SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
96
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม มีจิตสำานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ป. ๑/๑ บอกสิ่งต่างๆ ที่เกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์
ป. ๑/๒ สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว
ป. ๑/๓ มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน
๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. นักเรียนบอกสถานที่ท่องเที่ยวในชุมชนได้
๒. นักเรียนบอกลักษณะกายภาพของชุมชนได้
๓. เปรียบเทียบลักษณะกายภาพของชุมชน กับจังหวัดใกล้เคียงได้
๔. นักเรียนบอกประวัติชุมชนและเล่าความเป็นมาในอดีตจนปัจจุบันได้
๕. บอกได้ว่าสิ่งแวดล้อมและสถานที่ต่างๆ ในชุมชนเปลี่ยนไปจากอดีตอย่างไรบ้าง
๖. มีส่วนร่วมในการจัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านและโรงเรียน
๗. มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและสถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน
๓. สาระสำาคัญ
๑. สถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน
๒. การปฏิบัติตนเป็นนักท่องเที่ยวที่ดี
๓. การอนุรักษ์สถานที่ท่องเที่ยว
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย
เรื่อง สถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมงป.๑-๓
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
97
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	๑.	 ครูให้นักเรียนดูภาพท้องถิ่น ซึ่งมีลักษณะทางกายภาพที่ประกอบด้วย
ภูเขา (ที่ราบสูง, ที่ราบลุ่ม) ทะเล แม่นํ้า ป่าไม้ (ป่าดงดิบ, ป่าไม้ผลัดใบ
สัตว์ป่า) มหาสมุทร ฯลฯ (ใช้สไลด์หรือภาพยนตร์สารคดีต่างๆ จะช่วย
เสริมความสนใจมากขึ้น สนทนาเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ในภาพเปรียบเทียบ
กัน)
	๒.	 ครูนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับภาพชุมชนที่ตั้งบ้านของนักเรียน ตัวอย่าง
ภาพชุมชนตำ�บลหัวหิน (เขาเต่า, เขาตะเกียบ) สนทนาข้อมูลจากการ
สังเกตภาพ ซักถามในประเด็นท้องถิ่นของเราตั้งอยู่ในพื้นที่แบบใด,
ลักษณะภูมิประเทศ - ภูมิอากาศของท้องถิ่นเราเป็นอย่างไร, ทรัพยากร
สิ่งแวดล้อม อาชีพประชากร วัฒนธรรมความเป็นอยู่ การแต่งกาย ฯลฯ
	๓.	 ครูให้นักเรียนเล่นเกมชุมชนของเราเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจลักษณะ
ทางกายภาพทางภูมิศาสตร์
	๔.	 สนทนาความรู้เกี่ยวกับการศึกษาลักษณะทางกายภาพเชิงภูมิศาสตร์ และ
จำ�แนกความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบของลักษณะทางกายภาพของ
ชุมชน ร่วมกันทำ�ผังความคิด (ภาคผนวก)
	๕.	 นักเรียนแต่ละคนสำ�รวจลักษณะทางกายภาพของท้องถิ่นของตน (บ้าน)
(แสวงหาข้อมูลโดยวิธีสัมภาษณ์ และจัดทำ�ใบงานส่งครูในชั่วโมงต่อไป
(ใบงาน)
	๖.	 ครูนำ�นักเรียนทัศนศึกษาท้องถิ่นใกล้โรงเรียน ให้นักเรียนบันทึกข้อมูล
จากการสังเกตหรือการสอบถามบุคคลในท้องถิ่น (ใช้เวลาในวันหยุด)
		 –	 ลักษณะของพื้นที่ เป็นแบบใด
		 –	 ลักษณะภูมิอากาศ
		 –	 ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมโดยรอบ
		 –	 อาชีพ (ภูมิปัญญาในท้องถิ่น)
		 –	 วัฒนธรรมของชุมชน
	๗.	 นักเรียนนำ�ความรู้จากการทัศนศึกษามาร่วมสนทนาและอภิปรายใน
ห้องเรียน
	๘.	 นักเรียนสร้าง “ชุมชนพัฒนาที่น่าอยู่” บนกระบะทราย หรือมุมห้องเรียน
	๙.	 นักเรียนร่วมจัดทำ�ผังความคิดเกี่ยวกับสถานที่สำ�คัญของชุมชน เช่น
สถานที่ส่วนราชการ สถานที่เกี่ยวกับเรื่องศาสนาและอื่นๆ เท่าที่จำ�เป็น
(ภาคผนวกที่ ๒)
	๑๐.	 นัักเรียนร่วมร้องเพลงชุมชน (แต่งเอง)
	๑๑.	 นักเรียนทำ�ใบงาน
ภาพ วีดิทัศน์ โทรทัศน์ ซีดี
–	 แผนภูมิคำ�ถาม
	 (ควรใช้วิธีคิดและตั้งคำ�ถาม
แบบหมวก ๖ ใบ)
ดูสารานุกรมไทยเล่มที่๒๗ฯลฯ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
เยี่ยมชมสวน
และดูวิถีชีวิต
สัมผัสกับ
ธรรมชาติ
เห็นคุณค่าของ
สิ่งแวดล้อม
และวัฒนธรรม
มรดก
ที่ต้องรักษา
เดินป่า
ขี่จักรยาน
ไต่เขา
ปีนผา
นั่งเรือ
ล่องแพ
ดำ�นํ้าฯลฯ
พว.
นักท่องเที่ยวที่ดี
เป็นมิตรรักษาแหล่ง
ท่องเที่ยว
ไม่ทิ้งขยะ
ไม่เด็ดดอกไม้ ไม่เหยียบยํ่า
พืชพรรณไม้
ไม่ขีดเขียน
ไม่ทำ�ลาย
พว.
ผลกระทบในทางลบ
ของการท่องเที่ยว
ก่อให้เกิดความ
เสื่อมโทรม
เดือดร้อน
แก่ชุมชน
พว.
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
98
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	๑๒.	ครูนักเรียนร่วมเล่นเกม ตามใบงานวิธีการเล่น
	๑๓.	 เชิญวิทยากรให้ความรู้ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
	๑๔.	 ครูแบ่งนักเรียนเป็น ๔ กลุ่ม จัดบอร์ดนิเทศ เรื่องชุมชนหัวหิน โดย
ศึกษาความรู้ จากหนังสือตำ�ราเรียน ตามหัวข้อเรื่อง
		กลุ่มที่ ๑	 ลักษณะทางกายภาพเชิงภูมิศาสตร์
		กลุ่มที่ ๒	ลักษณะภูมิอากาศ
		กลุ่มที่ ๓	สถานที่สำ�คัญ
		กลุ่มที่ ๔	อาชีพของชุมชนหัวหิน (ภูมิปัญญาท้องถิ่น)
	๑๕.	ครูนำ�นักเรียนทัศนศึกษาท้องถิ่นใกล้โรงเรียน ฝึกนักเรียนสังเกตและ
แสวงหาข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพทางภูมิศาสตร์สังเกตลักษณะ
ภูมิประเทศ อากาศ ทรัพยากรท้องถิ่น (จากของจริง)
	๑๖.	 ครูให้นักเรียน(โดยสุ่มตัวอย่าง)ออกรายงานหน้าชั้นเรียนจากใบงานที่ครู
ให้ทำ�เป็นการบ้าน โดยมีครูเป็นผู้ซักถาม อธิบาย สรุป
	๑๗.	ครูนำ�กระบะทรายแสดงเป็นพื้นที่ของชุมชน แบ่งกลุ่มแจกดินนํ้ามัน
เพื่อสร้างหมู่บ้านชุมชนพัฒนา ๔ กลุ่ม กำ�หนดประเด็นสำ�คัญ โดย
ถือแนวเศรษฐกิจ ตามหัวข้อดังนี้
		 ๑.	แสดงลักษณะทางกายภาพทางภูมิศาสตร์ธรรมชาติ
		 ๒.	การตั้งบ้านเรือนของชุมชนที่ถูกลักษณะ
		 ๓.	สถานที่สำ�คัญของชุมชน ส่วนราชการและอื่นๆ เช่น โรงเรียน
	 โรงพยาบาล วัด ตลาด สวนสาธารณะ ห้องสมุดประชาชน
	 สนามเด็กเล่น ฯลฯ (ตามแนวคิด)
		 ๔. บันทึกรายงาน
			 ๑.	 ประชุมวางแผนมอบงาน
			 ๒.	แสวงหาข้อมูล
			 ๓.	 ดำ�เนินการจัดทำ�
			 ๔.	 แสดงรายงาน ฯลฯ
	๑๘.	 ครูนักเรียนร่วมกันวิจารณ์ผลงานของกลุ่มเพื่อนแสดงความคิดเห็นในการ
วางผังชุมชน (กระบะทราย)
	๑๙.	 เล่นเกม “ชุมชน” (ตามวิธีการเล่นในใบงาน) สรุปและวิจารณ์เพิ่มเติม
ความรู้
	๒๐.	นักเรียนร่วมสนทนาศึกษา“ชุมชนของนักเรียนที่อาศัยอยู่(ตำ�บลหัวหิน)”
ตามลักษณะองค์ประกอบทางกายภาพเชิงภูมิศาสตร์
	๒๑.	นักเรียนรวมกันจัดบอร์ดนิเทศเพื่อประเมินผลความรู้ความเข้าใจ
–	 วิทยากรท้องถิ่น
–	 ชุมชนศึกษา
–	 กระบะทราย
–	 แผนภูมิ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
99
๕.	สื่อและแหล่งการเรียนรู้
	 ๑.	ภาพวิว แสดงลักษณะทางกายภาพ
	 ๒.	บัตรคำ� แผนภูมิ ผังความคิด ฯลฯ
	 ๓.	วิทยากร ตำ�ราหนังสือค้นคว้า
	 ๔.	กระบะทราย ดินนํ้ามัน
	 ๕.	สถานที่ต่างๆ ของชุมชน
๖.	การวัดผลประเมินผล
	 ๑.	สังเกตความสนใจ ความตั้งใจจากการร่วมกิจกรรม
	 ๒.	ซักถามการทำ�รายงาน
	 ๓.	ตรวจข้อทดสอบใบงาน
๗.	บันทึกผลหลังการสอน
	 ๑.	ดูความเข้าใจ และการแสดงความคิดเห็นของนักเรียน
	 ๒.	พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นรายบุคคล
	 ๓.	ความรักในชุมชน ถิ่นฐานบ้านเกิด
๘.	ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร
	 ๑.	มีโครงการ และโครงงานให้นักเรียนและครูฝึกทำ�ร่วมกัน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ และ
การประชาสัมพันธ์ ทำ�ความเข้าใจกับผู้มาท่องเที่ยว
	 ๒.	เป็นเจ้าของบ้านที่ดี ไม่ละทิ้งวัฒนธรรมไทย มีคุณธรรมจริยธรรม
๙. ภาคผนวก
การท่องเที่ยว
เชิงอนุรักษ์
พว.
อนุรักษ์/รักษาทรัพยากร
ท่องเที่ยว
แยกขยะ
ปลูกต้นไม้
ไม่ปล่อยนํ้าเสีย
ลงทะเล
กระตุ้นจิตสำ�นึก
ของนักเรียน
เป็นเจ้าบ้านที่ดี
รักบ้านเกิด
ไม่ขายของแพง
ให้ความรู้ความเข้าใจ
นักท่องเที่ยว
ไม่ทิ้งขยะ
ขอความร่วมมือ
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
รู้คุณค่าของ
ทะเล/ภูเขา
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
100
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม มีจิตสำานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ป. ๑/๑ บอกสิ่งต่างๆ ที่เกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์
ป. ๑/๒ สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว
ป. ๑/๓ มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน
๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. บอกหรืออธิบายความหมายและองค์ประกอบของแผนผัง แผนที่
๒. สามารถสร้างและใช้แผนผัง แผนที่อย่างง่ายๆ ได้
๓. รู้ประโยชน์และสามารถใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์อย่างง่ายๆ เพื่อค้นหาข้อมูลในพื้นที่โดยรอบตัวได้
๔. บอกและอธิบายสถานที่ท่องเที่ยวในชุมชนได้
๓. สาระสำาคัญ
๑.  สถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน
๒. การปฏิบัติตนเป็นนักท่องเที่ยวที่ดี
๓. การอนุรักษ์สถานที่ท่องเที่ยว
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย
เรื่อง สถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมงป.๑-๓
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
101
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	๑.	 สนทนาซักถามเกี่ยวกับการเดินทางจากบ้านมาโรงเรียน เพื่อนำ�เข้าสู่เรื่อง
การบอกหรือเขียนแผนผัง เช่น	
		 –	 นักเรียนมาโรงเรียนอย่างไร (เดิน พาหนะรถ เรือ ฯลฯ)	
		 –	 ในกรณีที่นักเรียนเดินมาโรงเรียน ครูซักถามนักเรียนว่า ถนนหรือ
	 ซอยที่เดินชื่อซอยอะไร และจำ�เป็นต้องเลี้ยวซ้าย หรือเลี้ยวขวา ผ่าน
	 สิ่งสำ�คัญอะไรบ้าง
		 –	 ครูแจกใบงาน บอกให้นักเรียนทดลองเขียนแผนผัง แผนที่ การ
