SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
77
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย ระยะเวลาในการสอน....................ชั่วโมง
๑.	มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส ๕.๑	 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกัน
ในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุปและใช้ข้อมูลสารสนเทศอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด
ป. ๔/๓	 ใช้แผนที่อธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่ในจังหวัด
ป. ๕/๑	 รู้ตำ�แหน่ง (พิกัดภูมิศาสตร์ ละติจูด ลองติจูด) ระยะ ทิศทางของภูมิภาคของตนเอง
ป. ๕/๒	 ระบุลักษณะภูมิลักษณ์ที่สำ�คัญในภูมิภาคของตนเองในแผนที่
ป. ๕/๓	 อธิบายความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมในภูมิภาคของตนเอง
ป. ๖/๑	 ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์(แผนที่ภาพถ่ายชนิดต่างๆ)ระบุลักษณะสำ�คัญทางกายภาพและสังคมของ
ประเทศ
ป. ๖/๒	 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของประเทศ
มาตรฐาน ส ๕.๒	 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม มีจิตสำ�นึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ป. ๕/๑	 วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อลักษณะการตั้งถิ่นฐานและการย้ายถิ่นของ
ประชากรในภูมิภาค
ป. ๕/๒	 อธิบายอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่ก่อให้เกิดวิถีชีวิตและการสร้างสรรค์วัฒนธรรมใน
ภูมิภาค
ป. ๕/๓	 นำ�เสนอตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นผลจากการรักษาและการทำ�ลายสภาพแวดล้อม และเสนอแนวคิด
ในการักษาสภาพแวดล้อมในภูมิภาค
ป. ๖/๑	 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อมทางสังคมในประเทศ
ป. ๖/๒	 อธิบายการแปลงสภาพธรรมชาติในประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน และผลที่เกิดขึ้นจากการ
เปลี่ยนแปลงนั้น
ป.๔-๖
Untitled-1 77 9/13/11 1:41 PM
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
78
๒.	สาระสำ�คัญ
ลักษณะของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและสังคม ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์
สรุปและใช้ข้อมูลสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพในการท่องเที่ยว
๓.	จุดประสงค์การเรียนรู้
	 ๑.	 บอกและสนทนาเกี่ยวกับความเจริญยาวนานจากสุโขทัยถึงกรุงเทพฯ พร้อมทั้งค้นคว้าหาข้อมูลได้
	 ๒.	 สนทนา อภิปราย เกี่ยวกับความเจริญและสถานที่ท่องเที่ยวในภาคกลาง ภาคเหนือ และแหล่งวัฒนธรรม
ตลอดจนการเดินทางท่องเที่ยว และปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างสรรค์วัฒนธรรมไทยและท้องถิ่น
	 ๓.	 รู้จักและวิเคราะห์ผลงานสำ�คัญๆ ที่เกิดจากการสร้างสรรค์วัฒนธรรมในภาคต่างๆ และชุมชน
	 ๔.	 ฝึกสมาธิ บริหารจิต เพื่อเจริญปัญญา สมาธิ และบอกประโยชน์ในการปฏิบัติได้
	 ๕.	 บอกและอธิบาย บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ของพลเมืองดีได้
	 ๖.	 บอกและอธิบายข้อมูล ข่าวสาร เกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ได้
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 ๑.	 ร้องเพลง “ต้นตระกูลไทย” หรือเพลงเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย ฟังเพลง
ดูภาพดูวีดิทัศน์ซีดีเกี่ยวกับภาพในประวัติศาสตร์เหตุการณ์สำ�คัญๆในสมัย
ต่างๆ รวมทั้งภาพเหตุการณ์สำ�คัญๆ ในสมัยปัจจุบัน พระราชพิธีต่างๆ เช่น
พระราชพิธีแรกนาขวัญ ขบวนเสด็จทางชลมารค ฯลฯ
	 	 ครูซักถามนักเรียน ขณะดูภาพต่างๆ
	 	 –	 ประเทศไทยเรามีประวัติยาวนาน ตั้งแต่สมัยใด
	 	 –	 มีเหตุการณ์สำ�คัญๆ ใดบ้าง จงอธิบาย
	 	 –	 บ้านเมืองในสมัยสุโขทัยเป็นอย่างไรบ้าง เพราะเหตุใด
	 	 –	 พิธีลอยกระทงเกิดขึ้นในสมัยใด ปัจจุบันนี้เรายังอนุรักษ์ไว้หรือไม่ เพราะ
	 เหตุใด
	 	 –	 อาณาจักรล้านนา หมายถึงบริเวณส่วนใดของประเทศไทย/จังหวัดใดบ้าง
	 	 –	 วัฒนธรรมประเพณีไทย มีความสำ�คัญอย่างไร
	 	 –	 เหตุใดประเทศไทย จึงเป็นประเทศเอกราช
	 	 –	 เราเป็นคนไทย ควรมีหน้าที่ในการอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี อันดีงาม
	 อย่างไรบ้าง
	 	 –	 หน้าที่ในฐานะเป็นพลเมืองดี ควรมีอย่างไรบ้าง ฯลฯ
	 	 	 	 (การตั้งคำ�ถาม เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักประเทศไทยโดยภาพ ทั้งด้าน
ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณีต่างๆ เพื่อให้นักเรียนรู้ และ
สามารถอธิบายแก่คนต่างชาติได้)
–	 ปฏิบัติกิจกรรมเหมือนโรงเรียน
ต้นทาง
–	 ก่อนดูโทรทัศน์ คุณครูทบทวน
สาระสังคมตามหลักสูตรกลาง
Untitled-1 78 9/13/11 1:41 PM
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
79
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 	 	 	 ครูจึงควรใช้สื่อหลากหลายให้นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องราว โดยใช้การ
อธิบายให้น้อยให้ดูภาพฯลฯให้อ่านให้ศึกษาเรื่องราวครูมีหน้าที่ตั้งคำ�ถาม
ป้อนคำ�ถาม ให้เด็กคิด สังเกต เพื่อเกิดความเข้าใจ วิเคราะห์ สังเคราะห์ได้
พร้อมกันนั้นให้นักเรียนเกิดความเพลิดเพลิน อยากเรียนรู้ ไม่เบื่อหน่าย
	 	 	 	 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ต้องให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้
และประสบการณ์เกี่ยวกับความเป็นมาของตนเอง ของสังคม และของ
ประเทศชาติว่ามีวิวัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง และเปลี่ยนแปลงมาสู่ปัจจุบัน
อย่างไร มีความสามารถในการตีความ และอธิบายนัยสำ�คัญของเหตุการณ์
ปัญหา และแบบแผนการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เชิงประวัติศาสตร์ของประเทศ
และสังคมอื่น จากอดีตมาทำ�ความเข้าใจปัจจุบัน และที่จะเปลี่ยนแปลงใน
อนาคต)
	 ๒.	 กลุ่มนักเรียน ศึกษาเกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ในประเทศไทย ที่มีการ
ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
	 	 	 	 ให้เขียนแผนที่และแผนผังประกอบ ควรได้ศึกษาในทุกภาคของ
ประเทศไทย เพื่อให้เกิดความหลากหลาย และมีมุมมองที่เข้าใจ รู้จัก
ประเทศไทย ทั้งในด้านประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ สังคม ศิลปวัฒนธรรม
	 	 	 	 ให้กลุ่มนักเรียนได้ศึกษา และค้นคว้าจากห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุด
ชุมชนแหล่งบริการนักท่องเที่ยวอื่นๆก่อนไปศึกษาครูและนักเรียนร่วมกัน
วางแผนว่า ควรศึกษาเรื่องใดบ้าง จังหวัดใด ภาคใดของประเทศไทย เพื่อให้
ได้เนื้อหาครอบคลุมทั่วประเทศ และวางแผนหัวข้อที่ควรศึกษา เช่น
	 	 –	 สถานที่ใด ควรแก่การท่องเที่ยว
	 	 –	 อยู่ในจังหวัดใด ภาคใด
	 	 –	 เขียนแผนที่ประกอบ
	 	 –	 วัน เดือน ปี ที่ควรไปเที่ยว
	 	 	 	 เพื่อให้ตรงฤดูกาล เช่น การไปดูดอกทานตะวันที่จังหวัดสระบุรี หรือ
การ ไปดูพิธีทำ�บุญบั้งไฟทางภาคอีสาน จังหวัดใด จัดวันใด โดยติดตามจาก
การประชาสัมพันธ์
	 	 –	 เส้นทางการเดินทาง รถยนต์ รถไฟ เครื่องบิน
	 	 –	 กฎระเบียบ และวินัยของผู้ไปเที่ยวชมควรมีเพื่อความปลอดภัย เพื่อความ
	 สนุกสนานเพื่อให้ได้ความรู้ ฯลฯ
	 	 –	 การเดินทางควรศึกษาเรื่องใดไปล่วงหน้าควรศึกษาคู่มือการเดินทาง
	 ท่องเที่ยว ควรรู้ขนบธรรมเนียมประเพณี ฯลฯ
	 ๓.	 กลุ่มนักเรียนรายงานผลการศึกษาหน้าชั้นเรียนจัดป้ายนิเทศ หรือรายงาน
ต่อคณะนักเรียนทั้งโรงเรียนมีการซักถามอภิปรายเหตุผลตั้งข้อสังเกตและ
ให้ข้อคิดต่างๆ
–	 สารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๒๙
–	 กลุ่มนักเรียน รวบรวมผลดี ผล
เสีย จากการท่องเที่ยวในท้อง
ถิ่น/ชุมชน (สัมภาษณ์คนใน
ชุมชน)
–	 สรุปข้อคิดเห็นจะแก้ปัญหาการ
ท่องเที่ยวที่ทำ�ลายทรัพยากร
วัฒนธรรมอันดีงามในท้องถิ่น
ได้อย่างไร จงอธิบาย หาข้อเท็จ
จริงประกอบ
–	 หลักเศรษฐกิจพอเพียงจะช่วย
แก้ปัญหาแหล่งเสื่อมโทรมจาก
การท่องเที่ยวได้อย่างไร
Untitled-1 79 9/13/11 1:41 PM
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
80
–	 สารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๒๙
ความเดือดร้อนของชุมชน
–	 นักท่องเที่ยวจำ�นวนมาก
–	 การจราจรติดขัด
–	 เสียงรบกวน
–	 ค่าครองชีพสูง
–	 ครูตั้งคำ�ถามทั้งด้านบวก และ
ด้านลบ
–	 ทำ�อย่างไรทุกคนจึงจะตระหนัก
ถึงความสำ�คัญของสิ่งแวดล้อม
การศึกษาธรรมชาติใน
ป่าเขาใหญ่
–	 ศึกษารายละเอียดเส้นทาง
–	 เลือกเส้นทาง
–	 สอบถามเจ้าหน้าที่
–	 ถ้าทางไกลมาก ควรมี
เจ้าหน้าที่ไปด้วย
–	 เดินตามเส้นทางเท่านั้น
–	 อย่าเข้าใกล้สัตว์ป่า
–	 ไม่ส่งเสียงดัง
–	 ไม่ทำ�ลายธรรมชาติ
เบญจศีล - เบญจธรรม ศีล ๕ ข้อ
ควรเว้น
เบญจธรรม ข้อปฏิบัติอันดีงาม
๕ ประการ
	 	 	 ควรมีการบันทึกการรายงานลงสมุดรายงานเป็นสมุดเล่มเล็กหรือเล่มใหญ่
ตามความเหมาะสมเพื่อเป็นหลักฐานเผยแพร่และเป็นข้อมูลให้นักเรียนรุ่น
ต่อๆ ไปได้ค้นคว้าศึกษา
	 ๔.	 กลุ่มนักเรียนเขียนผังความคิด (Mind Mapping) เรื่องและหัวข้อเกี่ยวกับ
การท่องเที่ยวที่น่าสนใจ เช่น การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์การท่องเที่ยวเพื่อ
เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเพื่อศึกษาสิ่งแวดล้อม ฯลฯ
	 	 	 	 เมื่อแต่ละกลุ่มเขียนผังความคิดแล้วให้วิเคราะห์ดูว่าสิ่งที่อาจได้จากการ
ศึกษาเกี่ยวข้องกับภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อม ประวัติศาสตร์ สังคมศึกษา และ
วัฒนธรรมอย่างไรบ้าง
	 	 	 	 ให้กลุ่มร่วมกันอภิปรายจนเกิดข้อคิดสรุปให้ได้หัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
ต่อไปในส่วนลึก รายงานหน้าชั้น และอภิปรายซักถาม
