-correcting) เพราะจักรวาลนี้มี กรรมเป็นสิ่งควบคุม บุคลิกอุปนิสัยของคนไทย คือ การสอดคล้องกันระหว่าง individualism กับ hierarchicalism คือความเป็นตัว ของตัวเอง กับการเคารพอาวุโสแบบยอมรับอำนาจ การเป็นตัวของตัวเองแบบไม่ผูกพัน ไม่รับผิดชอบต่อสถาบันของ สังคม ซึ่งเป็นหน่วยส่วนรวมหน่วยใหญ่ มุ่งแต่อิสระส่วนตัว แต่ขณะเดียวกันก็ประกอบด้วยการเคารพรับอำนาจแบบ ระบบอาวุโส ซึ่งคุณค่านิยมของสังคม ฯลฯ ไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกัน ดังนั้นระบบ hierachicalism ยังคง function อยู่ในสังคม ขณะเดียวกัน สังคมก็ยอมทนต่อความเป็นตัวของตัวเองแบบไทย ตราบเท่าที่ไม่เกิดการกระทบกระเทือนต่อ ระบบอันแรกจนเกินไป *ระบบ hierarchicalism มีส่วนเกี่ยวเนื่องจากระบบการปกครอง การอบรมในครอบครัว ในโรงเรียน และความ สัมพันธ์ในสังคม ส่วนความเป็นตัวเองแบบไทยนั้น อาจเป็นลักษณะดั้งเดิมของไทย หรืออาจเชื่อในหลักของกรรม 3. ทหาร และรัฐประหาร การเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปี 2475 ทำให้เกิดช่องว่างทางอำนาจการเมืองขึ้น ซึ่งถูกแทนที่โดยทหารซึ่งเป็น สถาบันที่มีความเจริญสูงในด้านองค์กร และเป็นปึกแผ่น เมื่อเกิดระส่ำระสายขึ้น ทหารจึงเป็นองค์กรเดียวที่พอจะรักษา เสถียรภาพไว้ได้ และในอดีตทหารมีบทบาทสำคัญในการรักษาเอกราชของชาติไทย ในสมัยหนึ่งองค์การทหารยังได้รับ การส่งเสริมให้เป็นปึกแผ่นยิ่งขึ้นจากประเทศสหรัฐอเมริกา 4. สรุป จากการวิเคราะห์เบื้องต้น พอสรุปได้ว่า การปกครองระบอบประชาธิปไตยไม่บรรลุผลในประเทศไทย เนื่องจากมรดกตกทอดของระบบการปกครองและโครงสร้างของสังคมในสมัยโบราณ โครงสร้างของเศรษฐกิจและ คุณค่านิยม และทัศนคติของประชาชน อันเนื่องมาจากการปกครอง การอบรมในครอบครัว ความสัมพันธ์ในทางสังคม ประกอบกับโลกทัศน์อันเป็นผลของศาสนาผนวกกับขาดสถาบันการเมืองที่เข้มแข็ง มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละเพื่อ ส่วนรวม และประเทศชาติโดยแท้จริง ช่วงโลกาภิวัตน์ เมื่อมีอำนาจกอบโกยผลประโยชน์ให้ตนเองและพรรคพวกโดยใช้ กฎหมายเป็นเครื่องมือ (ผู้เรียบเรียง)