	 เดินทางจากบ้านมาโรงเรียนของนักเรียน เพื่อทดสอบความรู้ความ
	 เข้าใจ การสังเกต
	๒.	 ครูให้นักเรียนรู้จักสัญลักษณ์ และสามารถเขียนสัญลักษณ์ การเขียน
แผนผังง่ายๆ เช่น บ้าน ต้นไม้ คลอง ถนน พาหนะต่างๆ สถานที่สำ�คัญ
ทางราชการ ฯลฯ ระยะทางก้าวเดิน เมตร
	๓.	 ครูทบทวนความรู้เรื่องทิศต่างๆ สนทนาเกี่ยวกับแผนผัง แผนที่ การ
เดินทางจากแผนภูมิ
	๔.	 แบ่งกลุ่มเล่นเกม ทดสอบการเดินทางไปมาหาสู่กัน การเดินทางไปในที่
ต่างๆ เพื่อติดต่องาน และให้ผู้แทนกลุ่มออกมารายงาน โดยใช้โต๊ะ เก้าอี้
สร้างผังการเดินทาง
	๕.	 ครูให้นักเรียนทำ�แบบทดสอบหลังบทเรียน (ตามใบงานที่ ๑) เขียน
แผนผัง แผนที่จากบ้านมาโรงเรียน
	๖.	 ครูนำ�ลูกโลก แผนที่ประเทศไทยให้นักเรียนศึกษาในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ
องค์ประกอบของแผนที่ดังนี้
		 –	 เส้นละติจูด เส้นสมมุติที่ลากในแนวนอนรอบโลกในทิศตะวันตก
	 ตะวันออก มี ๑๘๐ เส้น (บอกลักษณะภูมิอากาศ)
		 –	 เส้นลองติจูด คือเส้นสมมุติที่ลากในแนวตั้ง จากทิศเหนือลงสู่ทิศใต้
	 มี ๓๖๐ เส้น (บอกเวลา เส้นหนึ่งห่าง ๔ นาที)
		 –	 ทิศต่างๆ บนแผนที่ ด้านบนเป็นทิศเหนือ ด้านล่างเป็นทิศใต้ ด้านขวา
	 เป็นทิศตะวันออก ด้านซ้ายเป็นทิศตะวันตก
		 –	 มาตราส่วน คือ อัตราส่วนของระยะทางจริงบนภูมิประเทศ มาตราส่วน
	 ตัวเลข เช่น อัตราส่วน ๑ : ๑๐๐,๐๐๐
		 –	 สัญลักษณ์ แทนความหมายเช่น ๏ แทนเมือง, แทนภูเขา, แทนรถไฟ,
			 แทนแม่นํ้า ฯลฯ
	๗.	 เล่นเกมทายที่ตั้งประเทศ เมือง จังหวัด แม่นํ้า ภูเขา ฯลฯ จากแผนที่
ประเทศไทยและลูกโลก (โดยแบ่งกลุ่มนักเรียนแจกลูกโลก แผนที่
ประจำ�กลุ่มครูบอกปัญหากลุ่มค้นคำ�ตอบบอกได้ถูกต้องและรวดเร็วถือว่าชนะ
–	 นักเรียนเรียนไปพร้อมกับ
โรงเรียนต้นทาง
–	 นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด
ใบงานตามที่ครูต้นทางสั่ง
–	 ภาพ
–	 แผนภูมิ
–	 วีดิทัศน์ โทรทัศน์ ซีดี
–	 เรียนรู้การท่องเที่ยวเชิง
นิเวศน์อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
–	 แผนที่ชุมชน
–	 ใบงาน
–	 แผนที่ วีดิทัศน์ ซีดี
–	 เขียนแผนที่ชุมชน/เมือง
ที่โรงเรียนตั้งอยู่
–	 การรักษาสภาพแหล่งนํ้า
–	 ระวังการปนเปื้อนของสาร
เคมี
–	 การวิเคราะห์คุณภาพนํ้าใน
	 แม่นํ้าลำ�คลอง
*	 มนุษย์มีส่วนเกี่ยวข้องกับการ
ขาดแคลนนํ้า สาเหตุ
๑.	ปริมาณนํ้าฝน
๒.	ลักษณะภูมิประเทศ
๓.	ขาดการวางแผนการใช้นํ้า
๔.	การตัดไม้ทำ�ลายป่า
๕.	เกิดมลภาวะกับแหล่งนํ้า
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
102
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	๘.	 แบ่งกลุ่มนักเรียน ศึกษาสถานที่ท่องเที่ยวที่สำ�คัญต่างๆ เขียนโครงงาน
ท่องเที่ยว และรายงานหน้าชั้น
	๙.	 ครูนักเรียนสนทนาเรื่อง เครื่องมือภูมิศาสตร์อย่างง่ายๆ เพื่อค้นหาข้อมูล
ในพื้นที่รอบตัว
		 –	 เครื่องมือบอกตำ�แหน่ง ได้แก่ ความรู้เรื่องทิศต่างๆ
		 –	 สิ่งที่ช่วยในการบอกทิศ ได้แก่ เข็มทิศ การขึ้นและตกของดวงอาทิตย์
	 ดวงจันทร์ ดวงดาว
	๑๐.	 ฝึกเครื่องมือวัดระยะทาง เช่น จำ�นวนก้าวเดิน การใช้มาตราเมตริก (เมตร
กิโลเมตร)
	๑๑.	 นักเรียนศึกษาของจริง โดยสังเกตการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์และ
บอกช่วงเวลาโดยอาศัยดวงอาทิตย์ได้ (จากใบงาน)
	๑๒.	ครูฝึกให้นักเรียนเขียนแผนที่ประเทศไทยตามรอยปะ ระบายสี กำ�หนด
ที่ตั้งของจังหวัด เช่น กรุงเทพฯ จังหวัดที่นักเรียนอาศัยอยู่ ฯลฯ
–	 แผนภูมิ แผนที่ประเทศไทย
	 พร้อมจังหวัดที่นักเรียนอาศัย
	 อยู่
–	 แผนภูมิ แผนที่ประเทศไทย
	 ลงจังหวัดที่นํ้าสำ�คัญ แม่นํ้า
	 ภูเขา ฯลฯ
การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
มีผล
ต่อเนื่อง
ยาวนาน
ชุมชนได้
ประโยชน์
ดูแลทรัพยากร
ร่วมมือกัน
วางแผน
พัฒนา
	 ภาคผนวก การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนนํ้า
	 ๑.	การวางแผนการใช้นํ้าให้คุ้มค่า เริ่มจากบ้านและโรงเรียน	 ๒.	 การสร้างอ่างเก็บนํ้า
	 ๓.	การจัดหาภาชนะเก็บนํ้า	 ๔.	 การทำ�ฝนเทียม
	 ๕.	การรักษาแหล่งต้นนํ้าลำ�ธาร	 ๖.	 การประหยัดการใช้นํ้า
	 ๗.	การนำ�นํ้ามาหมุนเวียนใช้ใหม่	 ๘.	 การขุดลอกคูคลองหนองบึง
๕.	สื่อและแหล่งการเรียนรู้
	 ๑.	แผนผัง แผนที่
	 ๒.	ภาพสัญลักษณ์ต่างๆ มาตราส่วน
	 ๓.	ลูกโลกจำ�ลอง แผนที่ประเทศไทย
	 ๔.	เข็มทิศ
	 ๕.	ใบงาน
๖	 การวัดผลประเมินผล
	 ๑.	สังเกตความสนใจ ความตั้งใจจากการร่วมกิจกรรม
	 ๒.	ทดสอบความรู้จากการตอบคำ�ถาม การทำ�แบบทดสอบ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
103
๗.	บันทึกผลหลังการสอน
	 ๑.	ประเมินจากความรู้ ความคิดเห็นในเชิงสร้างสรรค์
	 ๒.	เขียนแผนผัง แผนที่ได้
	 ๓.	ทำ�กิจกรรมได้
	 ๔.	รักบ้านเกิดชุมชนและให้ความร่วมมือ
๘.	ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร
	 ๑.	มีโครงการ และโครงงานให้ครูและนักเรียนคิดวางแผนทำ�ร่วมกัน
	 ๒.	หาข้อมูลและประสานงานกับเครือข่ายผู้ปกครองและชุมชน
	 ๓.	มีข้อมูลประชาสัมพันธ์ชุมชน จัดบอร์ด เอกสาร สื่อ
๙. ภาคผนวก
หมายเหตุ	:	 นิเวศน์ แปลว่า บ้าน/ที่อยู่อาศัย
		 การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์เป็นการท่องเที่ยวที่เน้นในด้านการเรียนรู้ที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต คือ พืช สัตว์ และ
		 มนุษย์ ซึ่งเป็นการท่องเที่ยวที่จะทำ�ให้เราเห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและวัฒนธรรม
การท่องเที่ยว
เชิงนิเวศน์
พว.
มุ่งหวังด้านการศึกษา
ศึกษา
ชื่นชม
เพลิดเพลิน
รับผิดชอบต่อระบบนิเวศน์
พอใจและเข้าใจ
สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
อาศัยธรรมชาติ
มีการจัดการที่ยั่งยืน
ก่อให้เกิดการอนุรักษ์
ไม่รบกวนธรรมชาติ
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
104
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส ๕.๒	 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม	มีจิตสำานึก	และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม	เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ป.	๑/๑	 บอกสิ่งต่างๆ	ที่เกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์
ป.	๑/๒	 สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว
ป.	๑/๓	 มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน
๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
	 ๑.	รู้ความหมาย	สามารถบอกลักษณะ	จำาแนกทรัพยากรธรรมชาติ	และสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติในท้องถิ่นได้
	 ๒.	บอกคุณค่าของการพึ่งพากันทางธรรมชาติได้
	 ๓.	บอกประโยชน์ของสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่ทางธรรมชาติสร้างสรรค์
	 ๔.	บอกผลกระทบต่อมนุษย์เมื่อสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติถูกทำาลาย
	 ๕.	ปฏิบัติตนเป็นผู้รักษาสิ่งแวดล้อมในการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
๓. สาระสำาคัญ
	 ๑.	สถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน
	 ๒.	การปฏิบัติตนเป็นนักท่องเที่ยวที่ดี
	 ๓.	การอนุรักษ์สถานที่ท่องเที่ยว
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย
เรื่อง การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและสถานที่ท่องเที่ยว
ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมงป.๑-๓
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
105
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	๑.	 ครูจัดตกแต่งห้องเรียนให้มีสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติเท่าที่จะทำ�ได้ หรือ
ครูนำ�นักเรียนศึกษานอกห้องเรียน ให้สังเกตสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่
อยู่รอบๆ ตัวนักเรียนแล้วบันทึกไว้โดย
	 	 แบ่งนักเรียนเป็น ๒ กลุ่มย่อย เพื่อบันทึกสิ่งแวดล้อมรอบตัวจากการ
สังเกต ศึกษา
		กลุ่มที่ ๑	 บันทึกสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
	 มีอะไรบ้าง (ใบงาน)
		กลุ่มที่ ๒	บันทึกสิ่งแวดล้อมหรือทรััพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น มีอะไรบ้าง
	 (ใบงาน)
	๒.	 ผู้แทนกลุ่มรายงานหน้าชั้น ครูให้ความช่วยเหลืออธิบายเพิ่มเติม ชมเชย
	๓.	 ครูสรุปรายงานของนักเรียนโดยแยกให้เห็นว่า “สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา
เรียกว่า สิ่งแวดล้อม”
	 	 “สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา มีทั้งสิ่งที่มีชีวิต และสิ่งที่ไม่มีชีวิต”
	 	 “สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา มีทั้งสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และสิ่งที่
มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อประโยชน์ต่อการดำ�รงชีพ”
	 	 “สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าทรัพยากรธรรมชาติ”
	๔.	 ครู นักเรียน ร่วมกันจัดทำ�ผังความคิด (Mind Mapping) ตามแบบ
ตัวอย่างท้ายภาคผนวก
	๕.	 แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มย่อยศึกษาค้นคว้าจากชุดการสอนที่ครูทำ�ขึ้น “เรื่อง
ทรัพยากรธรรมชาติ” พร้อมรายงานในชั่วโมง/คาบต่อไป ดังนี้
		กลุ่มที่ ๑	 ทรัพยากรธรรมชาติ “ดิน” และ “แร่ธาตุ”
		กลุ่มที่ ๒	ทรัพยากรธรรมชาติ “นํ้า”
		กลุ่มที่ ๓	ทรัพยากรธรรมชาติ “ป่าไม้” “สัตว์ป่า”
		กลุ่มที่ ๔	ทรัพยากรธรรมชาติ “อากาศ”
		ตามหัวข้อ	 ๑.	 แหล่งที่มาของทรัพยากร
	 	 	 ๒.	ลักษณะของทรัพยากร
	 	 	 ๓.	ประโยชน์ของทรัพยากร
	๖.	 ครูนักเรียนร่วมร้องเพลง “ป่าไม้” หรือ “ป่าดงพงพี” อาจแต่งเนื้อร้อง
ทำ�นอง หรือใช้เพลงที่มีอยู่ก็ได้
	๗.	 เล่นเกม (ตามตัวอย่างท้ายภาคผนวก)