	 ๕.	 แสดงบทบาทสมมติตามเรื่องที่วิเคราะห์อุปกรณ์ต่างๆ ในข้อ ๔ เพื่อให้
เข้าใจในประวัติศาสตร์สังคมศาสนาวัฒนธรรมของหัวข้อนั้นๆแสดงความ
ชื่นชมต่อกลุ่มที่แสดงได้ดี
	 	 	 	 (ในการแสดง ให้แต่กลุ่มเขียนบทสั้น เพื่อให้ผู้ดูเข้าใจ และเป็นบท
ประกอบการแสดงด้วย)
	 ๖.	 ฝึกสมาธิก่อนเรียนทุกชั่วโมง
	 	 ครูพยายามสอดแทรกข้อปฏิบัติ เป็นกฎกติกาที่ทุกคน ทุกกลุ่ม ควรปฏิบัติ
ตามหลักคุณธรรม จริยธรรม และควรประเมินพฤติกรรมนักเรียนรายกลุ่ม
รายคน ทุกชั่วโมง
Untitled-1 80 9/13/11 1:41 PM
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
81
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
–	 เมตตากรุณา
–	 สัมมาอาชีวะ
–	 ความสำ�รวมในกาม
–	 สัจจะ
–	 สติสัมปชัญญะ
วิธีการเรียนรู้
–	 สอดแทรกการปฏิบัติทุก
กิจกรรม/ชั่วโมงอภิปราย
แก้ปัญหา (โดยใช้สติฯ)
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ควร
เรียนรู้ ป่าอนุรักษ์ ซึ่งมี
๑.	 อุทยานแห่งชาติ ๘๒ แห่ง
พื้นที่ ๒๖ ล้านไร่เศษ และ
กำ�ลังดำ�เนินการอีก ๔๔ แห่ง
๒.	วนอุทยาน ๕๕ แห่ง
๓.	 สวนพฤกษศาสตร์
๔.	 สวนรุกขชาติ
๕.	พื้นที่มรดกโลก มี ๔ แห่งใน
ไทย
–	 เขียนแผนที่จังหวัดพระนคร-
ศรีอยุธยา
–	 สถานที่สำ�คัญในจังหวัด
–	 อุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา
เป็นมรดกโลก มีคุณสมบัติ ๓
ประการ ตามหลักเกณฑ์ คือ
	 ๑.	 มีคุณค่า ความสำ�คัญทาง
	 	 ชีวภาพ (ห้วยขาแข้ง)
	 ๒.	 มีลักษณะพิเศษเฉพาะตัว
	 	 ที่เป็นเอกลักษณ์ (จังหวัด
	 	 พระนครศรีอยุธยา, จังหวัด
	 	 สุโขทัย)
	 ๓.	 เป็นแหล่งอาศัยของสัตว์ป่า
	 	 พืชพรรณนานาชนิด
สถานที่น่าสนใจในจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา
	 	 	 	 ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวตามภาคต่างๆ ของ
ประเทศไทยนักเรียนควรแสวงความรู้ประสบการณ์ด้านสังคมศึกษาศาสนา
และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชุมชนสังคมที่มีวัฒนธรรมคล้ายคลึงและ
แตกต่างกัน มีการขัดเกลาทางสังคมทั้งทางตรงและทางอ้อม ในฐานะเป็น
สมาชิกที่อยู่ร่วมกัน อันมีบรรทัดฐานทางสังคม มีระบบค่านิยม ความเชื่อ
และประเพณีทางสังคม สถาบันต่างๆ ซึ่งมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมทางสังคม
รวมทั้งสามารถวิเคราะห์สภาพสังคม วัฒนธรรม และความเป็นอยู่ระหว่าง
สังคมไทยกับสังคมอื่นในโลก เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน
	 ๗.	 กลุ่มนักเรียนช่วยกันสร้างกรอบความคิดเกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียนรู้โดยเทคนิค
การจัดทำ�ผังความคิด ครูตั้งคำ�ถาม เช่น
	 	 –	 เมื่อกล่าวถึงเรื่องที่จะเรียนรู้ เกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวไทย นักเรียนนึกถึง
	 อะไรบ้าง
	 	 –	 นักเรียนช่วยกันอภิปรายและบอกสิ่งที่นับถือ ในขั้นตอนนี้จะไม่มีการ
	 ตรวจสอบคำ�ตอบของนักเรียนว่าถูกผิด เป็นการระดมสมอง และกระตุ้น
	 ให้นักเรียนตอบให้มากที่สุด ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการหาเนื้อหาที่จะ
	 เรียนรู้ต่อไป เช่น นักเรียนเลือกที่จะเรียนรู้เกี่ยวกับ “กรุงศรีอยุธยา”
	 ครูกำ�หนดให้ “กรุงศรีอยุธยา” เป็นหัวเรื่อง (theme) แล้วเขียนสิ่งต่างๆ
	 ที่นักเรียนคิดว่ามีสัมพันธ์กับกรุงศรีอยุธยา เป็นส่วนขยาย เช่น
	 	 กลุ่มนักเรียนช่วยกันรวมจัดกลุ่มหัวข้อที่คล้ายคลึงเข้าด้วยกัน แล้วตั้งชื่อ
กลุ่มหัวข้อนั้น เช่น
Untitled-1 81 9/13/11 1:41 PM
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
82
–	 ศูนย์กลางการเรียนรู้จังหวัด
	 พระนครศรีอยุธยา
–	 ศูนย์ท่องเที่ยวอยุธยา
–	 ศูนย์ศึกษาประวัติศาสตร์อยุธยา
–	 พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
	 เจ้าสามพระยา
–	 พระราชวังหลวง
–	 วังจันทรเกษม/วังหน้า
–	 วังหลัง
–	 วัดพระศรีสรรเพชญ์
–	 วิหารพระมงคลบพิตร
–	 วัดพระราม
–	 วัดมหาธาตุ
–	 วัดราชบูรณะ
–	 ฯลฯ
(จากคู่มือท่องเที่ยวพระนคร-
ศรีอยุธยา)
–	 สารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๒๙
	 หน้า ๘๑ ไทยมีวัฒนธรรม
	 ของชาติ และของท้องถิ่น
	 ที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง
–	 รายงานกิจกรรม/โครงงานเกี่ยว
กับการท่องเที่ยวที่ร.ร.จัดทำ�ให้
ร.ร.ต้นทาง เพื่อแลกเปลี่ยน -
เรียนรู้และเผยแพร่
	 	 จากการเขียนผังความคิด(MindMapping)เรื่องกรุงศรีอยุธยาก็จะได้ประเด็น
หลัก หรือหัวข้อที่จะเรียนรู้ ๘ เรื่อง คือ พระมหากษัตริย์ โบราณสถาน
วัฒนธรรมประเพณี ประวัติ ที่ตั้ง แม่นํ้า อาชีพ สัตว์เลี้ยง
	 	 	 	 ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น ๘ กลุ่ม ศึกษาตามหัวข้อเรื่อง อาจเขียนเป็น
ผังความคิด แต่ละหัวข้อและสืบค้นข้อมูลศึกษา จากอดีตจนถึงปัจจุบัน
วิเคราะห์ข้อย่อย เช่น
	 	 ให้แต่ละกลุ่มเขียนผังความคิดแต่ละหัวข้อ และศึกษาโดยละเอียด
	 	 ผู้แทนกลุ่มรายงานหน้าชั้นอภิปรายแสดงความคิดเห็นสรุปลงสมุดรายงาน
	 	 ร่วมกันร้องเพลง เกี่ยวกับอยุธยา ทำ�ท่าทางประกอบเพลง
		 หมายเหตุ แต่ละเรื่องและหัวข้อที่ต้องการศึกษาให้ดำ�เนินการสอนคล้ายๆ
กัน เพื่อศึกษารายละเอียดและสรุป ควรให้ดูภาพ อ่านหนังสือหลายๆ เล่ม
และอภิปรายร่วมกับครูผู้สอนเชิญวิทยากรผู้รู้มาบรรยายเป็นครั้งคราวหรือ
กำ�หนดให้ดูละคร “ฟ้าใหม่” หรือละครประวัติศาสตร์ แล้วมาอภิปราย ร่วม
กัน เพื่อแสดงความคิดเห็นและเรียนรู้ประวัติศาสตร์ สังคม ศิลปวัฒนธรรม
และความเป็นอยู่ของคนไทยในสมัยโบราณจนปัจจุบัน
	 ๘.	 บันทึกพฤติกรรมรายบุคคล / กลุ่ม วัดผลประเมินผล
w w w w w w w w
Untitled-1 82 9/13/11 1:41 PM
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
83
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย ระยะเวลาในการสอน....................ชั่วโมง
๑.	มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส ๕.๑	 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกัน
ในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุปและใช้ข้อมูลสารสนเทศอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด
ป. ๔/๓	 ใช้แผนที่อธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่ในจังหวัด
ป. ๕/๑	 รู้ตำ�แหน่ง (พิกัดภูมิศาสตร์ ละติจูด ลองจิจูด) ระยะ ทิศทางของภูมิภาคของตนเอง
ป. ๕/๒	 ระบุลักษณะภูมิลักษณ์ที่สำ�คัญในภูมิภาคของตนเองในแผนที่
ป. ๕/๓	 อธิบายความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมในภูมิภาคของตนเอง
ป. ๖/๑	 ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ (แผนที่ภาพถ่ายชนิดต่างๆ) ระบุลักษณะสำ�คัญทางกายภาพและสังคม
ของประเทศ
ป. ๖/๒	 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของประเทศ
มาตรฐาน ส ๕.๒	 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม มีจิตสำ�นึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ป. ๕/๑	 วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อลักษณะการตั้งถิ่นฐานและการย้ายถิ่นของ
ประชากรในภูมิภาค
ป. ๕/๒	 อธิบายอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่ก่อให้เกิดวิถีชีวิตและการสร้างสรรค์วัฒนธรรมใน
ภูมิภาค
ป. ๕/๓	 นำ�เสนอตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นผลจากการรักษาและการทำ�ลายสภาพแวดล้อม และเสนอแนวคิด
ในการรักษาสภาพแวดล้อมในภูมิภาค
ป. ๖/๑	 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อมทางสังคมในประเทศ
ป. ๖/๒	 อธิบายการแปลงสภาพธรรมชาติในประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน และผลที่เกิดขึ้นจากการ
เปลี่ยนแปลงนั้น
๒.	สาระสำ�คัญ
ลักษณะของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและสังคม ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์
สรุปและใช้ข้อมูลสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพในการท่องเที่ยว
ป.๔-๖
Untitled-1 83 9/13/11 1:41 PM
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
84
๓.	จุดประสงค์การเรียนรู้
	 ๑.	 บอกวัตถุประสงค์ของการท่องเที่ยวไทย และวางแผนการท่องเที่ยวใกล้ๆ ได้
	 ๒.	 รวบรวมข่าว ข้อมูล เกี่ยวกับการท่องเที่ยวและการเดินทางท่องเที่ยวไทยได้
	 ๓.	 ร่วมกับกลุ่มสาระภาษาไทยและกลุ่มสาระการงานอาชีพ และเทคโนโลยี จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์
ท่องเที่ยวชุมชนและมีการแสดงการละเล่นแบบไทยได้
	 ๔.	 ฝึกมรรยาทแบบไทยและสาธิตได้
	 ๕.	 ร่วมศาสนาพิธี พิธีกรรม วันสำ�คัญทางศาสนา
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
ฝึกสมาธิก่อนเรียนออกอากาศ
	 ๑.	 สนทนาอภิปรายเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการท่องเที่ยวทั่วไทยตามนโยบาย
ของรัฐบาลปัจจุบัน สรุปเขียนเป็นผังความคิด
	 ๒.	 ศึกษา ค้นคว้า สืบหาข้อมูล เกี่ยวกับการท่องเที่ยวและการเดินทางท่องเที่ยว
ไทยจากคู่มือไทยเที่ยวไทยหรือห้องสมุดโรงเรียน และชุมชน เขียนรายงาน
ส่งครู รายงานหน้าชั้น อภิปราย และช่วยกันสรุป
	 ๓.	 เขียนคำ�ขวัญ ข้อความประชาสัมพันธ์ การท่องเที่ยวในชุมชนหัวหินและ
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จัดป้ายนิเทศ คำ�ขวัญต่างๆ จัดประกวดคำ�ขวัญร่วม
กับภาษาไทย
	 ๔.	 ทำ�โครงงานเกี่ยวกับการละเล่นแบบไทย กีฬาพื้นเมืองไทยที่อาจส่งเสริมการ
ท่องเที่ยว โดยแบ่งกันจัดทำ�กลุ่มละโครงงาน โครงงานละเรื่อง กลุ่มรายงาน
หน้าชั้น ร่วมกันอภิปราย และสรุป
–	 ปฏิบัติกิจกรรมเหมือนโรงเรียน
ต้นทาง
วิธีการเรียนรู้
–	 ประชุมกลุ่ม
–	 ระดมสมอง
–	 เขียนผังความคิด
–	 ตอบคำ�ถาม
–	 จัดทำ�สมุดภาพ
–	 ปฏิบัติจริง
–	 ศึกษาค้นคว้า
–	 ทำ�โครงงาน
–	 เขียนแผนที่
–	 แสดงบทบาทสมมติ
–	 สาธิตมรรยาท