  • 9. 60 ปัญหาการเมืองไทยในอนาคต การเมืองไทยในอนาคตจะมีลักษณะไม่คงตัว ปัญหาต่างๆ ที่รัฐบาลจะต้องประสบมีมากมาย การประคับ ประคองมิให้รัฐบาลล่มนั้นต้องได้ผู้มีความสามารถจริงๆ และต้องประกอบด้วยความร่วมมือจากประชาชน ความคาด หวังว่าจะได้อะไรต่ออะไรมากมายจากการปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้น ควรอยู่ในลักษณะมองความจริง ประชาธิปไตยมิใช่ยาวิเศษที่แก้ปัญหาเศรษฐกิจ ความยากจนได้ฉับพลัน แต่เป็นระบบการเมืองที่จะช่วยให้สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค และความยุติธรรมทางสังคม แต่ความแตกต่างในเรื่องฐานะความยากจนอาจจะแก้ไม่ได้ฉับพลัน รัฐบาล ในอนาคตจะต้องเป็นรัฐบาลที่กล้าหาญ ทำงานแข่งกับเวลา กล้าดำเนินนโยบายที่จะนำมาซึ่งความยุติธรรม แม้จะกระทบ กระทั่งผลประโยชน์คนบางกลุ่ม กล้าที่จะทำอะไรที่ไม่เคยทำมาก่อน เช่น อาจใช้ระบบสังคมนิยม เพื่อให้สวัสดิการแก่ ผู้เสียเปรียบ เก็บภาษีทางตรง เช่น ภาษีที่ดิน ฯลฯ เพื่อนำเงินไปพัฒนาประเทศเพื่อคนส่วนใหญ่ ไม่เน้นเฉพาะนโยบาย ประชานิยม แต่เน้นการฝึกอาชีพให้ประชาชนพึ่งพาตนเองได้ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และที่สำคัญอย่างยิ่งรัฐบาล ต้องบริหารประเทศด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต เพื่อประโยชน์ของประชาชนส่วนรวม และชาติบ้านเมือง ไม่ใช่เฉพาะ พรรคพวกส่วนตัว (ผู้เรียบเรียง) กิจกรรมที่ควรให้นักเรียนหาข้อมูลมารายงานเพื่อความเข้าใจ 1. การกระจายอำนาจและการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชนบท ก. ปัญหาและอุปสรรค ข. ข้อดี - ข้อเสีย ค. สาเหตุ ง. ผล 2. การแก้ปัญหาความคิดเห็นที่แตกต่างทางการเมือง ในสังคม ก. สาเหตุของปัญหา ข. วิธีการแก้ปัญหา ค. ธรรมาภิบาล ง. หลักธรรมข้อใดในพระพุทธศาสนาควรนำมาปฏิบัติ 3. ศึกษาจากประเทศเพื่อนบ้าน ในเอเชีย และเอเชียอาคเนย์ (Southeast Asia) ก. ประเทศที่มีความเจริญมั่นคงทางเศรษฐกิจ เพราะเหตุใด ข. ประเทศที่ไม่ร่ำรวยมั่งคั่ง แต่ประชาชนมีความสุข เพราะเหตุใด ค. ประเทศที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม ทั้งๆ ที่มีทรัพยากรจำนวนเพียงพอกับประชากร เพราะเหตุใด ง. สรุปความคิดเห็นของนักเรียนจากการศึกษาและเรียนรู้ จดบันทึกไว้เพื่อติดตามเหตุการณ์บ้านเมืองต่อไป หนังสืออุเทศน์ การเมือง การปกครองของไทย : ศ. ดร. ลิขิต ธีระเวคิน, 2549. _________________________________________
  • 10. 61 º—ß¡‚π∑—»πå°≈ÿà¡ “√–°“√‡√’¬π√Ÿâ —ߧ¡»÷°…“ »“ π“·≈–«—≤π∏√√¡ ™—Èπª√–∂¡»÷°…“ªï∑’Ë 4 - 6 ¿“§‡√’¬π∑’Ë 1 ªï°“√»÷°…“ 2554 Àπ૬°“√‡√’¬π√Ÿâ∑’Ë 1 μ—«‡√“ μ—«‡√“ ª.4 - 6 ¿“…“Õ—ß°ƒ… - °“√ π∑π“∑—°∑“¬ - §”»—æ∑凰’ˬ«°—∫μ—«‡√“ »‘≈ª– - «“¥¿“懰’ˬ«°—∫μ—«‡√“ - °“√‡¢’¬π Mind Map- ping μ°·μàß√–∫“¬ ’ ¿“…“‰∑¬ - Õ¿‘ª√“¬ 𔇠πÕº≈ß“π Àπâ“™—Èπ‡√’¬π -  ¡ÿ¥‡≈ࡇ≈Á°  ÿ¢»÷°…“ - °“√ÕÕ°°”≈—ß°“¬„π™’«‘μ ª√–®”«—π §≥‘μ»“ μ√å - °“√„™â®à“¬„π™’«‘μ ª√–®”«—π ¡Ÿ≈π‘∏‘°“√»÷°…“∑“߉°≈ºà“𥓫‡∑’¬¡  ß«π≈‘¢ ‘∑∏‘Ï
  • 11. 62 μ—«‡√“ 1. 1. μ—Èߧ”∂“¡∑’ˇ°’ˬ«°—∫μ—«‡√“ 2. ¥Ÿ¿“懰’ˬ«°—∫ªí≠À“¢Õßμ—«‡√“ 3.  π∑π“ Õ¿‘ª√“¬∂÷߇Àμÿ°“√≥åÀ√◊Õ ¢âÕ§«“¡∑’Ëπà“ π„® 4.  √â“ߧ”∂“¡‡°’ˬ«°—∫‡√◊ËÕßπ—ÈπÊ 5. π‘∑“π 6. ‡æ≈ß 2. 1. «‘‡§√“–Àå‡√◊ËÕß√“«‡°’ˬ«°—∫∫∑§«“¡ ¢âÕ§«“¡ªí≠À“ 2. ‡¢’¬π·ºπº—ߧ«“¡§‘¥‡°’ˬ«°—∫μ—«‡√“ ‡√◊ËÕß∑’ˇ°’ˬ«¢âÕß 3. ¡’°“√Õ¿‘ª√“¬¢âÕμà“ßÊ À√◊Õªí≠À“ ¢âÕ¡Ÿ≈∑’Ëπ—°‡√’¬πμâÕß°“√∑√“∫ 3. 1. „À⥟¿“æÀ√◊ÕVDOÀ√◊ÕVCDÀ√◊ÕÀ“∑’ˇ°’ˬ«¢âÕß 2. ¡’°“√«‘‡§√“–Àå„π‡√◊ËÕßμà“ßÊ ·¬°ÕÕ°¡“„Àâ™—¥‡®π 4. 1. À“¢âÕ¡Ÿ≈‡°’ˬ«°—∫∑âÕß∂‘Ëπ®“° ÀâÕß ¡ÿ¥ ∫ÿ§≈“°√ 2.  —¡¿“…≥å«‘∑¬“°√®“°∑âÕß∂‘Ëπ 3. §âπ§«â“¢âÕ¡Ÿ≈®“° Internet 5. - ∑”„∫ß“πμ“¡∑’˧√Ÿ°”Àπ¥ - ∑”·∫∫Ωñ°À—¥ - ∫—π∑÷°§«“¡√Ÿâ®“°°“√√à«¡°—π √ÿª - ∫—π∑÷°®“°°“√ —¡¿“…≥å 6. - √«∫√«¡¿“æÀ√◊Õ¢âÕ¡Ÿ≈ ¿“æ«“¥ π‘∑“π - ·øÑ¡º≈ß“ππ—°‡√’¬π - ·ºπº—ߧ«“¡§‘¥ 7. - π”¡“ª√–¬ÿ°μå - π—°‡√’¬π™◊Ëπ™¡º≈ß“π¢Õßμπ‡Õß·≈–‡æ◊ËÕπ - π”º≈ß“π¢Õßπ—°‡√’¬π¡“Õ¿‘ª√“¬ ·≈°‡ª≈’Ë¬π§«“¡√Ÿâ - 𔇠πÕ¢—ÈπμÕπ°“√∑”ß“πªí≠À“«‘∏’°“√ °“√𔉪„™â 8. - π”º≈ß“π¡“®—¥π‘∑√√»°“√ √“¬ß“π - ®—¥· ¥ßº≈ß“πÀπâ“™—Èπ‡√’¬π °“√«“ß·ºπ°“√®—¥°“√‡√’¬π√Ÿâ Àπ૬°“√‡√’¬π√Ÿâ∑’Ë 1 μ—«‡√“ ¡Ÿ≈π‘∏‘°“√»÷°…“∑“߉°≈ºà“𥓫‡∑’¬¡  ß«π≈‘¢ ‘∑∏‘Ï