	๘.	 ครูนำ�ตัวอย่างบทกลอนหรือคำ�ขวัญเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ให้นักเรียนอ่านและให้ช่วยกันแต่งเพิ่มเติม หรือ
กิจกรรมสอดคล้องโรงเรียน
ต้นทาง
แผนภูมิ
ผังความคิด
ภาพ โทรทัศน์ วีดิทัศน์
แผนภูมิเพลง
อุปกรณ์เล่นเกม
ของจริง : ต้นไม้ ตู้ปลา อ่างปลา
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์
จัดกิจกรรม
ที่เหมาะสม
ต้องมีการ
ควบคุม
ดูแล
รักษา
สร้างจิตสำ�นึก
พว.
การพัฒนาการท่องเที่ยว
ส่งเสริมฯลฯ
การมีส่วนร่วม
ของชุมชน
จัดการทรัพยากร
สิ่งแวดล้อม
จัดโครงสร้าง
พื้นฐานและ
บริหาร
ศึกษาและ
ให้ข้อมูล
พว.
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
106
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	๙.	 ครูนำ�ตัวสื่อเกี่ยวกับภาพทรัพยากรธรรมชาติหรือของจริง เช่น ต้นไม้ที่
ปลูกในกระถางที่มีดินตู้ปลาที่มีนํ้าและปลาฯลฯสนทนาซักถามนักเรียน
	 	 เพื่อให้เกิดการวิเคราะห์ถึงการพึ่งพาซึ่งกันและกันทางธรรมชาติ โดย
	 	 ใช้คำ�ถาม เช่น
	 	 ๑.	 ในภาพ/กระถางต้นไม้/ตู้ปลา...นักเรียนสังเกตเห็นทรัพยากรธรรมชาติ
	 อะไรบ้าง
	 	 ๒.	การที่ทรัพยากรธรรมชาติอยู่ร่วมกัน เช่น ต้นไม้กับดินหรือปลากับนํ้า
	 แสดงว่าทรัพยากรทั้งสองมีการพึ่งพากับสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
	 	 ๓.	 วิเคราะห์หาว่าการขาดทรัพยากรธรรมชาติอย่างใดอย่างหนึ่งมีผลเสีย
	 อย่างไร การรักษาหาดทรายให้ขาวควรทำ�อย่างไร
	๑๐.	 ครู นักเรียน ร่วมบำ�เพ็ญประโยชน์ เรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติ ปลูกต้นไม้ เก็บขยะ ฯลฯ
	๑๑.	 ครู นักเรียน ร่วมกันสรุป ความรู้ โดยจัดบอร์ดนิเทศ เรื่อง ทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ การอนุรักษ์ทรัพยากร
	๑๒.	นักเรียนทำ�แบบทดสอบหลังเรียน (ใบงานที่ ๒)
–	 กล้าไม้ เมล็ดพันธุ์ไม้
–	 การใช้ปุ๋ยชีวภาพมีผลต่อดิน
	 และสิ่งแวดล้อมอย่างไร
๕.	สื่อและแหล่งการเรียนรู้
	 ๑.	สถานที่จริง (ชุมชน ท้องถิ่นที่มีสภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ)
	 ๒.	สื่อของจริง กระถางต้นไม้ ตู้ปลา สัตว์ต่างๆ
	 ๓.	เพลง เกม ผังความคิด (Mind Mapping)
	 ๔.	กลอน คำ�ขวัญ เพลง
	 ๕.	ตำ�รา แบบเรียน วิทยากร ชุดการสอน
	 ๖.	ภาพวิว ชุมชนที่ตั้งอยู่ในธรรมชาติ
๖.	การวัดผลประเมินผล
	 ๑.	ประเมินผลการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจจาก
	 	–	 การสังเกตการแสดงความคิดเห็น
	 	–	 สังเกตพฤติกรรมการร่วมกิจกรรมตอบคำ�ถาม การรายงานเป็นกลุ่ม ใบงาน
	 	–	 สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานหลังเรียน
๗.	บันทึกผลหลังการสอน
	 ๑.	ประเมินผลจากการปฏิบัติจริง
	 ๒.	ความรู้ ความคิด และจิตสำ�นึกเชิงอนุรักษ์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
107
	 ๓.	คุณธรรม จริยธรรม และความคิดในเชิงสร้างสรรค์
	 ๔.	รู้จักชุมชน และท้องถิ่นของตนเองเป็นอย่างดีก่อนรู้จักเมือง จังหวัด และประเทศ
ภาคผนวก
มนุษย์มีส่วนทำ�ให้เกิดนํ้าท่วม สาเหตุ :
	 ๑.	ฝนตกติดต่อกันนาน	 ๒.	 ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม
	 ๓.	พื้นที่ป่าไม้ลดลงอย่างรวดเร็ว	 ๔.	 การสร้างสิ่งกีดขวางทางไหลของนํ้า
การแก้ไขปัญหาการเกิดนํ้าท่วม
	 ๑.	การขุดลอกคูคลอง	 ๒.	 รูปแบบของบ้านเรือน
	 ๓.	การปลูกป่าทดแทน	 ๔.	 การสงวนรักษาป่า
	 ๕.	การสร้างเขื่อน อ่างเก็บนํ้า
๘.	ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร
พว.
กลยุทธ์ในการพัฒนา
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์
ส่งเสริมการตลาด
และบริการท่องเที่ยว
ความสมดุล
คุณภาพ
กรอบการท่องเที่ยว
การมีส่วนร่วมของท้องถิ่น
ร่วมพัฒนา
ให้พัฒนาตนเอง
ให้ความสำ�คัญ
จัดการทรัพยากร
และสิ่งแวดล้อม
การสงวนรักษา
ป้องกัน
ควบคุม
ดูแล ฟื้นฟู
ร่วมมือ
การจัดการโครงสร้างพื้นฐาน
และบริการการท่องเที่ยว
พัฒนาโครงสร้าง
เข้มงวดในการรักษาฯ
การคมนาคม
เส้นทางศึกษาธรรมชาติ
บริการที่พัก
การศึกษาและ
สื่อความหมายธรรมชาติ
อบรม
ข้อมูล
เป็นสื่อกลาง
การลงทุน
รัฐ
เอกชน
ชุมชน
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
108
ประโยชน์ทางอ้อมจากป่าไม้
	 ๑.	ทำ�ให้อุณหภูมิลดตํ่าลง
	 ๒.	รักษาต้นนํ้าลำ�ธาร
	 ๓.	ทำ�ให้ดินชุ่มชื้น
	 ๔.	ป้องกันทั้งอุทกภัยและวาตภัย
	 ๕.	ป้องกันการชะกร่อนและการพังทลายของผิวหน้าดิน
	 ๖.	เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า
	 ๗.	เป็นสถานที่ท่องเที่ยว พักผ่อนหย่อนใจ
หมายเหตุ :	ดูสารานุกรมไทย เล่มที่ ๒๙ และให้เด็กมีความรู้ตามวัย โดยให้สร้างจิตสำ�นึกเชิงอนุรักษ์ตั้งแต่ ป. ๑
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
109
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส ๕.๒	 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม	มีจิตสำานึก	และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม	เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ป.	๑/๑	 บอกสิ่งต่างๆ	ที่เกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์
ป.	๑/๒	 สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว
ป.	๑/๓	 มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน
๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
	 ๑.	บอกและอธิบายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางสังคมในท้องถิ่นที่ตนอาศัยอยู่
	 ๒.	วิเคราะห์การใช้พลังงานทรัพยากรธรรมชาติ	สิ่งประดิษฐ์ซึ่งเป็นอาชีพในท้องถิ่นของตนอย่างเหมาะสม	
ภูมิใจในวิถีชีวิต	ภูมิปัญญาศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ตนอยู่
	 ๓.	เข้าร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน	ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมตามวัยของตนตามควร
	 ๔.	บอกและอธิบายเกี่ยวกับสถานที่สำาคัญๆ	ในชุมชนได้
	 ๕.	อธิบายเกี่ยวกับประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่นได้
	 ๖.	อธิบายเกี่ยวกับภูมิปัญญาชาวบ้านได้
๓. สาระสำาคัญ
	 ๑.	สถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน
	 ๒.	การปฏิบัติตนเป็นนักท่องเที่ยวที่ดี
	 ๓.	การอนุรักษ์สถานที่ท่องเที่ยว
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย เรื่อง เรียนรู้ประเพณีไทย
ระยะเวลาในการสอน ๘ ชั่วโมงป.๑-๓
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
110
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	๑.	 ครูและนักเรียนสนทนาจากภาพต่างๆ ที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางสังคม
ที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ภาพโบราณ โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลป-
วัฒนธรรมต่างๆ การเล่นพื้นบ้านของท้องถิ่น โรงเรียน ตลาด สถานที่
สำ�คัญทางศาสนา สวนสาธารณะ
	๒.	 ครูซักถามปัญหาแนววิเคราะห์จากภาพดังเช่น
	 	 –	 นักเรียนเห็นอะไรในภาพ
	 	 –	 ใครเป็นผู้สร้างสิ่งแวดล้อมเหล่านี้
	 	 –	 วัตถุประสงค์ในการสร้างหรือสร้างขึ้นเพื่อเหตุผลใดทำ�ไมจึงสร้างขึ้น
	 	 –	 ความหมายสิ่งแวดล้อมทางสังคม
	๓.	 เล่นเกมแยกประเภทจากภาพ
	 	 (ประเภทของสิ่งแวดล้อมทางสังคม)
	๔.	 นักเรียนร่วมทำ�ผังความคิด (Mind Mapping)
	๕.	 แบ่งกลุ่มนักเรียนศึกษานอกสถานที่ในวันหยุด แบ่งนักเรียนเป็น ๓ กลุ่ม
ศึกษาดูงานสถานที่ต่างๆ ตามกลุ่มที่ได้รับมอบหมายในใบงานและแนว
วิธีการตามที่ตกลง
		กลุ่มที่ ๑ 	ศิลปกรรม โบราณสถานในท้องถิ่นของตน
		กลุ่มที่ ๒ 	ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น
		กลุ่มที่ ๓	วิถีชีวิตและภูมิปัญญาชาวบ้าน
		หมายเหตุ	 ครูเชิญวิทยากรท้องถิ่นให้ความรู้อาจเป็นพระภิกษุของวััดนั้น
	 ชาวชุมชนของท้องถิ่นหนังสือความรู้เกี่ยวกับชุมชนภาพถ่าย
	 หรือครูถ่ายภาพไว้
	๖.	 ครูให้กลุ่มรายงานผลการศึกษาหน้าชั้นเรียน ครูสรุปสิ่งเสริมความรู้
เพิ่มเติม จากภาพชุดการสอนหรือบทเรียนสำ�เร็จรูปในเรื่อง
	 	 –	 ศิลปกรรม รูปภาพสิ่งก่อสร้าง นาฏศิลป์ ดนตรี การเล่น ฯลฯ
	 	 –	 โบราณสถานที่สำ�คัญของประเทศไทย เช่น วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
	 พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม พระปรางค์วัดอรุณราชวราราม ธนบุรี  
	 พระธาตุพนม ฯลฯ
	๗.	 ครูจัดให้มีการแสดงบทบาทสมมติแสดงวัฒนธรรมของภาคต่างๆของไทย
ในเรื่องต่อไปนี้
	 	 –	 การแต่งกายที่เหมาะสมถูกกาลเทศะ และสุภาพ
	 	 –	 การพูดจาภาษาท้องถิ่น
	 	 –	 การแสดงกิริยามารยาทที่สุภาพอ่อนโยน
	 	 –	 การพูดด้วยวาจาสุภาพ เรียบร้อย รู้จักใช้คำ�ขอบคุณ ขอโทษ
	 	 –	 การแสดงความเคารพต่อผู้ใหญ่และผู้มีอาวุโสกว่าตามประเพณีของไทย
กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
ภาพ โทรทัศน์ วีดิทัศน์ ซีดี
–	 สารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๒๙
	 หน้า ๘๓ “ไทยมีวัฒนธรรม
	 ของชาติ และของท้องถิ่น
	 ที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง”
วิทยากร
รายการศึกษาทัศน์
โทรทัศน์ วีดิทัศน์ ซีดี ภาพ
–	 นิทานพื้นบ้าน
–	 นิทานท้องถิ่น
–	 ตำ�นานอธิบายปรากฏการณ์
	 ทางธรรมชาติ
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
พว.
ประเทศไทยในด้านการ
ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์
มีระบบนิเวศน์
หลากหลาย
มีวัฒนธรรมของ
ชาติและท้องถิ่น
เป็นมิตรไมตรี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
111
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	๘.	 ครูสรุปเนื้อหาและพฤติกรรมให้นักเรียนทราบว่าเป็นวัฒนธรรม ระเบียบ