–	 เขียนแผนที่
ศึกษาเกี่ยวกับ :-
–	 การเล่นพื้นเมืองไทย
–	 เกมพื้นเมืองไทย
–	 กีฬาพื้นเมืองไทย
–	 ประเพณีต่างๆ ในท้องถิ่น
	 จัดทำ�ปฏิทิน : กิจกรรม
	 ประเพณี มีความสำ�คัญ
	 อย่างไร
Untitled-1 84 9/13/11 1:41 PM
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
85
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 ๕.	 เขียนแผนที่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ราชบุรี และจังหวัดใกล้เคียง
กลุ่มละ ๑ จังหวัด บอกสถานที่ท่องเที่ยวและเส้นทางคมนาคม จัดป้าย
นิเทศ และอธิบายให้นักเรียนในโรงเรียนและผู้สนใจทราบ
	 ๖.	 กลุ่มนักเรียนแสดงบทบาทสมมติเกี่ยวกับการละเล่นแบบไทยให้มีผู้บรรยาย
และรับฟังความคิดเห็นจากเพื่อนนักเรียน
	 ๗.	 กลุ่มนักเรียนสาธิตมรรยาทไทยโดยไปฝึกจากผู้รู้(อาจเป็นผู้ปกครองหรือครู)
และสาธิตในห้องเรียนหน้าแถวและเมื่อมีแขกมาเยี่ยมโรงเรียนให้กรรมการ
สถานศึกษาและผู้ปกครองชมรับฟังคำ�ติชมปรับปรุงแก้ไขร่วมทำ�โครงการ
“พี่สอนน้อง” ให้รุ่นพี่สอนให้น้องๆ ฝึกปฏิบัติหลังกล้อง และมีกิจกรรม
สาธิตออกอากาศเป็นครั้งคราว ตามปฏิทินปฏิบัติงาน
	 ๘.	 บันทึกพฤติกรรม วัดผล และประเมินผล
–	 อาหารในท้องถิ่น
	 วิธีปรุงอาหาร
	 วิธีรับประทาน
	 ประโยชน์
ผังความคิด
ให้กลุ่มนักเรียนศึกษาและทำ�โครงงานเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
w w w w w w w w
Untitled-1 85 9/13/11 1:41 PM
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
86
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย
เรื่อง การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ระยะเวลาในการสอน....................ชั่วโมง
๑.	มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส ๕.๑	 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกัน
ในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุปและใช้ข้อมูลสารสนเทศอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด
ป. ๔/๓	 ใช้แผนที่อธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่ในจังหวัด
ป. ๕/๑	 รู้ตำ�แหน่ง (พิกัดภูมิศาสตร์ ละติจูด ลองจิจูด) ระยะ ทิศทางของภูมิภาคของตนเอง
ป. ๕/๒	 ระบุลักษณะภูมิลักษณ์ที่สำ�คัญในภูมิภาคของตนเองในแผนที่
ป. ๕/๓	 อธิบายความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมในภูมิภาคของตนเอง
ป. ๖/๑	 ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์(แผนที่ภาพถ่ายชนิดต่างๆ)ระบุลักษณะสำ�คัญทางกายภาพและสังคมของ
ประเทศ
ป. ๖/๒	 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของประเทศ
มาตรฐาน ส ๕.๒	 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม มีจิตสำ�นึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ป. ๕/๑	 วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อลักษณะการตั้งถิ่นฐานและการย้ายถิ่นของ
ประชากรในภูมิภาค
ป. ๕/๒	 อธิบายอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่ก่อให้เกิดวิถีชีวิตและการสร้างสรรค์วัฒนธรรมใน
ภูมิภาค
ป. ๕/๓	 นำ�เสนอตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นผลจากการรักษาและการทำ�ลายสภาพแวดล้อม และเสนอแนวคิด
ในการรักษาสภาพแวดล้อมในภูมิภาค
ป. ๖/๑	 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อมทางสังคมในประเทศ
ป. ๖/๒	 อธิบายการแปลงสภาพธรรมชาติในประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน และผลที่เกิดขึ้นจากการ
เปลี่ยนแปลงนั้น
ป.๔-๖
Untitled-1 86 9/13/11 1:41 PM
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
87
๒.	สาระสำ�คัญ
ลักษณะของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและสังคม ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์
สรุปและใช้ข้อมูลสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพในการท่องเที่ยว
๓.	จุดประสงค์การเรียนรู้
	 ๑.	 แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ได้
	 ๒.	 ศึกษาและสำ�รวจแหล่งท่องเที่ยวที่สำ�คัญในชุมชนและในประเทศไทยได้
	 ๓.	 รู้จักวิเคราะห์และจำ�แนกระบบนิเวศน์
	 ๔.	 อธิบายแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ในประเทศไทยได้
	 ๕.	 เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ได้
	 ๖.	 ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี และปฏิบัติตนตามคำ�สั่งสอนของพระพุทธองค์
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 ๑.	 ร้องเพลง “รักกันไว้เถิด” หรือเพลงที่นักเรียนชอบ และสนใจ เหมาะสมกับ
บรรยากาศสนทนาและศึกษาจากภาพข่าวเกี่ยวกับการท่องเที่ยวโดยวิธีการ
ประชุมกลุ่ม ระดมสมอง เขียนผังความคิด ตั้งคำ�ถาม ตอบคำ�ถาม เช่น
	 	 –	 นักท่องเที่ยวในชุมชนของเรา มีมากขึ้น หรือน้อยลง
	 	 –	 เพราะเหตุใด
	 	 –	 นักเรียนคิดว่าการที่นักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้นดีต่อชุมชนของเราหรือไม่
	 	 –	 ถ้าดี ในด้านใดบ้าง ช่วยกันอธิบาย
	 	 –	 มีผลในด้านลบหรือไม่ เช่นด้านใดบ้าง ช่วยกันอภิปราย
	 	 –	 ผลในด้านลบนี้ เกิดขึ้นเพราะเหตุใด
	 	 –	 ถ้าเราซึ่งเป็นเจ้าของบ้านจะหาทางระมัดระวังและป้องกันโดยวิธีใดได้บ้าง
	 	 –	 ผลเสียจะลดลงหรือไม่ เพราะเหตุใด
	 	 (การตั้งคำ�ถามควรมีข่าวภาพเหตุการณ์ประกอบเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนคิด
ตาม โดยครูไม่ต้องบอก ควรเป็นภาพใกล้ตัว หรือเป็นจุดสนใจจากสื่อ)
	 ๒.	 กลุ่มนักเรียนช่วยกันเขียนผังความคิด เช่น
–	 ภาพการท่องเที่ยว
–	 เหตุการณ์จากหนังสือพิมพ์
–	 สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ
–	 เรื่องเล่าจากนักเรียน
จงรวบรวมรายชื่อต่อไปนี้
๑.	 อุทยานแห่งชาติ
	 (National Park)
๒.	วนอุทยาน (Nature Park หรือ
	 Forest Park)
๓.	สวนพฤกษศาสตร์
	 (Botanical garden)
๔.	สวนรุกขชาติ (Arboretum)
๕.	พื้นที่มรดกโลก
	 (World Heritage)
–	 จัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิง
นิเวศน์/ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ใน
ชุมชน/จังหวัดและรายงานเพื่อ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
กลุ่มนักเรียนศึกษาส่วนรวมแหล่ง
ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ เช่น
Untitled-1 87 9/13/11 1:41 PM
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
88
	 	 	 	 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย ข้อมูลที่ได้อาจน้อย/มากกว่าตัวอย่าง
ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ และการคิดวิเคราะห์
	 	 	 	 ในขณะที่คิด ครูให้หลักคิดอย่าง “โยนิโสมนสิการ” ไปด้วย ไม่ใช่คิด
สะเปะสะปะ
	 	 ถาม :	 –	 ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมในแหล่งท่องเที่ยวเกิดจากอะไร
	 	 บ้าง
	 	 	 –	 เราจะช่วยกันป้องกันได้หรือไม่ หรือเป็นหน้าที่ของเทศบาล
	 	 (อบต., อบจ. ฯลฯ) เท่านั้น
	 	 	 –	 เราจะช่วยกันป้องกันได้อย่างไร
	 	 	 –	 ใครบ้างที่ควรร่วมมือกันในเรื่องนี้
	 	 	 –	 นักเรียนเคยอ่านข่าวในหนังสือพิมพ์ ที่ท้องถิ่น, ชาวบ้าน เขา
	 	 ร่วมมือกันรักษาและป้องกันสิ่งแวดล้อม/แหล่งท่องเที่ยวตาม
	 	 ธรรมชาติหรือไม่
	 	 	 –	 ในจังหวัดของเรามีหรือไม่ ที่ใด
	 ๓.	 กลุ่มนักเรียนช่วยกันทำ�โครงงาน “สำ�รวจปัญหาของสิ่งแวดล้อมและแหล่ง
ท่องเที่ยวในชุมชนของเรา” (อาจใช้หัวข้ออื่นที่อยู่ในความสนใจก็ได้)
	 	 	 	 โครงงานประเภทนี้ เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสำ�รวจ และ
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แล้วนำ�ข้อมูลที่ได้มาจำ�แนกเป็น
หมวดหมู่ และนำ�เสนอในรูปแบบต่างๆ อย่างมีระบบ เช่น ตาราง แผนภูมิ
กราฟ  และอธิบายประกอบเพื่อให้เห็นลักษณะหรือความสัมพันธ์ของเรื่อง
ที่ศึกษาได้ชัดเจนขึ้น
	 	 	 	 การปฏิบัติโครงงานประเภทนี้ ผู้เรียนจะต้องไปศึกษารวบรวมข้อมูล
๑.	สถานีวิจัยโครงการหลวง
	 อินทนนท์ (เชียงใหม่)
	 –	 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร
	 	 •	 ไม้ดอก, แปลงผัก
	 	 •	 สวนไม้ผลเมืองหนาว
	 –	 แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
	 	 •	 อากาศ
	 	 •	 นํ้าตกสิริภูมิ
	 	 •	 เดินป่าศึกษาธรรมชาติ
	 –	 แหล่งท่องเที่ยวเชิง
	 	 วัฒนธรรม
	 	 •	 ชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง
	 	 	 ปลูกพืชไร่
	 	 •	 การเลี้ยงผีของชนเผ่าม้ง
	 –	 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง
	 	 ฯลฯ
–	 ศึกษาและรวบรวมข้อมูล
“ศักยภาพของประเทศไทย ใน
ด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์”
เช่น
	 •	 มีระบบนิเวศน์หลากหลาย
ตามภูมิภาคต่างๆ
	 •	 มีวิถีชีวิตและวัฒนธรรม
ชุมชนที่แตกต่างกัน
Untitled-1 88 9/13/11 1:41 PM
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
89
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
ด้วยวิธีการต่างๆเช่นสอบถามสัมภาษณ์สำ�รวจโดยใช้เครื่องมือเก็บรวบรวม
ข้อมูล เป็นแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก)
	 ๔.	 กลุ่มนักเรียนช่วยกันเขียนผังความคิดเช่น
	 	 ถาม: การท่องเที่ยวแบบใด ที่นักเรียนต้องการ
	 	 คำ�ว่า นิเวศน์ หมายถึง บ้านหรือที่อยู่อาศัย
	 	 	 	 การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยให้นิยามว่าการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์คือ
การเดินทางไปยังสถานที่ท่องเที่ยวแห่งใดแห่งหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
การศึกษา ชื่นชมและเพลิดเพลินไปกับทัศนียภาพธรรมชาติ สภาพสังคม
วัฒนธรรม และชีวิตของคนในท้องถิ่น บนพื้นฐานความรู้ และความรับผิด