แบบแผนเป็นสิ่งแวดล้อมทางสังคมที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อแสดงถึง
ความเจริญของมนุษย์
	๙.	 นักเรียนทำ�แบบทดสอบ
	๑๐.	 ครูแสดงภาพเกี่ยวกับประเพณีต่างๆ เช่น พิธีบวช พิธีแต่งงาน พิธีศพ
พิธีสงกรานต์ และพิธีลอยกระทง
	๑๑.	 อภิปรายเกี่ยวกับภาพ และซักถามประสบการณ์จากการเรียนรู้จากที่เคย
พบเห็นกิจกรรมที่บ้าน
	๑๒.	จัดกิจกรรมประเพณีต่างๆ เท่าที่จะดำ�เนินการได้ เช่น
	 	 –	 กิจกรรมขอพรผู้ใหญ่วันสงกรานต์
	 	 –	 กิจกรรมลอยกระทง ร่วมร้องเพลงลอยกระทง ฝึกประดิษฐ์กระทง
	๑๓.	 นักเรียนทำ�แบบทดสอบ (ใบงาน) และนัดศึกษานอกสถานที่ในวันหยุด
	๑๔.	 ครูจัดให้มีการแสดงบทบาทสมมติแสดงวัฒนธรรมของภาคต่างๆของไทย
ในเรื่องต่อไปนี้ในวันหยุด โดยแบ่งกลุ่มเป็น ๔ กลุ่มศึกษาตามหัวข้อดังนี้
		กลุ่มที่ ๑	 ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะการสร้างบ้านในชุมชนท้องถิ่น
		กลุ่มที่ ๒	ศึกษาเกี่ยวกับการประกอบอาชีพของชุมชนท้องถิ่น
		กลุ่มที่ ๓	ศึกษาภูมิปัญญาชาวบ้าน หนึ่งผลิตภัณฑ์หนึ่งตำ�บลซึ่งเป็น
		 สิ่งประดิษฐ์ที่มีคุณค่าการสร้างสรรค์ในท้องถิ่น
		กลุ่มที่ ๔	ศึกษาเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม การ
		 แต่งกาย และอาหารการกิน
	๑๕.	กลุ่มรายงานผลการศึกษาตามที่รับมอบหมาย (จากใบงาน)
	๑๖.	 ครูนำ�ตัวอย่างอาหารภาคต่างๆ ให้นักเรียนรู้จักและทดลองชิม เช่น
แกงเหลือง แกงไตปลา (อาหารใต้) ส้มตำ� นํ้าตก ซุบหน่อไม้ (อาหาร
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) แกงจืด แกงส้ม ผัดต่างๆ (อาหารภาคกลาง)
ขนมภาคต่างๆ
	๑๗.	นักเรียนทดลองปรุงอาหารภาคต่างๆ ตามที่ตนชอบ
	๑๘.	 ครูนักเรียนร่วมอภิปรายวิเคราะห์ถึงความเป็นอยู่อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม
ทางกายภาพที่มีต่อวิถีชีวิตการดำ�เนินชีวิตของชุมชนในท้องถิ่นของตน
และสรุปความรู้จากการรายงาน
	๑๙.	 ครูนักเรียนสนทนาสรุปเนื้อหาความสำ�คัญของสิ่งแวดล้อมทางสังคม
	๒๐.	ครูให้นักเรียนดูภาพ (หรือฉายสไลด์) เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมต่างๆ ในบ้าน
โรงเรียนและชุมชน สนทนาเรื่อง
	 	 –	 ภาวะประชากรในชุมชน การเปลี่ยนแปลงของประชากร
	 	 –	 ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงจำ�นวนประชากรที่มีต่อสิ่งแวดล้อม
–	 ประเพณีต่างๆ ในท้องถิ่น
	 ควรจัดทำ�ปฏิทินว่ามีการจัด
กิจกรรมเกี่ยวกับประเพณี
ต่างๆ เมื่อใด และมีความ
สำ�คัญอย่างไร
–	 การละเล่นพื้นบ้านของไทย
ศิลปวัฒนธรรมของการเล่น
เพลง การร่ายรำ� และการ
	 ละเล่นที่แปลกๆ แตกต่างกัน
ออกไปในท้องถิ่น
–	 การละเล่นพื้นบ้านแสดงออก
ซึ่งศิลปะของอารมณ์ที่
เบิกบาน
	 เด็กไทยก็มีการละเล่นที่ดี
แบบง่ายๆ เช่น เล่นโพงพาง แม่งู
เอ๋ย จำ�จี้มะเขือเปราะ
ขี่ม้าส่งเมือง มอญซ่อนผ้า ฯลฯ
–	 อาหารในท้องถิ่น วิธีปรุง
อาหาร วิธีรับประทานที่มี
ประโยชน์
–	 อาหารไทย วิถีชีวิตคนไทย
เรียบง่ายมีศิลปะในการ
ดำ�เนินชีวิต อาหารไทยเป็น
สำ�รับ ประกอบด้วยข้าวและ
กับข้าวอีก ๑ - ๓ อย่าง
–	 ประเภทของอาหารไทย
อาหารคาว-หวานอาหารว่าง
หรือของกินเล่น เครื่องดื่ม
	 อาหารในท้องถิ่น : อาหาร
ไทยตามฤดูกาล ตามเทศกาล
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
112
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 	 –	 คุณภาพประชากรกับสิ่งแวดล้อมในสังคม
	 	 –	 บทบาทและหน้าที่ในการอนุรักษ์ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมทางสังคม
	๒๑.	ครูจัดความรู้และสาธิตเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ดังนี้
	 	 ๑.	 การกำ�จัดขยะมูลฝอยในเมืองไทย
	 	 	 –	 วิธีจัดแยก
				 ขยะเปียก	 (ขยะสลายได้ เช่น พืชผักผลไม้ ฯ)
				 ขยะแห้ง	 (กระดาษ เศษผ้า แก้ว โลหะ ขยะที่นำ�ไปขายหรือ
	 	 	 เปลี่ยนสภาพกลับคืนได้
				 ขยะอันตราย	 (มีสารพิษ) เช่น ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่รถ หลอดไฟ
	 	 	 ฯลฯ
	 	 	 –	 วิธีแยกขยะลงถัง ขยะเปียกถังเขียว แห้งสีเหลือง อันตรายสีแดง
	 	 	 –	 การปฏิบัติตนในการลดปัญหาขยะมาก (คิดก่อนซื้อ คิดก่อนทิ้ง  
	 	 แยกก่อนทิ้ง)
	 	 ๒.	ครูแบ่งนักเรียนเป็น ๓ กลุ่ม ให้เก็บขยะเปียก (เศษผัก เปลือกผลไม้)
	 เก็บขยะแห้ง (กระดาษขวด ฯลฯ) ขยะมีพิษ เช่น หลอดไฟฉาย โดย
	 แยกส่วนของขยะใส่ถุงพลาสติก นำ�ส่งครูในชั่วโมงหน้า
	๒๒.	ครูนำ�ขยะเปียกที่นักเรียนนำ�มาส่งครูสาธิตการทำ�ปุ๋ยชีวภาพ และให้
นักเรียน ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม
	๒๓.	ครูสรุปความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมการกำ�จัดขยะมูลฝอยเขียน
แผนภูมิ
	๒๔.	ครูนักเรียนสนทนาจากภาพในเรื่อง “บ้านเมืองสะอาด ปราศจากโรคภัย”
ซึ่งนอกจากจะมีการกำ�จัดขยะมูลฝอยแล้ว ควรมีการปลูกและรักษาต้นไม้
เพื่ออากาศ สุขภาพที่ดี
	๒๕.	ครูสาธิตการปลูกไม้กระถางแบ่งกลุ่มนักเรียนปลูกต้นไม้กระถางแบบต่างๆ
ตามความชอบ
	๒๖.	จัดให้มีการแข่งขันตอบปัญหาเกี่ยวกับการอนุรััักษ์พลังงานสิ่งแวดล้อม
	๒๗.	บันทึกข้อมูลเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม ครู นักเรียนร่วมกันจัดบอร์ด
ความรู้ เรื่องสิ่งแวดล้อมทางสังคม
–	 การแยกขยะ ควรปฏิบัติจน
เป็นกิจนิสัย
–	 การทำ�ปุ๋ยจากเศษอาหาร และ
ใบไม้ ช่วยให้สิ่งแวดล้อม
เกิดความสมดุล ไม่เป็น
อันตราย ต่อคนและสัตว์
–	 สร้างปลุกจิตสำ�นึกให้ทุกคน
ตระหนักในหน้าที่ที่ต้อง
ช่วยกัน จากเรื่องเล็กใน
โรงเรียน ในบ้าน เช่น การ
แยกขยะ ถ้าไม่ทำ�จะกลาย
เป็นปัญหาโลกร้อน
–	 ควรส่งเสริมให้นักเรียน
	 ปฏิบัติที่บ้านทุกบ้าน
แหล่งอากาศเสีย
๑.	การคมนาคมขนส่ง
๒.	โรงงานอุตสาหกรรม
๓.	การก่อสร้าง และการระเบิด
หิน
๔.	การทำ�เกษตรกรรม
๕.	ขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลจาก
บ้าน โรงเรียน ตลาด ชุมชน
ต่างๆ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
113
๕.	สื่อและแหล่งการเรียนรู้
	 ๑.	ภาพเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางสังคม เช่น บ้าน วัดต่างๆ หมู่บ้าน โบราณสถาน ศิลปะการแต่งกาย นาฏศิลป์
การเคารพ ภาพประเพณีต่างๆ
	 ๒.	ตัวอย่างสินค้า หนึ่งตำ�บลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (ภูมิปัญญาชาวบ้าน)
	 ๓.	ถังขยะสีต่างๆ (ตามที่รัฐกำ�หนด สีเขียว เหลือง แดง) ขยะต่างๆ
	 ๔.	อุปกรณ์เกี่ยวกับการทำ�ปุ๋ยชีวภาพ
	 ๕.	อุปกรณ์การปลูกต้นไม้
	 ๖.	กระดาษ สีเมจิก แผนภูมิผังความคิด
	 ๗.	ของจริง ท้องถิ่น อาหารภาคต่างๆ
	 ๘.	วิทยากร ตำ�รา สื่อเกี่ยวกับท้องถิ่น เช่น สไลด์ เรื่องท้องถิ่น
	 ๙.	บทเรียนสำ�เร็จรูป ชุดการสอน แบบทดสอบหลังบทเรียน
๖.	การวัดผลประเมินผล
	 ๑.	ด้านความรู้ ประเมินผลจากการตอบคำ�ถามและทำ�แบบฝึกหัดหลังบทเรียน
	 ๒.	ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมสัังเกตจากพฤติกรรม การรวมกิจกรรมกลุ่ม การรายงานผลงาน
การแสดงท่าทางประกอบคำ�พูดโต้ตอบแสดงความคิดเห็น
๗.	บันทึกผลหลังการสอน
	 ๑.	ดูผลจากการปฏิบัติจริง และการแสดงความคิดเห็น
	 ๒.	การให้ความรู้ และแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนๆ
	 ๓.	การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในทางบอกเป็นรายบุคคล
๘.	ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะผู้บริหาร
	 ๑.	ควรจัดทำ�โครงงาน เรื่องแยกขยะ และทำ�ปุ๋ยชีวภาพให้เป็นผลทางปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
	 ๒.	แลกเปลี่ยนความคิดเห็นแและข้อมูลระหว่างโรงเรียนเครือข่าย
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
114
โลกสวย ประหยัดทรัพยากร
และรักษาสิ่งแวดล้อม
พว.
แยกขยะ
โรงเรียนสะอาด
มีรายได้เสริม
สร้างนิสัยที่ดี
ทำ�ปุ๋ยชีวภาพ
ปลอดภัย มีรายได้
ใช้ปุ๋ยชีวภาพปลูกต้นไม้
โรงเรียนสวย
ใช้ปุ๋ยชีวภาพปลูกผักผลไม้
สุขภาพดี
ปลอดสารพิษ
๙. ภาคผนวก
ทำ�ผังความคิดจากหน้า ๓
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
115
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส ๕.๒	 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม	มีจิตสำานึก	และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม	เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ป.	๑/๑	 บอกสิ่งต่างๆ	ที่เกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์
ป.	๑/๒	 สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว
ป.	๑/๓	 มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน
๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
	 ๑.	สนทนาและอภิปรายเกี่ยวกับความเจริญ	และสถานที่ท่องเที่ยวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ	และภาคใต้	
และแหล่งวัฒนธรรม	ศิลปหัตถกรรม	ตลอดจนการเดินทางท่องเที่ยว
	 ๒.	วิเคราะห์เกี่ยวกับปัจจัยทางภูมิศาสตร์	ที่มีผลต่อพัฒนาการ	การตั้งถิ่นฐาน	และการดำารงชีวิตได้
	 ๓.	บอกและอธิบายเกี่ยวกับการพัฒนาการ	การตั้งถิ่นฐานได้
	 ๔.	บอกผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากภูมิปัญญาไทย	ภูมิปัญญาท้องถิ่นได้
	 ๕.	รวบรวมและอภิปรายเกี่ยวกับเอกลักษณ์ไทย	และอุปนิสัยคนไทยได้
๓. สาระสำาคัญ
	 ๑.	สถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน
	 ๒.	การปฏิบัติตนเป็นนักท่องเที่ยวที่ดี
	 ๓.	การอนุรักษ์สถานที่ท่องเที่ยว
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย
ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมงป.๑-๓
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
116
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
ฝึกสมาธิก่อนเรียน
	๑.	 สนทนาเกี่ยวกับภาพและหนังสือที่ครูให้ไปอ่าน ค้นคว้าเกี่ยวกับสถานที่