ชอบต่อระบบนิเวศน์
	 	 ถาม:	 –	 จากการสำ�รวจปัญหาของสิ่งแวดล้อม และแหล่งท่องเที่ยว
	 	 	 	 นักเรียนพบปัญหาที่ร้ายแรงที่สุดและอื่นๆอย่างไรบ้างลองลำ�ดับ
	 	 ความสำ�คัญ/ความร้ายแรงของปัญหา
	 	 	 –	 เราเริ่มแก้ปัญหาอย่างไรดี
	 	 	 –	 เป็นหน้าที่ของใครบ้างที่ต้องร่วมกันแก้ปัญหา รัฐบาล? ท้องถิ่น?
	 	 เทศบาล? โรงเรียน?
	 	 	 –	 มีวิธีการป้องกันอย่างไรบ้าง
	 	 	 –	 นักเรียนจะช่วยได้อย่างไร
	 	 	 –	 เหตุใดนักเรียนต้องช่วยกันคิด และมีส่วนร่วม
	 	 	 –	 เราจะเริ่มทำ�อะไร อย่างไร จัดลำ�ดับงาน ก่อน - หลัง
	 	 	 –	 เราควรสร้างเครือข่ายร่วมทำ�งานดีหรือไม่
	 	 	 –	 ใครจะเป็นเครือข่ายของเราได้บ้าง (เพื่อนนักเรียนในชั้น/ห้องอื่น/
	 	 โรงเรียนอื่น/ผู้ปกครอง/ชุมชน)
	 	 	 –	 เราควรเริ่มเมื่อใด และควรมีระยะเวลาทำ�งานนานเท่าใด
	 	 	 –	 ควรมีการประเมินผลหรือไม่ อย่างไร
	 	 หลักการแนวคิด “การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน” (ควรใช้วิธีอภิปราย แสดง
ความคิดเห็นให้ได้ผังความคิด)
–	 ถามให้นักเรียนตอบ ให้หลาก
หลาย ก่อนสรุป
–	 มีความเป็นมิตรไมตรีของคนใน
ท้องถิ่น
ดูความหมายโดยละเอียด
จากสารานุกรมไทย เล่มที่ ๒๙
–	 กลุ่มนักเรียนรวบรวมแหล่ง
ท่องเที่ยวทางธรรมชาติในไทย
เช่น
	 •	 ถํ้า
	 •	 นํ้าตก
	 •	 หนอง บึง ทะเลสาบ
	 	 และอ่างเก็บนํ้า
	 •	 ป่าไม้ :– วนอุทยาน ฯลฯ
	 •	 แม่นํ้าลำ�คลอง
	 •	 ภูเขา
	 •	 ชายฝั่งทะเลและเกาะ
	 •	 นํ้าพุร้อน, โกรกธาร
	 	 โขดหิน สันเขา
	 	 ซากดึกดำ�บรรพ์
–	 จัดทำ�โครงงานตามคู่มือและส่ง
โรงเรียนต้นทางเพื่อแลกเปลี่ยน
เรียนรู้
Untitled-1 89 9/13/11 1:41 PM
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
90
	 	 อภิปรายสรุปว่า ควรมีนโยบายการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์อย่างไร
	 	 –	 เราควรมีนโยบายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์หรือไม่
	 	 –	 ควรมีอย่างไรบ้าง
	 	 –	 ใครควรมีส่วนในเรื่องนี้บ้าง เป็นหน้าที่ของใครบ้าง
	 	 –	 ถ้าเราทำ�ทุกอย่างแล้ว ยังไม่ดีขึ้น ในระบอบสังคมประชาธิปไตย ควรทำ�
	 อย่างไร (ควรเสนอ ออกแบบ...)
	 	 ร่วมกันเขียนผังความคิด
–	 จัดทำ�โครงงานเกี่ยวกับท่อง
เที่ยวเชิงนิเวศน์และท่องเที่ยว
เชิงอนุรักษ์ฯในชุมชนของท่าน
และแลกเปลี่ยนเรียนรู้
–	 ศึกษา วิเคราะห์การพัฒนา
รูปแบบของการท่องเที่ยวเชิง
นิเวศน์ เช่น
Untitled-1 90 9/13/11 1:41 PM
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
91
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
			 	 ผังความคิด (ก่อนเขียนควรรวบรวมข่าวจากหนังสือพิมพ์และข่าว
ท่องเที่ยว) ซึ่งเกี่ยวกับเศรษฐกิจ การศึกษา และสังคม)
	 ๕.	 กลุ่มนักเรียนช่วยกันวาดแผนที่ประเทศไทย ศึกษาลักษณะภูมิประเทศที่มี
ความสำ�คัญต่อการดำ�รงชีวิตของคนในท้องถิ่น และการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ของท้องถิ่น
	 	 	 	 ภูมิประเทศที่เป็นที่ราบที่ราบสูงเป็นภูเขาเหมาะแก่การตั้งถิ่นฐาน  และ
ทำ�มาหากินอย่างไร ประชากรมากน้อย เศรษฐกิจเป็นอย่างไร การคมนาคม
สะดวกหรือไม่ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติเป็นอย่างไร
	 	 –	 ฝึกให้นักเรียนใช้แผนที่ เรียนรู้ในเรื่องต่างๆ รวมทั้งแหล่งท่องเที่ยว
	 	 –	 แผนที่ที่ควรฝึกวาดและลงรายละเอียดที่สำ�คัญๆ ควรเป็นแผนที่ประเทศ
	 ไทย แผนที่ภูมิภาค แผนที่จังหวัด แผนที่ชุมชน และแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ
	 •	 การเดินเส้นทางธรรมชาติ
	 	 (Nature trail)
	 •	 การส่องสัตว์
	 •	 การดูนก ผีเสื้อ ค้างคาว
	 •	 การไต่หน้าผา
	 •	 การล่องแก่ง
	 •	 การพายเรือแคนู ฯลฯ
	 •	 การดำ�นํ้า
	 •	 การนั่งเรือ-แพชมธรรมชาติ
	 •	 การนั่งช้าง
	 •	 การชมสวนเกษตร
–	 วิเคราะห์โครงงานของชุมชน
(อบต., อบจ., จังหวัด) เกี่ยวกับ
การท่องเที่ยวว่าเป็นการท่อง
เที่ยวเชิงนิเวศน์/เชิงอนุรักษ์
หรือไม่ มีข้อเสนอแนะอย่างไร
จะให้เป็นการพัฒนาการท่อง
เที่ยวที่ยั่งยืน
	 •	 การขี่จักรยาน
	 •	 การกางเต็นท์พักแรม
	 •	 การพักแรมตามบ้าน
–	 วาดแผนที่ชุมชน จังหวัด
ประเทศไทยให้มีเครื่องหมาย
บอกภูมิประเทศได้
–	 กลุ่มนักเรียนศึกษาสถานที่ที่
ต้องระวังภัยจากคลื่นยักษ์,แผ่น
ดินไหว, นํ้าป่าไหลหลาก, แผ่น
ดินถล่มและยุบตัว ฯลฯ เช่น
ตามแหล่งนํ้าตกต่างๆประมาณ
๒๐๐ แห่ง
–	 เขียนบทความประชาสัมพันธ์
Untitled-1 91 9/13/11 1:41 PM
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
92
	 ๖.	 ให้กลุ่มเขียนรายงานประกอบเป็นการสรุปรายงานผลการดำ�เนินงานเพื่อให้
ผู้อื่นได้ทราบถึงแนวคิดวิธีดำ�เนินผลที่ได้รับตลอดจนข้อสรุปข้อเสนอแนะ
ต่างๆ ที่เกี่ยวกับโครงงาน
	 	 	 	 การเขียนรายงาน ควรใช้ภาษาที่อ่านเข้าใจง่าย ชัดเจน สั้น และตรงไป
ตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ
	 	 ๑)	 ส่วนนำ� เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้น ประกอบด้วย ชื่อ
	 โครงงาน ชื่อผู้ทำ�โครงงาน ที่ปรึกษา
	 	 ๒)	บทนำ� ประกอบด้วย
	 	 	 –	 ที่มาและความสำ�คัญของโครงงาน (อธิบายความสำ�คัญของโครงงาน
	 	 เหตุผลที่เลือกทำ�โครงงานนี้ หลักการ หรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ
	 	 โครงงาน)
	 	 	 –	 วัตถุประสงค์ของการศึกษา ค้นคว้า
	 	 	 –	 สมมติฐานของการศึกษา ค้นคว้า (ถ้ามี)
	 	 ๓)	วิธีการดำ�เนินงาน
	 	 	 –	 อธิบายขั้นตอนการดำ�เนินงาน
	 	 	 –	 ระบุวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้
	 	 ๔)	ผลการศึกษา ค้นคว้า สำ�รวจ
	 	 	 นำ�เสนอข้อมูลหรือผลการศึกษาต่างๆที่สังเกตศึกษารวบรวมได้รวมทั้ง
	 เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย
	 	 ๕)	สรุปและข้อเสนอแนะ
	 	 	 อธิบายสรุปผลที่ได้จากการทำ�งานการนำ�ผลที่ได้ไปใช้ประโยชน์อุปสรรค
	 ของการทำ�โครงงาน และข้อเสนอแนะ เพื่อการปรับปรุงแก้ไข
	 	 ๖)	 เอกสารอ้างอิง
	 	 	 รายชื่อหนังสือ เอกสารต่างๆ เว็บไซต์ที่ใช้อ้างอิงในการทำ�โครงงาน
	 ๗.	 เมื่อกลุ่มนักเรียนได้ศึกษาจากแผนที่ประเทศไทย จนทราบภูมิประเทศที่แตก
ต่างกัน
	 	 ครูตั้งคำ�ถาม ให้นักเรียนคิด (แบบหมวก ๖ ใบ)
	 	 –	 ประเทศไทยสามารถจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
	 อย่างไร
	 	 –	 ประเทศไทยมีระบบนิเวศน์ที่หลากหลายหรือไม่ อย่างไร (ดูตัวอย่างใน
	 ชุมชนของเรา)
	 	 –	 ประเทศไทยตั้งอยู่เขตใดของโลก/เส้นศูนย์สูตร (เขตป่าร้อนชื้น ใกล้
	 เส้นศูนย์สูตร ให้ดูจากแผนที่โลก)
	 	 –	 เขตป่าร้อนชื้นเป็นอย่างไร พืชพันธุ์ไม้เป็นอย่างไร มากน้อย หลากหลาย
และเสนอแนะการท่องเที่ยวใน
ชุมชน
–	 กลุ่มนักเรียนศึกษาพันธุ์ไม้ใน
ชุมชนหรือสัตว์ในระบบนิเวศน์
ป่าชายเลน
–	 ป่าชายเลนมีความสำ�คัญอย่างไร
–	 พืชในป่าชายเลนมีประมาณกี่
ชนิด
–	 ป่าชายเลนมีหน้าที่หลักอย่างไร
บ้าง
–	 สัตว์อะไรบ้างที่พบมากในป่า
ชายเลน
–	 สัตว์ในป่าชายเลนจัดสรรหน้าที่
และบทบาทอย่างไร
–	 สัตว์ทะเลหน้าดิน คืออะไร
	 (ค้นหาคำ�ตอบได้ในสารานุกรม
ไทย ฉบับเสริมการเรียนรู้
เล่ม ๕)
–	 ทำ�รายงานประกอบภาพเก็บไว้
ในห้องเรียน/ห้องสมุด
–	 กลุ่มนักเรียนศึกษารูปแบบและ
ความเป็นไปได้ว่า ในชุมชน
ของเรามีการพักแรมตามบ้าน
(Homestay) หรือไม่ มีความ
เป็นไปได้หรือไม่ ที่จะจัดให้มี
ถ้ามีควรประชาสัมพันธ์มายัง
โรงเรียนต้นทางเพื่อให้ทราบทั่ว
กัน
–	 คลื่นสึนามิ หรือสิ่งใดแน่ที่
ทำ�ลายป่าชายเลน กรุณาศึกษา  
หาคำ�ตอบ
–	 จงบอกประโยชน์ของสวน
พฤกษศาสตร์
	 •	 ในชุมชนของเราสามารถ
Untitled-1 92 9/13/11 1:41 PM
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
93
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 	 –	 เรามีระบบนิเวศน์ทางใดบ้าง (ทางบก ทะเล พื้นที่ชุ่มนํ้า เช่น ป่าชายเลน
	 พรุ ฯลฯ)
	 	 –	 ระบบนิเวศน์ทางทะเลและบริเวณชายฝั่งของเราอยู่ภาคใดบ้างเป็นอย่างไร
	 	 –	 ระบบนิเวศน์ทางบกของเรา มีภาคใดบ้าง เป็นอย่างไร
	 	 –	 วัฒนธรรมไทย น่าสนใจหรือไม่ อย่างไร
	 	 –	 ประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะชาวบ้านในท้องถิ่นต่างๆ เป็นอย่างไร
	 	 –	 นักเรียนชอบไปเที่ยวภาคใด ที่ใด เพราะเหตุใด
	 	 –	 นักเรียนคิดว่าประเทศเราควรมีการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์
	 หรือไม่ เพราะเหตุใด
	 	 –	 นักเรียนลองเสนอแหล่งท่องเที่ยวในชุมชน/ท้องถิ่นที่มีระบบนิเวศน์
	 สมบูรณ์ เพราะเหตุใด
	 	 –	 นักเรียนคิดว่า เราจะอนุรักษ์ไว้ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
	 	 –	 นักเรียนคิดว่า เราควรอนุรักษ์ไว้หรือไม่ เพราะเหตุใด ควรทำ�อย่างไรบ้าง
	 	 –	 ฯลฯ
	 	 กลุ่มนักเรียนช่วยกันเขียนแผนผังความคิด
	 สร้างสวนพฤกษศาสตร์ได้
	 หรือไม่
	 •	 ในโรงเรียนของเรามีการปลูก
	 ต้นไม้หรือไม่ อย่างไร
–	 กิจกรรมวาดภาพประกอบ
รายงานหรืออาจถ่ายภาพ
ประกอบ
–	 ความหมายของอุทยาน
ประวัติศาสตร์
	 ๑)	อาคารสถาปัตยกรรม ซาก
โบราณสถาน ฯลฯ
	 ๒)	 สภาพแวดล้อม เช่น
สระนํ้า คู คลอง ฯลฯ
	 ๓)	 การผสมผสานกันระหว่าง
การก่อสร้างของมนุษย์กับ
ธรรมชาติ
Untitled-1 93 9/13/11 1:41 PM
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
94
	 	 ผังความคิด
		ผังความคิด
Untitled-1 94 9/13/11 1:41 PM
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
95
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 ๘.	 การวัดผล ประเมินผล
	 	 –	 ประเมินจากการปฏิบัติจริง (การสังเกตและแสดงความคิดเห็น)
	 	 –	 ความรู้ความคิด และจิตสำ�นึกเชิงอนุรักษ์
	 	 –	 คุณภาพจริยภาพและความคิดเชิงสร้างสรรค์
	 	 –	 รู้จักและรักถิ่นเกิดและประเทศ
w w w w w w w w
Untitled-1 95 9/13/11 1:41 PM

More Related Content

What's hot

ภูมิศาสตร์ครูปานใจ
ภูมิศาสตร์ครูปานใจภูมิศาสตร์ครูปานใจ
ภูมิศาสตร์ครูปานใจkrupanjairs
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่ เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่ Tay Chaloeykrai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์Mam Chongruk
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socPrachoom Rangkasikorn
 

What's hot (16)

หน่วยที่๔
หน่วยที่๔หน่วยที่๔
หน่วยที่๔
 
ภูมิศาสตร์ครูปานใจ
ภูมิศาสตร์ครูปานใจภูมิศาสตร์ครูปานใจ
ภูมิศาสตร์ครูปานใจ
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
หน่วยที่๒
หน่วยที่๒หน่วยที่๒
หน่วยที่๒
 
เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่ เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่
 
หน่วยที่๗
หน่วยที่๗หน่วยที่๗
หน่วยที่๗
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc

แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-socPrachoom Rangkasikorn
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5sompriaw aums
 
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551ดอกหญ้า ธรรมดา
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้BiogangWichai Likitponrak
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้krupornpana55
 
มคอ.3 historical tourism
มคอ.3  historical tourismมคอ.3  historical tourism
มคอ.3 historical tourismchickyshare
 
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยสรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยkrunakhonch
 
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการณ์ ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_integrate
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการณ์ ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_integrateแผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการณ์ ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_integrate
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการณ์ ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_integratePrachoom Rangkasikorn
 
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_integrate
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_integrateแผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_integrate
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_integratePrachoom Rangkasikorn
 
แผนผังการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_integrate
แผนผังการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_integrateแผนผังการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_integrate
แผนผังการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_integratePrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socPrachoom Rangkasikorn
 
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรAor_1234
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai7515
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5
 
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
 
มคอ.3 historical tourism
มคอ.3  historical tourismมคอ.3  historical tourism
มคอ.3 historical tourism
 
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยสรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
 
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการณ์ ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_integrate
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการณ์ ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_integrateแผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการณ์ ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_integrate
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการณ์ ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_integrate
 
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_integrate
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_integrateแผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_integrate
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_integrate
 
แผนผังการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_integrate
แผนผังการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_integrateแผนผังการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_integrate
แผนผังการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_integrate
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
 
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
 
Buengtungsang learning
Buengtungsang learningBuengtungsang learning
Buengtungsang learning
 
5
55
5
 
Asean Lesson Plan
Asean Lesson PlanAsean Lesson Plan
Asean Lesson Plan
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 

More from Prachoom Rangkasikorn

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....Prachoom Rangkasikorn
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....Prachoom Rangkasikorn
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 

More from Prachoom Rangkasikorn (20)