ท่องเที่ยวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ และแหล่งวัฒนธรรม
ศิลปหัตถกรรมในภาคต่างๆครูตั้งคำ�ถามเช่น
	 	 –	 นักเรียนเคยไปเที่ยวทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือไม่ เคยไป
	 จังหวัดใดบ้าง
	 	 –	 พระธาตุพนมอยู่ในจังหวัดใดมีความสำ�คัญอย่างไร
	 	 –	 จังหวัดนครพนมอยู่บนฝั่งแม่นํ้าอะไร
	 	 –	 ติดกับประเทศอะไร
	 	 –	 จังหวัดใดบ้างที่ตั้งอยู่บนฝั่งแม่นํ้าโขง
	 	 –	 เรามีสะพานข้ามไทย-ลาวที่จังหวัดใดบ้าง
	 	 –	 งานศิลปาชีพที่ขึ้นชื่อว่างดงามของภาคตะวันออกเฉียงเหนือคืออะไร
	 	 –	 จังหวัดใดบ้างในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ขึ้นชื่อว่าทอผ้าไหมสวย
	 ที่สุด
	 	 –	 คนไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(อีสาน)มีอุปนิสัยอย่างไร
	 	 –	 ภาคใต้มีสถานที่ท่องเที่ยวอะไรบ้าง สถานที่ท่องเที่ยวใดที่ขึ้นชื่อว่า
	 งดงามที่สุด
	 	 –	 เศรษฐกิจทางภาคใต้ในปัจจุบันนี้เป็นอย่างไร/ภาคเหนือ/ภาคอีสาน...
	 	 –	 คนไทยภาคใต้มีอุปนิสัยอย่างไร
	 	 –	 ชาวไทยภาคใต้นับถือศาสนาใดบ้าง
	 	 –	 ปัญหาของภาคใต้มีอะไรบ้างเราควรแก้ปัญหาอย่างไร
	 	 –	 นักท่องเที่ยวนิยมไปเที่ยวจังหวัดใดทางภาคใต้มากที่สุดเพราะเหตุใด
	 	 –	 นักเรียนชอบเที่ยวภาคใดมากที่สุด ในจำ�นวน ๔ ภาคของประเทศไทย
	 (กลางเหนือใต้ตะวันออกเฉียงเหนือ)เพราะเหตุใด
	 	 –	 ถ้าเราจะส่งเสริมการท่องเที่ยวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เราควรทำ�
	 อย่างไร
	 	 –	 ถ้านักเรียนต้องการส่งเสริมการท่องเที่ยวหัวหินและจังหวัดประจวบ-
	 คีรีขันธ์ ควรส่งเสริมอย่างไร และควรทำ�อย่างไรบ้างในฐานะประชาชน
	 และควรทำ�อย่างไรบ้างในฐานะผู้บริหารส่วนท้องถิ่น
	 	 –	 นักเรียนคิดว่า การส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยไม่มีขีดจำ�กัด หรือไม่จำ�กัด
	 ปริมาณจะมีผลดีผลเสียอย่างไรจงอธิบาย
	๒.	 ร้องเพลงประกอบท่าทาง เพลงใดก็ได้ที่ส่งเสริมการท่องเที่ยว หรือ
เกี่ยวกับประเทศของเรา จังหวัดใดจังหวัดหนึ่งก็ได้ อภิปรายเกี่ยวกับ
เนื้อเพลง
–	 ภาพ แผนภูมิ วีดิทัศน์
	 โทรทัศน์ ซีดี
–	 หนังสือ สารานุกรมไทยฯ
เล่มที่ ๒๙
–	 การช่างพื้นบ้าน มีหลาย
ประเภท เช่น ช่างไม้
ช่างเหล็ก ช่างจักสาน ช่าง
เครื่องปั้นดินเผา ช่างทอผ้า
ช่างทอง ช่างเงิน ช่างเครื่อง
ลงหิน ช่างปั้น ช่างแกะสลัก
ในอดีตช่างพื้นบ้านมีอยู่ทุก
ครอบครัว ผู้หญิงทอผ้า ผู้ชาย
ทำ�เครื่องมือ เครื่องใช้ในครัว
เรือน
	 กิจกรรม : สำ�รวจช่างพื้น
บ้านในชุมชน จังหวัดต่างๆ
–	 การเดินทางเส้นทาง
	 ธรรมชาติ
–	 การส่องสัตว์ ดูนก
–	 การสำ�รวจถํ้า นํ้าตก
–	 การปีนเขา
–	 การล่องแก่ง
–	 การนั่งเรือแพฯ
–	 การขี่ม้า/นั่งช้าง
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
รูปแบบการท่องเที่ยว
แนวทางการพัฒนา
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
ในประเทศไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
117
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	๓.	 กลุ่มนักเรียนเขียนผังความคิด (Mind Mapping) เกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยว
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ ตามขั้นตอนการเรียนรู้ (ดูตัวอย่าง
ตามแผนฯที่แล้วๆมา)
	 	 	 เมื่อแต่ละกลุ่มเขียนผังความคิดแล้ว ให้วิเคราะห์ดูว่า สิ่งที่อาจได้จาก
การศึกษา เกี่ยวข้องกับภูมิศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ประวัติศาสตร์ สังคมศึกษา
และวัฒนธรรมอย่างไรบ้างเช่น
	 	 	 	 ให้กลุ่มร่วมกันอภิปราย จนเกิดข้อคิดสรุปได้หัวเรื่องที่จะศึกษา
ในเชิงลึกต่อไป
	 	 	 	 รายงานหน้าชั้นอภิปรายซักถาม
	๔.	 แสดงบทบาทสมมติ ตามเรื่องที่วิเคราะห์ในข้อ ๓ เพื่อให้เข้าใจประวัติ-
ศาสตร์ สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม เศรษฐกิจ แสดงความชื่นชม
กลุ่มที่แสดงได้ดี
	๕.	 บันทึกพฤติกรรมวัดผลประเมินผล
–	 การขี่จักรยานฯ
–	 การกางเต็นท์พักแรม
–	 การดำ�นํ้า
หมายเหตุ ถ้าชุมชนที่โรงเรียน
ตั้งอยู่มีกิจกรรมใด ควรนำ�
นักเรียนสนทนาเรื่องนั้นๆ และ
ให้นักเรียนหาข้อมูลเพิ่มเติม
พร้อมแสดงความคิดเห็น
จากสารานุกรมไทยฯ ฉบับเสริม
ความรู้ เล่มที่ ๔
พว.
นครพนม
พระธาตุพนม
ร้านอาหาร
เขื่อน
ผ้าไหม
เรณูนคร
ไร่ยาสูบ ประเพณีไหลเรือไฟ
ฝั่งลาว
นํ้าตกตาดโพธิ์
แม่นํ้าโขง
เครื่องเงิน
เครื่องใช้ในครัวเรือน
ช่างโลหะ
ช่างต่อเรือ ช่างทำ�เกวียน
ช่างตีเหล็ก
เครื่องจักสาน
กระบุง
กระจาด
ตะกร้า
กระพ้อม
งานช่างไม้
สร้างบ้านเรือน
พว.
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
118
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส ๕.๒	 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม	มีจิตสำานึก	และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม	เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ป.	๑/๑	 บอกสิ่งต่างๆ	ที่เกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์
ป.	๑/๒	 สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว
ป.	๑/๓	 มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน
๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
	 ๑.	บอกประวัติบุคคลสำาคัญในชุมชนและในประวัติศาสตร์ได้
	 ๒.	สนทนา	อภิปราย	ถึงยุคสมัยที่สัมพันธ์กับอดีต	ปัจจุบัน	และอนาคตได้
	 ๓.	ใช้แผนที่	แผนผัง	เครื่องมือ	ทางภูมิศาสตร์	ค้นหาข้อมูลในพื้นที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวได้
	 ๔.	อภิปรายเกี่ยวกับความเป็นอยู่ของคนไทยในภูมิภาคตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงได้
	 ๕.	สนทนาและวิเคราะห์เกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานและผลกระทบจากภายนอกที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
๓. สาระสำาคัญ
	 ๑.	สถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน
	 ๒.	การปฏิบัติตนเป็นนักท่องเที่ยวที่ดี
	 ๓.	การอนุรักษ์สถานที่ท่องเที่ยว
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย
ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมงป.๑-๓
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
119
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
แบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ๔ - ๕คน
	๑.	 ครูให้นักเรียนทำ�โครงงานเกี่ยวกับประวัติบุคคลสำ�คัญในชุมชน และ
ในประวัติศาสตร์(อาจให้งานก่อนเรียนให้ทำ�กิจกรรมสืบค้นหลังกล้อง)
	๒.	 ตั้งคำ�ถามเช่น
	 	 –	 ในสังคมของเรามีบุคคลสำ�คัญใครบ้างให้บอกชื่อหรือหาภาพประกอบ
	 	 –	 ให้บอกสมัย(พ.ศ.)ที่บุคคลสำ�คัญเหล่านั้นมีชีวิตอยู่และกิจกรรม
	 	 –	 นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนผังความคิดประกอบคำ�อธิบาย และ
	 ภาพหรือวาดภาพ
	๓.	 นักเรียนดูแผนที่ แผนผังชุมชน หรือจังหวัด แล้วบอกสถานที่ท่องเที่ยว
พร้อมกับแนะนำ�ว่าสถานที่นั้นๆ มีความสำ�คัญ น่าสนใจ หรือเกี่ยวข้องกับ
เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์อย่างไร
	๔.	 ศึกษาและค้นคว้าเกี่ยวกับหมู่บ้านต่างๆ ในชุมชน และจังหวัด โดยศึกษา
ในหัวข้อ
	 	 –	 ที่ตั้ง
	 	 –	 อาชีพ
	 	 –	 ความเป็นอยู่(ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง?)
	 	 –	 ภูมิปัญญาชาวบ้าน
	 	 	 ฯลฯ
	๕.	 กลุ่มที่ศึกษา ผลัดกันมารายงานหน้าชั้น และวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น
ในหัวข้อ
	 	 –	 ปัจจัยพื้นฐานในการตั้งหมู่บ้าน
	 	 –	 ผลกระทบจากภายนอก
	 	 –	 ปัจจัยส่งเสริมการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาท้องถิ่น
	 	 –	 อิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาท้องถิ่น
	๖.	 ร้องเพลงพื้นบ้าน และเพลงเกี่ยวกับท้องถิ่นในชุมชน อาจเป็นเพลง
กล่อมลูกกลอนชาวบ้านฯลฯโดยครูและนักเรียนช่วยกันรวบรวม
	๗.	 แสดงบทบาทสมมติ เกี่ยวกับ “การท่องเที่ยวเพื่อศึกษาในชุมชน” และ
เขียนรายงาน
	๘.	 กลุ่มนักเรียน ตรวจดูข่าวในหนังสือพิมพ์ เกี่ยวกับการส่งเสริมการท่องเที่ยว
ในชุมชนและจังหวัด และรายงานหน้าชั้น จัดป้ายนิเทศ จัดทำ�สมุดแนะนำ�
การท่องเที่ยวในชุมชนสนทนาเกี่ยวกับปัญหาการท่องเที่ยว
	 	 –	 เราควรส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ใดบ้าง
	 	 –	 เพราะเหตุใด
ภาพโทรทัศน์ วีดิทัศน์ ซีดี
–	 เชิญวิทยากร และผู้เชี่ยวชาญ
ในด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์
มาบรรยายให้นักเรียนฟัง
–	 จัดประชุม ปฏิบัติการร่วมกับ
เครือข่าย ผู้ปกครองที่สนใจ
–	 หนังสือศิลปกรรมพื้นบ้าน
	 องค์การค้าคุรุสภา
พว.
ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน
การก่อสร้าง
ภาพเขียนภาพปั้น
อื่นๆ
เครื่องเคลือบ
ดินเผา
การทอผ้าฯ
เครื่อง
จักสาน
หัตถกรรม
โลหะ
การ
แกะสลัก
สร้างบุคลากรในการ
ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์
สถานศึกษา
หน่วยงาน
ผู้ประกอบการ
วิทยากร
ท้องถิ่น
ผู้ชำ�นาญ
การฝึกสอน
นักกิจกรรม
เดินป่าดูนก
ฯลฯ
พว.
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 5+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u5_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 5+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u5_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 5+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u5_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 5+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u5_soc