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
 

แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc

  • 1. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 77 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย ระยะเวลาในการสอน....................ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกัน ในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุปและใช้ข้อมูลสารสนเทศอย่างมี ประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ป. ๔/๓ ใช้แผนที่อธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่ในจังหวัด ป. ๕/๑ รู้ตำ�แหน่ง (พิกัดภูมิศาสตร์ ละติจูด ลองติจูด) ระยะ ทิศทางของภูมิภาคของตนเอง ป. ๕/๒ ระบุลักษณะภูมิลักษณ์ที่สำ�คัญในภูมิภาคของตนเองในแผนที่ ป. ๕/๓ อธิบายความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมในภูมิภาคของตนเอง ป. ๖/๑ ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์(แผนที่ภาพถ่ายชนิดต่างๆ)ระบุลักษณะสำ�คัญทางกายภาพและสังคมของ ประเทศ ป. ๖/๒ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของประเทศ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ วัฒนธรรม มีจิตสำ�นึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ตัวชี้วัด ป. ๕/๑ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อลักษณะการตั้งถิ่นฐานและการย้ายถิ่นของ ประชากรในภูมิภาค ป. ๕/๒ อธิบายอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่ก่อให้เกิดวิถีชีวิตและการสร้างสรรค์วัฒนธรรมใน ภูมิภาค ป. ๕/๓ นำ�เสนอตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นผลจากการรักษาและการทำ�ลายสภาพแวดล้อม และเสนอแนวคิด ในการักษาสภาพแวดล้อมในภูมิภาค ป. ๖/๑ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อมทางสังคมในประเทศ ป. ๖/๒ อธิบายการแปลงสภาพธรรมชาติในประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน และผลที่เกิดขึ้นจากการ เปลี่ยนแปลงนั้น ป.๔-๖ Untitled-1 77 9/13/11 1:41 PM
  • 2. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 78 ๒. สาระสำ�คัญ ลักษณะของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและสังคม ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุปและใช้ข้อมูลสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพในการท่องเที่ยว ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. บอกและสนทนาเกี่ยวกับความเจริญยาวนานจากสุโขทัยถึงกรุงเทพฯ พร้อมทั้งค้นคว้าหาข้อมูลได้ ๒. สนทนา อภิปราย เกี่ยวกับความเจริญและสถานที่ท่องเที่ยวในภาคกลาง ภาคเหนือ และแหล่งวัฒนธรรม ตลอดจนการเดินทางท่องเที่ยว และปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างสรรค์วัฒนธรรมไทยและท้องถิ่น ๓. รู้จักและวิเคราะห์ผลงานสำ�คัญๆ ที่เกิดจากการสร้างสรรค์วัฒนธรรมในภาคต่างๆ และชุมชน ๔. ฝึกสมาธิ บริหารจิต เพื่อเจริญปัญญา สมาธิ และบอกประโยชน์ในการปฏิบัติได้ ๕. บอกและอธิบาย บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ของพลเมืองดีได้ ๖. บอกและอธิบายข้อมูล ข่าวสาร เกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ได้ ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๑. ร้องเพลง “ต้นตระกูลไทย” หรือเพลงเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย ฟังเพลง ดูภาพดูวีดิทัศน์ซีดีเกี่ยวกับภาพในประวัติศาสตร์เหตุการณ์สำ�คัญๆในสมัย ต่างๆ รวมทั้งภาพเหตุการณ์สำ�คัญๆ ในสมัยปัจจุบัน พระราชพิธีต่างๆ เช่น พระราชพิธีแรกนาขวัญ ขบวนเสด็จทางชลมารค ฯลฯ ครูซักถามนักเรียน ขณะดูภาพต่างๆ – ประเทศไทยเรามีประวัติยาวนาน ตั้งแต่สมัยใด – มีเหตุการณ์สำ�คัญๆ ใดบ้าง จงอธิบาย – บ้านเมืองในสมัยสุโขทัยเป็นอย่างไรบ้าง เพราะเหตุใด – พิธีลอยกระทงเกิดขึ้นในสมัยใด ปัจจุบันนี้เรายังอนุรักษ์ไว้หรือไม่ เพราะ เหตุใด – อาณาจักรล้านนา หมายถึงบริเวณส่วนใดของประเทศไทย/จังหวัดใดบ้าง – วัฒนธรรมประเพณีไทย มีความสำ�คัญอย่างไร – เหตุใดประเทศไทย จึงเป็นประเทศเอกราช – เราเป็นคนไทย ควรมีหน้าที่ในการอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี อันดีงาม อย่างไรบ้าง – หน้าที่ในฐานะเป็นพลเมืองดี ควรมีอย่างไรบ้าง ฯลฯ (การตั้งคำ�ถาม เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักประเทศไทยโดยภาพ ทั้งด้าน ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณีต่างๆ เพื่อให้นักเรียนรู้ และ สามารถอธิบายแก่คนต่างชาติได้) – ปฏิบัติกิจกรรมเหมือนโรงเรียน ต้นทาง – ก่อนดูโทรทัศน์ คุณครูทบทวน สาระสังคมตามหลักสูตรกลาง Untitled-1 78 9/13/11 1:41 PM
  • 3. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 79 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ครูจึงควรใช้สื่อหลากหลายให้นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องราว โดยใช้การ อธิบายให้น้อยให้ดูภาพฯลฯให้อ่านให้ศึกษาเรื่องราวครูมีหน้าที่ตั้งคำ�ถาม ป้อนคำ�ถาม ให้เด็กคิด สังเกต เพื่อเกิดความเข้าใจ วิเคราะห์ สังเคราะห์ได้ พร้อมกันนั้นให้นักเรียนเกิดความเพลิดเพลิน อยากเรียนรู้ ไม่เบื่อหน่าย สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ต้องให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ และประสบการณ์เกี่ยวกับความเป็นมาของตนเอง ของสังคม และของ ประเทศชาติว่ามีวิวัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง และเปลี่ยนแปลงมาสู่ปัจจุบัน อย่างไร มีความสามารถในการตีความ และอธิบายนัยสำ�คัญของเหตุการณ์ ปัญหา และแบบแผนการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เชิงประวัติศาสตร์ของประเทศ และสังคมอื่น จากอดีตมาทำ�ความเข้าใจปัจจุบัน และที่จะเปลี่ยนแปลงใน อนาคต) ๒. กลุ่มนักเรียน ศึกษาเกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ในประเทศไทย ที่มีการ ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ให้เขียนแผนที่และแผนผังประกอบ ควรได้ศึกษาในทุกภาคของ ประเทศไทย เพื่อให้เกิดความหลากหลาย และมีมุมมองที่เข้าใจ รู้จัก ประเทศไทย ทั้งในด้านประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ สังคม ศิลปวัฒนธรรม ให้กลุ่มนักเรียนได้ศึกษา และค้นคว้าจากห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุด ชุมชนแหล่งบริการนักท่องเที่ยวอื่นๆก่อนไปศึกษาครูและนักเรียนร่วมกัน วางแผนว่า ควรศึกษาเรื่องใดบ้าง จังหวัดใด ภาคใดของประเทศไทย เพื่อให้ ได้เนื้อหาครอบคลุมทั่วประเทศ และวางแผนหัวข้อที่ควรศึกษา เช่น – สถานที่ใด ควรแก่การท่องเที่ยว – อยู่ในจังหวัดใด ภาคใด – เขียนแผนที่ประกอบ – วัน เดือน ปี ที่ควรไปเที่ยว เพื่อให้ตรงฤดูกาล เช่น การไปดูดอกทานตะวันที่จังหวัดสระบุรี หรือ การ ไปดูพิธีทำ�บุญบั้งไฟทางภาคอีสาน จังหวัดใด จัดวันใด โดยติดตามจาก การประชาสัมพันธ์ – เส้นทางการเดินทาง รถยนต์ รถไฟ เครื่องบิน – กฎระเบียบ และวินัยของผู้ไปเที่ยวชมควรมีเพื่อความปลอดภัย เพื่อความ สนุกสนานเพื่อให้ได้ความรู้ ฯลฯ – การเดินทางควรศึกษาเรื่องใดไปล่วงหน้าควรศึกษาคู่มือการเดินทาง ท่องเที่ยว ควรรู้ขนบธรรมเนียมประเพณี ฯลฯ ๓. กลุ่มนักเรียนรายงานผลการศึกษาหน้าชั้นเรียนจัดป้ายนิเทศ หรือรายงาน ต่อคณะนักเรียนทั้งโรงเรียนมีการซักถามอภิปรายเหตุผลตั้งข้อสังเกตและ ให้ข้อคิดต่างๆ – สารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๒๙ – กลุ่มนักเรียน รวบรวมผลดี ผล เสีย จากการท่องเที่ยวในท้อง ถิ่น/ชุมชน (สัมภาษณ์คนใน ชุมชน) – สรุปข้อคิดเห็นจะแก้ปัญหาการ ท่องเที่ยวที่ทำ�ลายทรัพยากร วัฒนธรรมอันดีงามในท้องถิ่น ได้อย่างไร จงอธิบาย หาข้อเท็จ จริงประกอบ – หลักเศรษฐกิจพอเพียงจะช่วย แก้ปัญหาแหล่งเสื่อมโทรมจาก การท่องเที่ยวได้อย่างไร Untitled-1 79 9/13/11 1:41 PM
  • 4. กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 80 – สารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๒๙ ความเดือดร้อนของชุมชน – นักท่องเที่ยวจำ�นวนมาก – การจราจรติดขัด – เสียงรบกวน – ค่าครองชีพสูง – ครูตั้งคำ�ถามทั้งด้านบวก และ ด้านลบ – ทำ�อย่างไรทุกคนจึงจะตระหนัก ถึงความสำ�คัญของสิ่งแวดล้อม การศึกษาธรรมชาติใน ป่าเขาใหญ่ – ศึกษารายละเอียดเส้นทาง – เลือกเส้นทาง – สอบถามเจ้าหน้าที่ – ถ้าทางไกลมาก ควรมี เจ้าหน้าที่ไปด้วย – เดินตามเส้นทางเท่านั้น – อย่าเข้าใกล้สัตว์ป่า – ไม่ส่งเสียงดัง – ไม่ทำ�ลายธรรมชาติ เบญจศีล - เบญจธรรม ศีล ๕ ข้อ ควรเว้น เบญจธรรม ข้อปฏิบัติอันดีงาม ๕ ประการ ควรมีการบันทึกการรายงานลงสมุดรายงานเป็นสมุดเล่มเล็กหรือเล่มใหญ่ ตามความเหมาะสมเพื่อเป็นหลักฐานเผยแพร่และเป็นข้อมูลให้นักเรียนรุ่น ต่อๆ ไปได้ค้นคว้าศึกษา ๔. กลุ่มนักเรียนเขียนผังความคิด (Mind Mapping) เรื่องและหัวข้อเกี่ยวกับ การท่องเที่ยวที่น่าสนใจ เช่น การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์การท่องเที่ยวเพื่อ เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเพื่อศึกษาสิ่งแวดล้อม ฯลฯ เมื่อแต่ละกลุ่มเขียนผังความคิดแล้วให้วิเคราะห์ดูว่าสิ่งที่อาจได้จากการ ศึกษาเกี่ยวข้องกับภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อม ประวัติศาสตร์ สังคมศึกษา และ วัฒนธรรมอย่างไรบ้าง ให้กลุ่มร่วมกันอภิปรายจนเกิดข้อคิดสรุปให้ได้หัวข้อเรื่องที่จะศึกษา ต่อไปในส่วนลึก รายงานหน้าชั้น และอภิปรายซักถาม ๕. แสดงบทบาทสมมติตามเรื่องที่วิเคราะห์อุปกรณ์ต่างๆ ในข้อ ๔ เพื่อให้ เข้าใจในประวัติศาสตร์สังคมศาสนาวัฒนธรรมของหัวข้อนั้นๆแสดงความ ชื่นชมต่อกลุ่มที่แสดงได้ดี (ในการแสดง ให้แต่กลุ่มเขียนบทสั้น เพื่อให้ผู้ดูเข้าใจ และเป็นบท ประกอบการแสดงด้วย) ๖. ฝึกสมาธิก่อนเรียนทุกชั่วโมง ครูพยายามสอดแทรกข้อปฏิบัติ เป็นกฎกติกาที่ทุกคน ทุกกลุ่ม ควรปฏิบัติ ตามหลักคุณธรรม จริยธรรม และควรประเมินพฤติกรรมนักเรียนรายกลุ่ม รายคน ทุกชั่วโมง Untitled-1 80 9/13/11 1:41 PM
  • 5. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 81 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – เมตตากรุณา – สัมมาอาชีวะ – ความสำ�รวมในกาม – สัจจะ – สติสัมปชัญญะ วิธีการเรียนรู้ – สอดแทรกการปฏิบัติทุก กิจกรรม/ชั่วโมงอภิปราย แก้ปัญหา (โดยใช้สติฯ) การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ควร เรียนรู้ ป่าอนุรักษ์ ซึ่งมี ๑. อุทยานแห่งชาติ ๘๒ แห่ง พื้นที่ ๒๖ ล้านไร่เศษ และ กำ�ลังดำ�เนินการอีก ๔๔ แห่ง ๒. วนอุทยาน ๕๕ แห่ง ๓. สวนพฤกษศาสตร์ ๔. สวนรุกขชาติ ๕. พื้นที่มรดกโลก มี ๔ แห่งใน ไทย – เขียนแผนที่จังหวัดพระนคร- ศรีอยุธยา – สถานที่สำ�คัญในจังหวัด – อุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา เป็นมรดกโลก มีคุณสมบัติ ๓ ประการ ตามหลักเกณฑ์ คือ ๑. มีคุณค่า ความสำ�คัญทาง ชีวภาพ (ห้วยขาแข้ง) ๒. มีลักษณะพิเศษเฉพาะตัว ที่เป็นเอกลักษณ์ (จังหวัด พระนครศรีอยุธยา, จังหวัด สุโขทัย) ๓. เป็นแหล่งอาศัยของสัตว์ป่า พืชพรรณนานาชนิด สถานที่น่าสนใจในจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวตามภาคต่างๆ ของ ประเทศไทยนักเรียนควรแสวงความรู้ประสบการณ์ด้านสังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชุมชนสังคมที่มีวัฒนธรรมคล้ายคลึงและ แตกต่างกัน มีการขัดเกลาทางสังคมทั้งทางตรงและทางอ้อม ในฐานะเป็น สมาชิกที่อยู่ร่วมกัน อันมีบรรทัดฐานทางสังคม มีระบบค่านิยม ความเชื่อ และประเพณีทางสังคม สถาบันต่างๆ ซึ่งมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมทางสังคม รวมทั้งสามารถวิเคราะห์สภาพสังคม วัฒนธรรม และความเป็นอยู่ระหว่าง สังคมไทยกับสังคมอื่นในโลก เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน ๗. กลุ่มนักเรียนช่วยกันสร้างกรอบความคิดเกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียนรู้โดยเทคนิค การจัดทำ�ผังความคิด ครูตั้งคำ�ถาม เช่น – เมื่อกล่าวถึงเรื่องที่จะเรียนรู้ เกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวไทย นักเรียนนึกถึง อะไรบ้าง – นักเรียนช่วยกันอภิปรายและบอกสิ่งที่นับถือ ในขั้นตอนนี้จะไม่มีการ ตรวจสอบคำ�ตอบของนักเรียนว่าถูกผิด เป็นการระดมสมอง และกระตุ้น ให้นักเรียนตอบให้มากที่สุด ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการหาเนื้อหาที่จะ เรียนรู้ต่อไป เช่น นักเรียนเลือกที่จะเรียนรู้เกี่ยวกับ “กรุงศรีอยุธยา” ครูกำ�หนดให้ “กรุงศรีอยุธยา” เป็นหัวเรื่อง (theme) แล้วเขียนสิ่งต่างๆ ที่นักเรียนคิดว่ามีสัมพันธ์กับกรุงศรีอยุธยา เป็นส่วนขยาย เช่น กลุ่มนักเรียนช่วยกันรวมจัดกลุ่มหัวข้อที่คล้ายคลึงเข้าด้วยกัน แล้วตั้งชื่อ กลุ่มหัวข้อนั้น เช่น Untitled-1 81 9/13/11 1:41 PM
  • 6. กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 82 – ศูนย์กลางการเรียนรู้จังหวัด พระนครศรีอยุธยา – ศูนย์ท่องเที่ยวอยุธยา – ศูนย์ศึกษาประวัติศาสตร์อยุธยา – พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา – พระราชวังหลวง – วังจันทรเกษม/วังหน้า – วังหลัง – วัดพระศรีสรรเพชญ์ – วิหารพระมงคลบพิตร – วัดพระราม – วัดมหาธาตุ – วัดราชบูรณะ – ฯลฯ (จากคู่มือท่องเที่ยวพระนคร- ศรีอยุธยา) – สารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๒๙ หน้า ๘๑ ไทยมีวัฒนธรรม ของชาติ และของท้องถิ่น ที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง – รายงานกิจกรรม/โครงงานเกี่ยว กับการท่องเที่ยวที่ร.ร.จัดทำ�ให้ ร.ร.ต้นทาง เพื่อแลกเปลี่ยน - เรียนรู้และเผยแพร่ จากการเขียนผังความคิด(MindMapping)เรื่องกรุงศรีอยุธยาก็จะได้ประเด็น หลัก หรือหัวข้อที่จะเรียนรู้ ๘ เรื่อง คือ พระมหากษัตริย์ โบราณสถาน วัฒนธรรมประเพณี ประวัติ ที่ตั้ง แม่นํ้า อาชีพ สัตว์เลี้ยง ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น ๘ กลุ่ม ศึกษาตามหัวข้อเรื่อง อาจเขียนเป็น ผังความคิด แต่ละหัวข้อและสืบค้นข้อมูลศึกษา จากอดีตจนถึงปัจจุบัน วิเคราะห์ข้อย่อย เช่น ให้แต่ละกลุ่มเขียนผังความคิดแต่ละหัวข้อ และศึกษาโดยละเอียด ผู้แทนกลุ่มรายงานหน้าชั้นอภิปรายแสดงความคิดเห็นสรุปลงสมุดรายงาน ร่วมกันร้องเพลง เกี่ยวกับอยุธยา ทำ�ท่าทางประกอบเพลง หมายเหตุ แต่ละเรื่องและหัวข้อที่ต้องการศึกษาให้ดำ�เนินการสอนคล้ายๆ กัน เพื่อศึกษารายละเอียดและสรุป ควรให้ดูภาพ อ่านหนังสือหลายๆ เล่ม และอภิปรายร่วมกับครูผู้สอนเชิญวิทยากรผู้รู้มาบรรยายเป็นครั้งคราวหรือ กำ�หนดให้ดูละคร “ฟ้าใหม่” หรือละครประวัติศาสตร์ แล้วมาอภิปราย ร่วม กัน เพื่อแสดงความคิดเห็นและเรียนรู้ประวัติศาสตร์ สังคม ศิลปวัฒนธรรม และความเป็นอยู่ของคนไทยในสมัยโบราณจนปัจจุบัน ๘. บันทึกพฤติกรรมรายบุคคล / กลุ่ม วัดผลประเมินผล w w w w w w w w Untitled-1 82 9/13/11 1:41 PM
  • 7. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 83 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย ระยะเวลาในการสอน....................ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกัน ในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุปและใช้ข้อมูลสารสนเทศอย่างมี ประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ป. ๔/๓ ใช้แผนที่อธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่ในจังหวัด ป. ๕/๑ รู้ตำ�แหน่ง (พิกัดภูมิศาสตร์ ละติจูด ลองจิจูด) ระยะ ทิศทางของภูมิภาคของตนเอง ป. ๕/๒ ระบุลักษณะภูมิลักษณ์ที่สำ�คัญในภูมิภาคของตนเองในแผนที่ ป. ๕/๓ อธิบายความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมในภูมิภาคของตนเอง ป. ๖/๑ ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ (แผนที่ภาพถ่ายชนิดต่างๆ) ระบุลักษณะสำ�คัญทางกายภาพและสังคม ของประเทศ ป. ๖/๒ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของประเทศ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ วัฒนธรรม มีจิตสำ�นึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ตัวชี้วัด ป. ๕/๑ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อลักษณะการตั้งถิ่นฐานและการย้ายถิ่นของ ประชากรในภูมิภาค ป. ๕/๒ อธิบายอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่ก่อให้เกิดวิถีชีวิตและการสร้างสรรค์วัฒนธรรมใน ภูมิภาค ป. ๕/๓ นำ�เสนอตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นผลจากการรักษาและการทำ�ลายสภาพแวดล้อม และเสนอแนวคิด ในการรักษาสภาพแวดล้อมในภูมิภาค ป. ๖/๑ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อมทางสังคมในประเทศ ป. ๖/๒ อธิบายการแปลงสภาพธรรมชาติในประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน และผลที่เกิดขึ้นจากการ เปลี่ยนแปลงนั้น ๒. สาระสำ�คัญ ลักษณะของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและสังคม ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุปและใช้ข้อมูลสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพในการท่องเที่ยว ป.๔-๖ Untitled-1 83 9/13/11 1:41 PM
  • 8. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 84 ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. บอกวัตถุประสงค์ของการท่องเที่ยวไทย และวางแผนการท่องเที่ยวใกล้ๆ ได้ ๒. รวบรวมข่าว ข้อมูล เกี่ยวกับการท่องเที่ยวและการเดินทางท่องเที่ยวไทยได้ ๓. ร่วมกับกลุ่มสาระภาษาไทยและกลุ่มสาระการงานอาชีพ และเทคโนโลยี จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ ท่องเที่ยวชุมชนและมีการแสดงการละเล่นแบบไทยได้ ๔. ฝึกมรรยาทแบบไทยและสาธิตได้ ๕. ร่วมศาสนาพิธี พิธีกรรม วันสำ�คัญทางศาสนา ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ฝึกสมาธิก่อนเรียนออกอากาศ ๑. สนทนาอภิปรายเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการท่องเที่ยวทั่วไทยตามนโยบาย ของรัฐบาลปัจจุบัน สรุปเขียนเป็นผังความคิด ๒. ศึกษา ค้นคว้า สืบหาข้อมูล เกี่ยวกับการท่องเที่ยวและการเดินทางท่องเที่ยว ไทยจากคู่มือไทยเที่ยวไทยหรือห้องสมุดโรงเรียน และชุมชน เขียนรายงาน ส่งครู รายงานหน้าชั้น อภิปราย และช่วยกันสรุป ๓. เขียนคำ�ขวัญ ข้อความประชาสัมพันธ์ การท่องเที่ยวในชุมชนหัวหินและ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จัดป้ายนิเทศ คำ�ขวัญต่างๆ จัดประกวดคำ�ขวัญร่วม กับภาษาไทย ๔. ทำ�โครงงานเกี่ยวกับการละเล่นแบบไทย กีฬาพื้นเมืองไทยที่อาจส่งเสริมการ ท่องเที่ยว โดยแบ่งกันจัดทำ�กลุ่มละโครงงาน โครงงานละเรื่อง กลุ่มรายงาน หน้าชั้น ร่วมกันอภิปราย และสรุป – ปฏิบัติกิจกรรมเหมือนโรงเรียน ต้นทาง วิธีการเรียนรู้ – ประชุมกลุ่ม – ระดมสมอง – เขียนผังความคิด – ตอบคำ�ถาม – จัดทำ�สมุดภาพ – ปฏิบัติจริง – ศึกษาค้นคว้า – ทำ�โครงงาน – เขียนแผนที่ – แสดงบทบาทสมมติ – สาธิตมรรยาท – เขียนแผนที่ ศึกษาเกี่ยวกับ :- – การเล่นพื้นเมืองไทย – เกมพื้นเมืองไทย – กีฬาพื้นเมืองไทย – ประเพณีต่างๆ ในท้องถิ่น จัดทำ�ปฏิทิน : กิจกรรม ประเพณี มีความสำ�คัญ อย่างไร Untitled-1 84 9/13/11 1:41 PM
  • 9. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 85 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๕. เขียนแผนที่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ราชบุรี และจังหวัดใกล้เคียง กลุ่มละ ๑ จังหวัด บอกสถานที่ท่องเที่ยวและเส้นทางคมนาคม จัดป้าย นิเทศ และอธิบายให้นักเรียนในโรงเรียนและผู้สนใจทราบ ๖. กลุ่มนักเรียนแสดงบทบาทสมมติเกี่ยวกับการละเล่นแบบไทยให้มีผู้บรรยาย และรับฟังความคิดเห็นจากเพื่อนนักเรียน ๗. กลุ่มนักเรียนสาธิตมรรยาทไทยโดยไปฝึกจากผู้รู้(อาจเป็นผู้ปกครองหรือครู) และสาธิตในห้องเรียนหน้าแถวและเมื่อมีแขกมาเยี่ยมโรงเรียนให้กรรมการ สถานศึกษาและผู้ปกครองชมรับฟังคำ�ติชมปรับปรุงแก้ไขร่วมทำ�โครงการ “พี่สอนน้อง” ให้รุ่นพี่สอนให้น้องๆ ฝึกปฏิบัติหลังกล้อง และมีกิจกรรม สาธิตออกอากาศเป็นครั้งคราว ตามปฏิทินปฏิบัติงาน ๘. บันทึกพฤติกรรม วัดผล และประเมินผล – อาหารในท้องถิ่น วิธีปรุงอาหาร วิธีรับประทาน ประโยชน์ ผังความคิด ให้กลุ่มนักเรียนศึกษาและทำ�โครงงานเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ w w w w w w w w Untitled-1 85 9/13/11 1:41 PM
  • 10. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 86 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย เรื่อง การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ระยะเวลาในการสอน....................ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกัน ในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุปและใช้ข้อมูลสารสนเทศอย่างมี ประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ป. ๔/๓ ใช้แผนที่อธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่ในจังหวัด ป. ๕/๑ รู้ตำ�แหน่ง (พิกัดภูมิศาสตร์ ละติจูด ลองจิจูด) ระยะ ทิศทางของภูมิภาคของตนเอง ป. ๕/๒ ระบุลักษณะภูมิลักษณ์ที่สำ�คัญในภูมิภาคของตนเองในแผนที่ ป. ๕/๓ อธิบายความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมในภูมิภาคของตนเอง ป. ๖/๑ ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์(แผนที่ภาพถ่ายชนิดต่างๆ)ระบุลักษณะสำ�คัญทางกายภาพและสังคมของ ประเทศ ป. ๖/๒ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของประเทศ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ วัฒนธรรม มีจิตสำ�นึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ตัวชี้วัด ป. ๕/๑ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อลักษณะการตั้งถิ่นฐานและการย้ายถิ่นของ ประชากรในภูมิภาค ป. ๕/๒ อธิบายอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่ก่อให้เกิดวิถีชีวิตและการสร้างสรรค์วัฒนธรรมใน ภูมิภาค ป. ๕/๓ นำ�เสนอตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นผลจากการรักษาและการทำ�ลายสภาพแวดล้อม และเสนอแนวคิด ในการรักษาสภาพแวดล้อมในภูมิภาค ป. ๖/๑ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อมทางสังคมในประเทศ ป. ๖/๒ อธิบายการแปลงสภาพธรรมชาติในประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน และผลที่เกิดขึ้นจากการ เปลี่ยนแปลงนั้น ป.๔-๖ Untitled-1 86 9/13/11 1:41 PM
  • 11. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 87 ๒. สาระสำ�คัญ ลักษณะของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและสังคม ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุปและใช้ข้อมูลสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพในการท่องเที่ยว ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ได้ ๒. ศึกษาและสำ�รวจแหล่งท่องเที่ยวที่สำ�คัญในชุมชนและในประเทศไทยได้ ๓. รู้จักวิเคราะห์และจำ�แนกระบบนิเวศน์ ๔. อธิบายแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ในประเทศไทยได้ ๕. เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ได้ ๖. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี และปฏิบัติตนตามคำ�สั่งสอนของพระพุทธองค์ ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๑. ร้องเพลง “รักกันไว้เถิด” หรือเพลงที่นักเรียนชอบ และสนใจ เหมาะสมกับ บรรยากาศสนทนาและศึกษาจากภาพข่าวเกี่ยวกับการท่องเที่ยวโดยวิธีการ ประชุมกลุ่ม ระดมสมอง เขียนผังความคิด ตั้งคำ�ถาม ตอบคำ�ถาม เช่น – นักท่องเที่ยวในชุมชนของเรา มีมากขึ้น หรือน้อยลง – เพราะเหตุใด – นักเรียนคิดว่าการที่นักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้นดีต่อชุมชนของเราหรือไม่ – ถ้าดี ในด้านใดบ้าง ช่วยกันอธิบาย – มีผลในด้านลบหรือไม่ เช่นด้านใดบ้าง ช่วยกันอภิปราย – ผลในด้านลบนี้ เกิดขึ้นเพราะเหตุใด – ถ้าเราซึ่งเป็นเจ้าของบ้านจะหาทางระมัดระวังและป้องกันโดยวิธีใดได้บ้าง – ผลเสียจะลดลงหรือไม่ เพราะเหตุใด (การตั้งคำ�ถามควรมีข่าวภาพเหตุการณ์ประกอบเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนคิด ตาม โดยครูไม่ต้องบอก ควรเป็นภาพใกล้ตัว หรือเป็นจุดสนใจจากสื่อ) ๒. กลุ่มนักเรียนช่วยกันเขียนผังความคิด เช่น – ภาพการท่องเที่ยว – เหตุการณ์จากหนังสือพิมพ์ – สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ – เรื่องเล่าจากนักเรียน จงรวบรวมรายชื่อต่อไปนี้ ๑. อุทยานแห่งชาติ (National Park) ๒. วนอุทยาน (Nature Park หรือ Forest Park) ๓. สวนพฤกษศาสตร์ (Botanical garden) ๔. สวนรุกขชาติ (Arboretum) ๕. พื้นที่มรดกโลก (World Heritage) – จัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิง นิเวศน์/ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ใน ชุมชน/จังหวัดและรายงานเพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กลุ่มนักเรียนศึกษาส่วนรวมแหล่ง ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ เช่น Untitled-1 87 9/13/11 1:41 PM