More Related Content

What's hot

หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียนแบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียนKansinee Kosirojhiran
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3ทศพล พรหมภักดี
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนmonnawan
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์Kansinee Kosirojhiran
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...suree189
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติKantiya Dornkanha
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 

What's hot (20)

หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียนแบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Homeแบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
 
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 5+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u5_soc

โครงการการรักษ์โลกอย่างยั่งยืน
โครงการการรักษ์โลกอย่างยั่งยืนโครงการการรักษ์โลกอย่างยั่งยืน
โครงการการรักษ์โลกอย่างยั่งยืนTanwalai Kullawong
 
รายงานการสังเคราะห์ กลยุทธ์ 2
รายงานการสังเคราะห์ กลยุทธ์ 2รายงานการสังเคราะห์ กลยุทธ์ 2
รายงานการสังเคราะห์ กลยุทธ์ 2prsaowalak
 
เอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อม
เอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อมเอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อม
เอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อมrbsupervision
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งTaweesak Poochai
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54somchaitumdee50
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10kruchaily
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้Sompop Petkleang
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔srkschool
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 5+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u5_soc (20)

มาตรฐาน
มาตรฐานมาตรฐาน
มาตรฐาน
 
โครงการการรักษ์โลกอย่างยั่งยืน
โครงการการรักษ์โลกอย่างยั่งยืนโครงการการรักษ์โลกอย่างยั่งยืน
โครงการการรักษ์โลกอย่างยั่งยืน
 
รายงานการสังเคราะห์ กลยุทธ์ 2
รายงานการสังเคราะห์ กลยุทธ์ 2รายงานการสังเคราะห์ กลยุทธ์ 2
รายงานการสังเคราะห์ กลยุทธ์ 2
 
เอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อม
เอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อมเอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อม
เอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อม
 
ความสำคัญ
ความสำคัญความสำคัญ
ความสำคัญ
 
ความสำคัญ
ความสำคัญความสำคัญ
ความสำคัญ
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
ด้านที่ 1
ด้านที่ 1ด้านที่ 1
ด้านที่ 1
 
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
 
ผลการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียง
ผลการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียงผลการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียง
ผลการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียง
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
 

More from Prachoom Rangkasikorn

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....Prachoom Rangkasikorn
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....Prachoom Rangkasikorn
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 

More from Prachoom Rangkasikorn (20)

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
 

แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 5+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u5_soc

  • 1. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 96 ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ วัฒนธรรม มีจิตสำานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ตัวชี้วัด ป. ๑/๑ บอกสิ่งต่างๆ ที่เกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ ป. ๑/๒ สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว ป. ๑/๓ มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนบอกสถานที่ท่องเที่ยวในชุมชนได้ ๒. นักเรียนบอกลักษณะกายภาพของชุมชนได้ ๓. เปรียบเทียบลักษณะกายภาพของชุมชน กับจังหวัดใกล้เคียงได้ ๔. นักเรียนบอกประวัติชุมชนและเล่าความเป็นมาในอดีตจนปัจจุบันได้ ๕. บอกได้ว่าสิ่งแวดล้อมและสถานที่ต่างๆ ในชุมชนเปลี่ยนไปจากอดีตอย่างไรบ้าง ๖. มีส่วนร่วมในการจัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านและโรงเรียน ๗. มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและสถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน ๓. สาระสำาคัญ ๑. สถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน ๒. การปฏิบัติตนเป็นนักท่องเที่ยวที่ดี ๓. การอนุรักษ์สถานที่ท่องเที่ยว หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย เรื่อง สถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมงป.๑-๓ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  • 2. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 97 ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๑. ครูให้นักเรียนดูภาพท้องถิ่น ซึ่งมีลักษณะทางกายภาพที่ประกอบด้วย ภูเขา (ที่ราบสูง, ที่ราบลุ่ม) ทะเล แม่นํ้า ป่าไม้ (ป่าดงดิบ, ป่าไม้ผลัดใบ สัตว์ป่า) มหาสมุทร ฯลฯ (ใช้สไลด์หรือภาพยนตร์สารคดีต่างๆ จะช่วย เสริมความสนใจมากขึ้น สนทนาเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ในภาพเปรียบเทียบ กัน) ๒. ครูนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับภาพชุมชนที่ตั้งบ้านของนักเรียน ตัวอย่าง ภาพชุมชนตำ�บลหัวหิน (เขาเต่า, เขาตะเกียบ) สนทนาข้อมูลจากการ สังเกตภาพ ซักถามในประเด็นท้องถิ่นของเราตั้งอยู่ในพื้นที่แบบใด, ลักษณะภูมิประเทศ - ภูมิอากาศของท้องถิ่นเราเป็นอย่างไร, ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม อาชีพประชากร วัฒนธรรมความเป็นอยู่ การแต่งกาย ฯลฯ ๓. ครูให้นักเรียนเล่นเกมชุมชนของเราเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจลักษณะ ทางกายภาพทางภูมิศาสตร์ ๔. สนทนาความรู้เกี่ยวกับการศึกษาลักษณะทางกายภาพเชิงภูมิศาสตร์ และ จำ�แนกความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบของลักษณะทางกายภาพของ ชุมชน ร่วมกันทำ�ผังความคิด (ภาคผนวก) ๕. นักเรียนแต่ละคนสำ�รวจลักษณะทางกายภาพของท้องถิ่นของตน (บ้าน) (แสวงหาข้อมูลโดยวิธีสัมภาษณ์ และจัดทำ�ใบงานส่งครูในชั่วโมงต่อไป (ใบงาน) ๖. ครูนำ�นักเรียนทัศนศึกษาท้องถิ่นใกล้โรงเรียน ให้นักเรียนบันทึกข้อมูล จากการสังเกตหรือการสอบถามบุคคลในท้องถิ่น (ใช้เวลาในวันหยุด) – ลักษณะของพื้นที่ เป็นแบบใด – ลักษณะภูมิอากาศ – ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมโดยรอบ – อาชีพ (ภูมิปัญญาในท้องถิ่น) – วัฒนธรรมของชุมชน ๗. นักเรียนนำ�ความรู้จากการทัศนศึกษามาร่วมสนทนาและอภิปรายใน ห้องเรียน ๘. นักเรียนสร้าง “ชุมชนพัฒนาที่น่าอยู่” บนกระบะทราย หรือมุมห้องเรียน ๙. นักเรียนร่วมจัดทำ�ผังความคิดเกี่ยวกับสถานที่สำ�คัญของชุมชน เช่น สถานที่ส่วนราชการ สถานที่เกี่ยวกับเรื่องศาสนาและอื่นๆ เท่าที่จำ�เป็น (ภาคผนวกที่ ๒) ๑๐. นัักเรียนร่วมร้องเพลงชุมชน (แต่งเอง) ๑๑. นักเรียนทำ�ใบงาน ภาพ วีดิทัศน์ โทรทัศน์ ซีดี – แผนภูมิคำ�ถาม (ควรใช้วิธีคิดและตั้งคำ�ถาม แบบหมวก ๖ ใบ) ดูสารานุกรมไทยเล่มที่๒๗ฯลฯ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เยี่ยมชมสวน และดูวิถีชีวิต สัมผัสกับ ธรรมชาติ เห็นคุณค่าของ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม มรดก ที่ต้องรักษา เดินป่า ขี่จักรยาน ไต่เขา ปีนผา นั่งเรือ ล่องแพ ดำ�นํ้าฯลฯ พว. นักท่องเที่ยวที่ดี เป็นมิตรรักษาแหล่ง ท่องเที่ยว ไม่ทิ้งขยะ ไม่เด็ดดอกไม้ ไม่เหยียบยํ่า พืชพรรณไม้ ไม่ขีดเขียน ไม่ทำ�ลาย พว. ผลกระทบในทางลบ ของการท่องเที่ยว ก่อให้เกิดความ เสื่อมโทรม เดือดร้อน แก่ชุมชน พว.
  • 3. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 98 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๑๒. ครูนักเรียนร่วมเล่นเกม ตามใบงานวิธีการเล่น ๑๓. เชิญวิทยากรให้ความรู้ภูมิปัญญาในท้องถิ่น ๑๔. ครูแบ่งนักเรียนเป็น ๔ กลุ่ม จัดบอร์ดนิเทศ เรื่องชุมชนหัวหิน โดย ศึกษาความรู้ จากหนังสือตำ�ราเรียน ตามหัวข้อเรื่อง กลุ่มที่ ๑ ลักษณะทางกายภาพเชิงภูมิศาสตร์ กลุ่มที่ ๒ ลักษณะภูมิอากาศ กลุ่มที่ ๓ สถานที่สำ�คัญ กลุ่มที่ ๔ อาชีพของชุมชนหัวหิน (ภูมิปัญญาท้องถิ่น) ๑๕. ครูนำ�นักเรียนทัศนศึกษาท้องถิ่นใกล้โรงเรียน ฝึกนักเรียนสังเกตและ แสวงหาข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพทางภูมิศาสตร์สังเกตลักษณะ ภูมิประเทศ อากาศ ทรัพยากรท้องถิ่น (จากของจริง) ๑๖. ครูให้นักเรียน(โดยสุ่มตัวอย่าง)ออกรายงานหน้าชั้นเรียนจากใบงานที่ครู ให้ทำ�เป็นการบ้าน โดยมีครูเป็นผู้ซักถาม อธิบาย สรุป ๑๗. ครูนำ�กระบะทรายแสดงเป็นพื้นที่ของชุมชน แบ่งกลุ่มแจกดินนํ้ามัน เพื่อสร้างหมู่บ้านชุมชนพัฒนา ๔ กลุ่ม กำ�หนดประเด็นสำ�คัญ โดย ถือแนวเศรษฐกิจ ตามหัวข้อดังนี้ ๑. แสดงลักษณะทางกายภาพทางภูมิศาสตร์ธรรมชาติ ๒. การตั้งบ้านเรือนของชุมชนที่ถูกลักษณะ ๓. สถานที่สำ�คัญของชุมชน ส่วนราชการและอื่นๆ เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล วัด ตลาด สวนสาธารณะ ห้องสมุดประชาชน สนามเด็กเล่น ฯลฯ (ตามแนวคิด) ๔. บันทึกรายงาน ๑. ประชุมวางแผนมอบงาน ๒. แสวงหาข้อมูล ๓. ดำ�เนินการจัดทำ� ๔. แสดงรายงาน ฯลฯ ๑๘. ครูนักเรียนร่วมกันวิจารณ์ผลงานของกลุ่มเพื่อนแสดงความคิดเห็นในการ วางผังชุมชน (กระบะทราย) ๑๙. เล่นเกม “ชุมชน” (ตามวิธีการเล่นในใบงาน) สรุปและวิจารณ์เพิ่มเติม ความรู้ ๒๐. นักเรียนร่วมสนทนาศึกษา“ชุมชนของนักเรียนที่อาศัยอยู่(ตำ�บลหัวหิน)” ตามลักษณะองค์ประกอบทางกายภาพเชิงภูมิศาสตร์ ๒๑. นักเรียนรวมกันจัดบอร์ดนิเทศเพื่อประเมินผลความรู้ความเข้าใจ – วิทยากรท้องถิ่น – ชุมชนศึกษา – กระบะทราย – แผนภูมิ
  • 4. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 99 ๕. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. ภาพวิว แสดงลักษณะทางกายภาพ ๒. บัตรคำ� แผนภูมิ ผังความคิด ฯลฯ ๓. วิทยากร ตำ�ราหนังสือค้นคว้า ๔. กระบะทราย ดินนํ้ามัน ๕. สถานที่ต่างๆ ของชุมชน ๖. การวัดผลประเมินผล ๑. สังเกตความสนใจ ความตั้งใจจากการร่วมกิจกรรม ๒. ซักถามการทำ�รายงาน ๓. ตรวจข้อทดสอบใบงาน ๗. บันทึกผลหลังการสอน ๑. ดูความเข้าใจ และการแสดงความคิดเห็นของนักเรียน ๒. พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นรายบุคคล ๓. ความรักในชุมชน ถิ่นฐานบ้านเกิด ๘. ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร ๑. มีโครงการ และโครงงานให้นักเรียนและครูฝึกทำ�ร่วมกัน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ และ การประชาสัมพันธ์ ทำ�ความเข้าใจกับผู้มาท่องเที่ยว ๒. เป็นเจ้าของบ้านที่ดี ไม่ละทิ้งวัฒนธรรมไทย มีคุณธรรมจริยธรรม ๙. ภาคผนวก การท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ พว. อนุรักษ์/รักษาทรัพยากร ท่องเที่ยว แยกขยะ ปลูกต้นไม้ ไม่ปล่อยนํ้าเสีย ลงทะเล กระตุ้นจิตสำ�นึก ของนักเรียน เป็นเจ้าบ้านที่ดี รักบ้านเกิด ไม่ขายของแพง ให้ความรู้ความเข้าใจ นักท่องเที่ยว ไม่ทิ้งขยะ ขอความร่วมมือ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รู้คุณค่าของ ทะเล/ภูเขา
  • 5. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 100 ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ วัฒนธรรม มีจิตสำานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ตัวชี้วัด ป. ๑/๑ บอกสิ่งต่างๆ ที่เกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ ป. ๑/๒ สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว ป. ๑/๓ มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. บอกหรืออธิบายความหมายและองค์ประกอบของแผนผัง แผนที่ ๒. สามารถสร้างและใช้แผนผัง แผนที่อย่างง่ายๆ ได้ ๓. รู้ประโยชน์และสามารถใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์อย่างง่ายๆ เพื่อค้นหาข้อมูลในพื้นที่โดยรอบตัวได้ ๔. บอกและอธิบายสถานที่ท่องเที่ยวในชุมชนได้ ๓. สาระสำาคัญ ๑.  สถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน ๒. การปฏิบัติตนเป็นนักท่องเที่ยวที่ดี ๓. การอนุรักษ์สถานที่ท่องเที่ยว หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย เรื่อง สถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมงป.๑-๓ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  • 6. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 101 ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๑. สนทนาซักถามเกี่ยวกับการเดินทางจากบ้านมาโรงเรียน เพื่อนำ�เข้าสู่เรื่อง การบอกหรือเขียนแผนผัง เช่น – นักเรียนมาโรงเรียนอย่างไร (เดิน พาหนะรถ เรือ ฯลฯ) – ในกรณีที่นักเรียนเดินมาโรงเรียน ครูซักถามนักเรียนว่า ถนนหรือ ซอยที่เดินชื่อซอยอะไร และจำ�เป็นต้องเลี้ยวซ้าย หรือเลี้ยวขวา ผ่าน สิ่งสำ�คัญอะไรบ้าง – ครูแจกใบงาน บอกให้นักเรียนทดลองเขียนแผนผัง แผนที่ การ เดินทางจากบ้านมาโรงเรียนของนักเรียน เพื่อทดสอบความรู้ความ เข้าใจ การสังเกต ๒. ครูให้นักเรียนรู้จักสัญลักษณ์ และสามารถเขียนสัญลักษณ์ การเขียน แผนผังง่ายๆ เช่น บ้าน ต้นไม้ คลอง ถนน พาหนะต่างๆ สถานที่สำ�คัญ ทางราชการ ฯลฯ ระยะทางก้าวเดิน เมตร ๓. ครูทบทวนความรู้เรื่องทิศต่างๆ สนทนาเกี่ยวกับแผนผัง แผนที่ การ เดินทางจากแผนภูมิ ๔. แบ่งกลุ่มเล่นเกม ทดสอบการเดินทางไปมาหาสู่กัน การเดินทางไปในที่ ต่างๆ เพื่อติดต่องาน และให้ผู้แทนกลุ่มออกมารายงาน โดยใช้โต๊ะ เก้าอี้ สร้างผังการเดินทาง ๕. ครูให้นักเรียนทำ�แบบทดสอบหลังบทเรียน (ตามใบงานที่ ๑) เขียน แผนผัง แผนที่จากบ้านมาโรงเรียน ๖. ครูนำ�ลูกโลก แผนที่ประเทศไทยให้นักเรียนศึกษาในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ องค์ประกอบของแผนที่ดังนี้ – เส้นละติจูด เส้นสมมุติที่ลากในแนวนอนรอบโลกในทิศตะวันตก ตะวันออก มี ๑๘๐ เส้น (บอกลักษณะภูมิอากาศ) – เส้นลองติจูด คือเส้นสมมุติที่ลากในแนวตั้ง จากทิศเหนือลงสู่ทิศใต้ มี ๓๖๐ เส้น (บอกเวลา เส้นหนึ่งห่าง ๔ นาที) – ทิศต่างๆ บนแผนที่ ด้านบนเป็นทิศเหนือ ด้านล่างเป็นทิศใต้ ด้านขวา เป็นทิศตะวันออก ด้านซ้ายเป็นทิศตะวันตก – มาตราส่วน คือ อัตราส่วนของระยะทางจริงบนภูมิประเทศ มาตราส่วน ตัวเลข เช่น อัตราส่วน ๑ : ๑๐๐,๐๐๐ – สัญลักษณ์ แทนความหมายเช่น ๏ แทนเมือง, แทนภูเขา, แทนรถไฟ, แทนแม่นํ้า ฯลฯ ๗. เล่นเกมทายที่ตั้งประเทศ เมือง จังหวัด แม่นํ้า ภูเขา ฯลฯ จากแผนที่ ประเทศไทยและลูกโลก (โดยแบ่งกลุ่มนักเรียนแจกลูกโลก แผนที่ ประจำ�กลุ่มครูบอกปัญหากลุ่มค้นคำ�ตอบบอกได้ถูกต้องและรวดเร็วถือว่าชนะ – นักเรียนเรียนไปพร้อมกับ โรงเรียนต้นทาง – นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด ใบงานตามที่ครูต้นทางสั่ง – ภาพ – แผนภูมิ – วีดิทัศน์ โทรทัศน์ ซีดี – เรียนรู้การท่องเที่ยวเชิง นิเวศน์อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม – แผนที่ชุมชน – ใบงาน – แผนที่ วีดิทัศน์ ซีดี – เขียนแผนที่ชุมชน/เมือง ที่โรงเรียนตั้งอยู่ – การรักษาสภาพแหล่งนํ้า – ระวังการปนเปื้อนของสาร เคมี – การวิเคราะห์คุณภาพนํ้าใน แม่นํ้าลำ�คลอง * มนุษย์มีส่วนเกี่ยวข้องกับการ ขาดแคลนนํ้า สาเหตุ ๑. ปริมาณนํ้าฝน ๒. ลักษณะภูมิประเทศ ๓. ขาดการวางแผนการใช้นํ้า ๔. การตัดไม้ทำ�ลายป่า ๕. เกิดมลภาวะกับแหล่งนํ้า