  • 12. กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 88 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย ข้อมูลที่ได้อาจน้อย/มากกว่าตัวอย่าง ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ และการคิดวิเคราะห์ ในขณะที่คิด ครูให้หลักคิดอย่าง “โยนิโสมนสิการ” ไปด้วย ไม่ใช่คิด สะเปะสะปะ ถาม : – ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมในแหล่งท่องเที่ยวเกิดจากอะไร บ้าง – เราจะช่วยกันป้องกันได้หรือไม่ หรือเป็นหน้าที่ของเทศบาล (อบต., อบจ. ฯลฯ) เท่านั้น – เราจะช่วยกันป้องกันได้อย่างไร – ใครบ้างที่ควรร่วมมือกันในเรื่องนี้ – นักเรียนเคยอ่านข่าวในหนังสือพิมพ์ ที่ท้องถิ่น, ชาวบ้าน เขา ร่วมมือกันรักษาและป้องกันสิ่งแวดล้อม/แหล่งท่องเที่ยวตาม ธรรมชาติหรือไม่ – ในจังหวัดของเรามีหรือไม่ ที่ใด ๓. กลุ่มนักเรียนช่วยกันทำ�โครงงาน “สำ�รวจปัญหาของสิ่งแวดล้อมและแหล่ง ท่องเที่ยวในชุมชนของเรา” (อาจใช้หัวข้ออื่นที่อยู่ในความสนใจก็ได้) โครงงานประเภทนี้ เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสำ�รวจ และ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แล้วนำ�ข้อมูลที่ได้มาจำ�แนกเป็น หมวดหมู่ และนำ�เสนอในรูปแบบต่างๆ อย่างมีระบบ เช่น ตาราง แผนภูมิ กราฟ และอธิบายประกอบเพื่อให้เห็นลักษณะหรือความสัมพันธ์ของเรื่อง ที่ศึกษาได้ชัดเจนขึ้น การปฏิบัติโครงงานประเภทนี้ ผู้เรียนจะต้องไปศึกษารวบรวมข้อมูล ๑. สถานีวิจัยโครงการหลวง อินทนนท์ (เชียงใหม่) – แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร • ไม้ดอก, แปลงผัก • สวนไม้ผลเมืองหนาว – แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ • อากาศ • นํ้าตกสิริภูมิ • เดินป่าศึกษาธรรมชาติ – แหล่งท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรม • ชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง ปลูกพืชไร่ • การเลี้ยงผีของชนเผ่าม้ง – ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง ฯลฯ – ศึกษาและรวบรวมข้อมูล “ศักยภาพของประเทศไทย ใน ด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์” เช่น • มีระบบนิเวศน์หลากหลาย ตามภูมิภาคต่างๆ • มีวิถีชีวิตและวัฒนธรรม ชุมชนที่แตกต่างกัน Untitled-1 88 9/13/11 1:41 PM
  • 13. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 89 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ด้วยวิธีการต่างๆเช่นสอบถามสัมภาษณ์สำ�รวจโดยใช้เครื่องมือเก็บรวบรวม ข้อมูล เป็นแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก) ๔. กลุ่มนักเรียนช่วยกันเขียนผังความคิดเช่น ถาม: การท่องเที่ยวแบบใด ที่นักเรียนต้องการ คำ�ว่า นิเวศน์ หมายถึง บ้านหรือที่อยู่อาศัย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยให้นิยามว่าการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์คือ การเดินทางไปยังสถานที่ท่องเที่ยวแห่งใดแห่งหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ การศึกษา ชื่นชมและเพลิดเพลินไปกับทัศนียภาพธรรมชาติ สภาพสังคม วัฒนธรรม และชีวิตของคนในท้องถิ่น บนพื้นฐานความรู้ และความรับผิด ชอบต่อระบบนิเวศน์ ถาม: – จากการสำ�รวจปัญหาของสิ่งแวดล้อม และแหล่งท่องเที่ยว นักเรียนพบปัญหาที่ร้ายแรงที่สุดและอื่นๆอย่างไรบ้างลองลำ�ดับ ความสำ�คัญ/ความร้ายแรงของปัญหา – เราเริ่มแก้ปัญหาอย่างไรดี – เป็นหน้าที่ของใครบ้างที่ต้องร่วมกันแก้ปัญหา รัฐบาล? ท้องถิ่น? เทศบาล? โรงเรียน? – มีวิธีการป้องกันอย่างไรบ้าง – นักเรียนจะช่วยได้อย่างไร – เหตุใดนักเรียนต้องช่วยกันคิด และมีส่วนร่วม – เราจะเริ่มทำ�อะไร อย่างไร จัดลำ�ดับงาน ก่อน - หลัง – เราควรสร้างเครือข่ายร่วมทำ�งานดีหรือไม่ – ใครจะเป็นเครือข่ายของเราได้บ้าง (เพื่อนนักเรียนในชั้น/ห้องอื่น/ โรงเรียนอื่น/ผู้ปกครอง/ชุมชน) – เราควรเริ่มเมื่อใด และควรมีระยะเวลาทำ�งานนานเท่าใด – ควรมีการประเมินผลหรือไม่ อย่างไร หลักการแนวคิด “การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน” (ควรใช้วิธีอภิปราย แสดง ความคิดเห็นให้ได้ผังความคิด) – ถามให้นักเรียนตอบ ให้หลาก หลาย ก่อนสรุป – มีความเป็นมิตรไมตรีของคนใน ท้องถิ่น ดูความหมายโดยละเอียด จากสารานุกรมไทย เล่มที่ ๒๙ – กลุ่มนักเรียนรวบรวมแหล่ง ท่องเที่ยวทางธรรมชาติในไทย เช่น • ถํ้า • นํ้าตก • หนอง บึง ทะเลสาบ และอ่างเก็บนํ้า • ป่าไม้ :– วนอุทยาน ฯลฯ • แม่นํ้าลำ�คลอง • ภูเขา • ชายฝั่งทะเลและเกาะ • นํ้าพุร้อน, โกรกธาร โขดหิน สันเขา ซากดึกดำ�บรรพ์ – จัดทำ�โครงงานตามคู่มือและส่ง โรงเรียนต้นทางเพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู้ Untitled-1 89 9/13/11 1:41 PM
  • 14. กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 90 อภิปรายสรุปว่า ควรมีนโยบายการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์อย่างไร – เราควรมีนโยบายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์หรือไม่ – ควรมีอย่างไรบ้าง – ใครควรมีส่วนในเรื่องนี้บ้าง เป็นหน้าที่ของใครบ้าง – ถ้าเราทำ�ทุกอย่างแล้ว ยังไม่ดีขึ้น ในระบอบสังคมประชาธิปไตย ควรทำ� อย่างไร (ควรเสนอ ออกแบบ...) ร่วมกันเขียนผังความคิด – จัดทำ�โครงงานเกี่ยวกับท่อง เที่ยวเชิงนิเวศน์และท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ฯในชุมชนของท่าน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ – ศึกษา วิเคราะห์การพัฒนา รูปแบบของการท่องเที่ยวเชิง นิเวศน์ เช่น Untitled-1 90 9/13/11 1:41 PM
  • 15. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 91 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ผังความคิด (ก่อนเขียนควรรวบรวมข่าวจากหนังสือพิมพ์และข่าว ท่องเที่ยว) ซึ่งเกี่ยวกับเศรษฐกิจ การศึกษา และสังคม) ๕. กลุ่มนักเรียนช่วยกันวาดแผนที่ประเทศไทย ศึกษาลักษณะภูมิประเทศที่มี ความสำ�คัญต่อการดำ�รงชีวิตของคนในท้องถิ่น และการเปลี่ยนแปลงสภาพ ของท้องถิ่น ภูมิประเทศที่เป็นที่ราบที่ราบสูงเป็นภูเขาเหมาะแก่การตั้งถิ่นฐาน และ ทำ�มาหากินอย่างไร ประชากรมากน้อย เศรษฐกิจเป็นอย่างไร การคมนาคม สะดวกหรือไม่ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติเป็นอย่างไร – ฝึกให้นักเรียนใช้แผนที่ เรียนรู้ในเรื่องต่างๆ รวมทั้งแหล่งท่องเที่ยว – แผนที่ที่ควรฝึกวาดและลงรายละเอียดที่สำ�คัญๆ ควรเป็นแผนที่ประเทศ ไทย แผนที่ภูมิภาค แผนที่จังหวัด แผนที่ชุมชน และแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ • การเดินเส้นทางธรรมชาติ (Nature trail) • การส่องสัตว์ • การดูนก ผีเสื้อ ค้างคาว • การไต่หน้าผา • การล่องแก่ง • การพายเรือแคนู ฯลฯ • การดำ�นํ้า • การนั่งเรือ-แพชมธรรมชาติ • การนั่งช้าง • การชมสวนเกษตร – วิเคราะห์โครงงานของชุมชน (อบต., อบจ., จังหวัด) เกี่ยวกับ การท่องเที่ยวว่าเป็นการท่อง เที่ยวเชิงนิเวศน์/เชิงอนุรักษ์ หรือไม่ มีข้อเสนอแนะอย่างไร จะให้เป็นการพัฒนาการท่อง เที่ยวที่ยั่งยืน • การขี่จักรยาน • การกางเต็นท์พักแรม • การพักแรมตามบ้าน – วาดแผนที่ชุมชน จังหวัด ประเทศไทยให้มีเครื่องหมาย บอกภูมิประเทศได้ – กลุ่มนักเรียนศึกษาสถานที่ที่ ต้องระวังภัยจากคลื่นยักษ์,แผ่น ดินไหว, นํ้าป่าไหลหลาก, แผ่น ดินถล่มและยุบตัว ฯลฯ เช่น ตามแหล่งนํ้าตกต่างๆประมาณ ๒๐๐ แห่ง – เขียนบทความประชาสัมพันธ์ Untitled-1 91 9/13/11 1:41 PM
  • 16. กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 92 ๖. ให้กลุ่มเขียนรายงานประกอบเป็นการสรุปรายงานผลการดำ�เนินงานเพื่อให้ ผู้อื่นได้ทราบถึงแนวคิดวิธีดำ�เนินผลที่ได้รับตลอดจนข้อสรุปข้อเสนอแนะ ต่างๆ ที่เกี่ยวกับโครงงาน การเขียนรายงาน ควรใช้ภาษาที่อ่านเข้าใจง่าย ชัดเจน สั้น และตรงไป ตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ ๑) ส่วนนำ� เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้น ประกอบด้วย ชื่อ โครงงาน ชื่อผู้ทำ�โครงงาน ที่ปรึกษา ๒) บทนำ� ประกอบด้วย – ที่มาและความสำ�คัญของโครงงาน (อธิบายความสำ�คัญของโครงงาน เหตุผลที่เลือกทำ�โครงงานนี้ หลักการ หรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ โครงงาน) – วัตถุประสงค์ของการศึกษา ค้นคว้า – สมมติฐานของการศึกษา ค้นคว้า (ถ้ามี) ๓) วิธีการดำ�เนินงาน – อธิบายขั้นตอนการดำ�เนินงาน – ระบุวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ ๔) ผลการศึกษา ค้นคว้า สำ�รวจ นำ�เสนอข้อมูลหรือผลการศึกษาต่างๆที่สังเกตศึกษารวบรวมได้รวมทั้ง เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย ๕) สรุปและข้อเสนอแนะ อธิบายสรุปผลที่ได้จากการทำ�งานการนำ�ผลที่ได้ไปใช้ประโยชน์อุปสรรค ของการทำ�โครงงาน และข้อเสนอแนะ เพื่อการปรับปรุงแก้ไข ๖) เอกสารอ้างอิง รายชื่อหนังสือ เอกสารต่างๆ เว็บไซต์ที่ใช้อ้างอิงในการทำ�โครงงาน ๗. เมื่อกลุ่มนักเรียนได้ศึกษาจากแผนที่ประเทศไทย จนทราบภูมิประเทศที่แตก ต่างกัน ครูตั้งคำ�ถาม ให้นักเรียนคิด (แบบหมวก ๖ ใบ) – ประเทศไทยสามารถจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด อย่างไร – ประเทศไทยมีระบบนิเวศน์ที่หลากหลายหรือไม่ อย่างไร (ดูตัวอย่างใน ชุมชนของเรา) – ประเทศไทยตั้งอยู่เขตใดของโลก/เส้นศูนย์สูตร (เขตป่าร้อนชื้น ใกล้ เส้นศูนย์สูตร ให้ดูจากแผนที่โลก) – เขตป่าร้อนชื้นเป็นอย่างไร พืชพันธุ์ไม้เป็นอย่างไร มากน้อย หลากหลาย และเสนอแนะการท่องเที่ยวใน ชุมชน – กลุ่มนักเรียนศึกษาพันธุ์ไม้ใน ชุมชนหรือสัตว์ในระบบนิเวศน์ ป่าชายเลน – ป่าชายเลนมีความสำ�คัญอย่างไร – พืชในป่าชายเลนมีประมาณกี่ ชนิด – ป่าชายเลนมีหน้าที่หลักอย่างไร บ้าง – สัตว์อะไรบ้างที่พบมากในป่า ชายเลน – สัตว์ในป่าชายเลนจัดสรรหน้าที่ และบทบาทอย่างไร – สัตว์ทะเลหน้าดิน คืออะไร (ค้นหาคำ�ตอบได้ในสารานุกรม ไทย ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ม ๕) – ทำ�รายงานประกอบภาพเก็บไว้ ในห้องเรียน/ห้องสมุด – กลุ่มนักเรียนศึกษารูปแบบและ ความเป็นไปได้ว่า ในชุมชน ของเรามีการพักแรมตามบ้าน (Homestay) หรือไม่ มีความ เป็นไปได้หรือไม่ ที่จะจัดให้มี ถ้ามีควรประชาสัมพันธ์มายัง โรงเรียนต้นทางเพื่อให้ทราบทั่ว กัน – คลื่นสึนามิ หรือสิ่งใดแน่ที่ ทำ�ลายป่าชายเลน กรุณาศึกษา หาคำ�ตอบ – จงบอกประโยชน์ของสวน พฤกษศาสตร์ • ในชุมชนของเราสามารถ Untitled-1 92 9/13/11 1:41 PM
  • 17. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 93 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – เรามีระบบนิเวศน์ทางใดบ้าง (ทางบก ทะเล พื้นที่ชุ่มนํ้า เช่น ป่าชายเลน พรุ ฯลฯ) – ระบบนิเวศน์ทางทะเลและบริเวณชายฝั่งของเราอยู่ภาคใดบ้างเป็นอย่างไร – ระบบนิเวศน์ทางบกของเรา มีภาคใดบ้าง เป็นอย่างไร – วัฒนธรรมไทย น่าสนใจหรือไม่ อย่างไร – ประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะชาวบ้านในท้องถิ่นต่างๆ เป็นอย่างไร – นักเรียนชอบไปเที่ยวภาคใด ที่ใด เพราะเหตุใด – นักเรียนคิดว่าประเทศเราควรมีการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ หรือไม่ เพราะเหตุใด – นักเรียนลองเสนอแหล่งท่องเที่ยวในชุมชน/ท้องถิ่นที่มีระบบนิเวศน์ สมบูรณ์ เพราะเหตุใด – นักเรียนคิดว่า เราจะอนุรักษ์ไว้ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด – นักเรียนคิดว่า เราควรอนุรักษ์ไว้หรือไม่ เพราะเหตุใด ควรทำ�อย่างไรบ้าง – ฯลฯ กลุ่มนักเรียนช่วยกันเขียนแผนผังความคิด สร้างสวนพฤกษศาสตร์ได้ หรือไม่ • ในโรงเรียนของเรามีการปลูก ต้นไม้หรือไม่ อย่างไร – กิจกรรมวาดภาพประกอบ รายงานหรืออาจถ่ายภาพ ประกอบ – ความหมายของอุทยาน ประวัติศาสตร์ ๑) อาคารสถาปัตยกรรม ซาก โบราณสถาน ฯลฯ ๒) สภาพแวดล้อม เช่น สระนํ้า คู คลอง ฯลฯ ๓) การผสมผสานกันระหว่าง การก่อสร้างของมนุษย์กับ ธรรมชาติ Untitled-1 93 9/13/11 1:41 PM
  • 19. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 95 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๘. การวัดผล ประเมินผล – ประเมินจากการปฏิบัติจริง (การสังเกตและแสดงความคิดเห็น) – ความรู้ความคิด และจิตสำ�นึกเชิงอนุรักษ์ – คุณภาพจริยภาพและความคิดเชิงสร้างสรรค์ – รู้จักและรักถิ่นเกิดและประเทศ w w w w w w w w Untitled-1 95 9/13/11 1:41 PM