  • 7. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 102 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๘. แบ่งกลุ่มนักเรียน ศึกษาสถานที่ท่องเที่ยวที่สำ�คัญต่างๆ เขียนโครงงาน ท่องเที่ยว และรายงานหน้าชั้น ๙. ครูนักเรียนสนทนาเรื่อง เครื่องมือภูมิศาสตร์อย่างง่ายๆ เพื่อค้นหาข้อมูล ในพื้นที่รอบตัว – เครื่องมือบอกตำ�แหน่ง ได้แก่ ความรู้เรื่องทิศต่างๆ – สิ่งที่ช่วยในการบอกทิศ ได้แก่ เข็มทิศ การขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดวงดาว ๑๐. ฝึกเครื่องมือวัดระยะทาง เช่น จำ�นวนก้าวเดิน การใช้มาตราเมตริก (เมตร กิโลเมตร) ๑๑. นักเรียนศึกษาของจริง โดยสังเกตการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์และ บอกช่วงเวลาโดยอาศัยดวงอาทิตย์ได้ (จากใบงาน) ๑๒. ครูฝึกให้นักเรียนเขียนแผนที่ประเทศไทยตามรอยปะ ระบายสี กำ�หนด ที่ตั้งของจังหวัด เช่น กรุงเทพฯ จังหวัดที่นักเรียนอาศัยอยู่ ฯลฯ – แผนภูมิ แผนที่ประเทศไทย พร้อมจังหวัดที่นักเรียนอาศัย อยู่ – แผนภูมิ แผนที่ประเทศไทย ลงจังหวัดที่นํ้าสำ�คัญ แม่นํ้า ภูเขา ฯลฯ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน มีผล ต่อเนื่อง ยาวนาน ชุมชนได้ ประโยชน์ ดูแลทรัพยากร ร่วมมือกัน วางแผน พัฒนา ภาคผนวก การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนนํ้า ๑. การวางแผนการใช้นํ้าให้คุ้มค่า เริ่มจากบ้านและโรงเรียน ๒. การสร้างอ่างเก็บนํ้า ๓. การจัดหาภาชนะเก็บนํ้า ๔. การทำ�ฝนเทียม ๕. การรักษาแหล่งต้นนํ้าลำ�ธาร ๖. การประหยัดการใช้นํ้า ๗. การนำ�นํ้ามาหมุนเวียนใช้ใหม่ ๘. การขุดลอกคูคลองหนองบึง ๕. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. แผนผัง แผนที่ ๒. ภาพสัญลักษณ์ต่างๆ มาตราส่วน ๓. ลูกโลกจำ�ลอง แผนที่ประเทศไทย ๔. เข็มทิศ ๕. ใบงาน ๖ การวัดผลประเมินผล ๑. สังเกตความสนใจ ความตั้งใจจากการร่วมกิจกรรม ๒. ทดสอบความรู้จากการตอบคำ�ถาม การทำ�แบบทดสอบ
  • 8. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 103 ๗. บันทึกผลหลังการสอน ๑. ประเมินจากความรู้ ความคิดเห็นในเชิงสร้างสรรค์ ๒. เขียนแผนผัง แผนที่ได้ ๓. ทำ�กิจกรรมได้ ๔. รักบ้านเกิดชุมชนและให้ความร่วมมือ ๘. ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร ๑. มีโครงการ และโครงงานให้ครูและนักเรียนคิดวางแผนทำ�ร่วมกัน ๒. หาข้อมูลและประสานงานกับเครือข่ายผู้ปกครองและชุมชน ๓. มีข้อมูลประชาสัมพันธ์ชุมชน จัดบอร์ด เอกสาร สื่อ ๙. ภาคผนวก หมายเหตุ : นิเวศน์ แปลว่า บ้าน/ที่อยู่อาศัย การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์เป็นการท่องเที่ยวที่เน้นในด้านการเรียนรู้ที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต คือ พืช สัตว์ และ มนุษย์ ซึ่งเป็นการท่องเที่ยวที่จะทำ�ให้เราเห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและวัฒนธรรม การท่องเที่ยว เชิงนิเวศน์ พว. มุ่งหวังด้านการศึกษา ศึกษา ชื่นชม เพลิดเพลิน รับผิดชอบต่อระบบนิเวศน์ พอใจและเข้าใจ สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ อาศัยธรรมชาติ มีการจัดการที่ยั่งยืน ก่อให้เกิดการอนุรักษ์ ไม่รบกวนธรรมชาติ
  • 9. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 104 ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ วัฒนธรรม มีจิตสำานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ตัวชี้วัด ป. ๑/๑ บอกสิ่งต่างๆ ที่เกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ ป. ๑/๒ สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว ป. ๑/๓ มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. รู้ความหมาย สามารถบอกลักษณะ จำาแนกทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติในท้องถิ่นได้ ๒. บอกคุณค่าของการพึ่งพากันทางธรรมชาติได้ ๓. บอกประโยชน์ของสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่ทางธรรมชาติสร้างสรรค์ ๔. บอกผลกระทบต่อมนุษย์เมื่อสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติถูกทำาลาย ๕. ปฏิบัติตนเป็นผู้รักษาสิ่งแวดล้อมในการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ๓. สาระสำาคัญ ๑. สถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน ๒. การปฏิบัติตนเป็นนักท่องเที่ยวที่ดี ๓. การอนุรักษ์สถานที่ท่องเที่ยว หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย เรื่อง การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและสถานที่ท่องเที่ยว ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมงป.๑-๓ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  • 10. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 105 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๑. ครูจัดตกแต่งห้องเรียนให้มีสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติเท่าที่จะทำ�ได้ หรือ ครูนำ�นักเรียนศึกษานอกห้องเรียน ให้สังเกตสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่ อยู่รอบๆ ตัวนักเรียนแล้วบันทึกไว้โดย แบ่งนักเรียนเป็น ๒ กลุ่มย่อย เพื่อบันทึกสิ่งแวดล้อมรอบตัวจากการ สังเกต ศึกษา กลุ่มที่ ๑ บันทึกสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีอะไรบ้าง (ใบงาน) กลุ่มที่ ๒ บันทึกสิ่งแวดล้อมหรือทรััพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น มีอะไรบ้าง (ใบงาน) ๒. ผู้แทนกลุ่มรายงานหน้าชั้น ครูให้ความช่วยเหลืออธิบายเพิ่มเติม ชมเชย ๓. ครูสรุปรายงานของนักเรียนโดยแยกให้เห็นว่า “สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา เรียกว่า สิ่งแวดล้อม” “สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา มีทั้งสิ่งที่มีชีวิต และสิ่งที่ไม่มีชีวิต” “สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา มีทั้งสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และสิ่งที่ มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อประโยชน์ต่อการดำ�รงชีพ” “สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าทรัพยากรธรรมชาติ” ๔. ครู นักเรียน ร่วมกันจัดทำ�ผังความคิด (Mind Mapping) ตามแบบ ตัวอย่างท้ายภาคผนวก ๕. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มย่อยศึกษาค้นคว้าจากชุดการสอนที่ครูทำ�ขึ้น “เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติ” พร้อมรายงานในชั่วโมง/คาบต่อไป ดังนี้ กลุ่มที่ ๑ ทรัพยากรธรรมชาติ “ดิน” และ “แร่ธาตุ” กลุ่มที่ ๒ ทรัพยากรธรรมชาติ “นํ้า” กลุ่มที่ ๓ ทรัพยากรธรรมชาติ “ป่าไม้” “สัตว์ป่า” กลุ่มที่ ๔ ทรัพยากรธรรมชาติ “อากาศ” ตามหัวข้อ ๑. แหล่งที่มาของทรัพยากร ๒. ลักษณะของทรัพยากร ๓. ประโยชน์ของทรัพยากร ๖. ครูนักเรียนร่วมร้องเพลง “ป่าไม้” หรือ “ป่าดงพงพี” อาจแต่งเนื้อร้อง ทำ�นอง หรือใช้เพลงที่มีอยู่ก็ได้ ๗. เล่นเกม (ตามตัวอย่างท้ายภาคผนวก) ๘. ครูนำ�ตัวอย่างบทกลอนหรือคำ�ขวัญเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ให้นักเรียนอ่านและให้ช่วยกันแต่งเพิ่มเติม หรือ กิจกรรมสอดคล้องโรงเรียน ต้นทาง แผนภูมิ ผังความคิด ภาพ โทรทัศน์ วีดิทัศน์ แผนภูมิเพลง อุปกรณ์เล่นเกม ของจริง : ต้นไม้ ตู้ปลา อ่างปลา ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ จัดกิจกรรม ที่เหมาะสม ต้องมีการ ควบคุม ดูแล รักษา สร้างจิตสำ�นึก พว. การพัฒนาการท่องเที่ยว ส่งเสริมฯลฯ การมีส่วนร่วม ของชุมชน จัดการทรัพยากร สิ่งแวดล้อม จัดโครงสร้าง พื้นฐานและ บริหาร ศึกษาและ ให้ข้อมูล พว.
  • 11. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 106 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๙. ครูนำ�ตัวสื่อเกี่ยวกับภาพทรัพยากรธรรมชาติหรือของจริง เช่น ต้นไม้ที่ ปลูกในกระถางที่มีดินตู้ปลาที่มีนํ้าและปลาฯลฯสนทนาซักถามนักเรียน เพื่อให้เกิดการวิเคราะห์ถึงการพึ่งพาซึ่งกันและกันทางธรรมชาติ โดย ใช้คำ�ถาม เช่น ๑. ในภาพ/กระถางต้นไม้/ตู้ปลา...นักเรียนสังเกตเห็นทรัพยากรธรรมชาติ อะไรบ้าง ๒. การที่ทรัพยากรธรรมชาติอยู่ร่วมกัน เช่น ต้นไม้กับดินหรือปลากับนํ้า แสดงว่าทรัพยากรทั้งสองมีการพึ่งพากับสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ๓. วิเคราะห์หาว่าการขาดทรัพยากรธรรมชาติอย่างใดอย่างหนึ่งมีผลเสีย อย่างไร การรักษาหาดทรายให้ขาวควรทำ�อย่างไร ๑๐. ครู นักเรียน ร่วมบำ�เพ็ญประโยชน์ เรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติ ปลูกต้นไม้ เก็บขยะ ฯลฯ ๑๑. ครู นักเรียน ร่วมกันสรุป ความรู้ โดยจัดบอร์ดนิเทศ เรื่อง ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ การอนุรักษ์ทรัพยากร ๑๒. นักเรียนทำ�แบบทดสอบหลังเรียน (ใบงานที่ ๒) – กล้าไม้ เมล็ดพันธุ์ไม้ – การใช้ปุ๋ยชีวภาพมีผลต่อดิน และสิ่งแวดล้อมอย่างไร ๕. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. สถานที่จริง (ชุมชน ท้องถิ่นที่มีสภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ) ๒. สื่อของจริง กระถางต้นไม้ ตู้ปลา สัตว์ต่างๆ ๓. เพลง เกม ผังความคิด (Mind Mapping) ๔. กลอน คำ�ขวัญ เพลง ๕. ตำ�รา แบบเรียน วิทยากร ชุดการสอน ๖. ภาพวิว ชุมชนที่ตั้งอยู่ในธรรมชาติ ๖. การวัดผลประเมินผล ๑. ประเมินผลการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจจาก – การสังเกตการแสดงความคิดเห็น – สังเกตพฤติกรรมการร่วมกิจกรรมตอบคำ�ถาม การรายงานเป็นกลุ่ม ใบงาน – สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานหลังเรียน ๗. บันทึกผลหลังการสอน ๑. ประเมินผลจากการปฏิบัติจริง ๒. ความรู้ ความคิด และจิตสำ�นึกเชิงอนุรักษ์
  • 12. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 107 ๓. คุณธรรม จริยธรรม และความคิดในเชิงสร้างสรรค์ ๔. รู้จักชุมชน และท้องถิ่นของตนเองเป็นอย่างดีก่อนรู้จักเมือง จังหวัด และประเทศ ภาคผนวก มนุษย์มีส่วนทำ�ให้เกิดนํ้าท่วม สาเหตุ : ๑. ฝนตกติดต่อกันนาน ๒. ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม ๓. พื้นที่ป่าไม้ลดลงอย่างรวดเร็ว ๔. การสร้างสิ่งกีดขวางทางไหลของนํ้า การแก้ไขปัญหาการเกิดนํ้าท่วม ๑. การขุดลอกคูคลอง ๒. รูปแบบของบ้านเรือน ๓. การปลูกป่าทดแทน ๔. การสงวนรักษาป่า ๕. การสร้างเขื่อน อ่างเก็บนํ้า ๘. ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร พว. กลยุทธ์ในการพัฒนา การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ส่งเสริมการตลาด และบริการท่องเที่ยว ความสมดุล คุณภาพ กรอบการท่องเที่ยว การมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ร่วมพัฒนา ให้พัฒนาตนเอง ให้ความสำ�คัญ จัดการทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม การสงวนรักษา ป้องกัน ควบคุม ดูแล ฟื้นฟู ร่วมมือ การจัดการโครงสร้างพื้นฐาน และบริการการท่องเที่ยว พัฒนาโครงสร้าง เข้มงวดในการรักษาฯ การคมนาคม เส้นทางศึกษาธรรมชาติ บริการที่พัก การศึกษาและ สื่อความหมายธรรมชาติ อบรม ข้อมูล เป็นสื่อกลาง การลงทุน รัฐ เอกชน ชุมชน
  • 13. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 108 ประโยชน์ทางอ้อมจากป่าไม้ ๑. ทำ�ให้อุณหภูมิลดตํ่าลง ๒. รักษาต้นนํ้าลำ�ธาร ๓. ทำ�ให้ดินชุ่มชื้น ๔. ป้องกันทั้งอุทกภัยและวาตภัย ๕. ป้องกันการชะกร่อนและการพังทลายของผิวหน้าดิน ๖. เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า ๗. เป็นสถานที่ท่องเที่ยว พักผ่อนหย่อนใจ หมายเหตุ : ดูสารานุกรมไทย เล่มที่ ๒๙ และให้เด็กมีความรู้ตามวัย โดยให้สร้างจิตสำ�นึกเชิงอนุรักษ์ตั้งแต่ ป. ๑
  • 14. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 109 ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ วัฒนธรรม มีจิตสำานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ตัวชี้วัด ป. ๑/๑ บอกสิ่งต่างๆ ที่เกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ ป. ๑/๒ สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว ป. ๑/๓ มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. บอกและอธิบายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางสังคมในท้องถิ่นที่ตนอาศัยอยู่ ๒. วิเคราะห์การใช้พลังงานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งประดิษฐ์ซึ่งเป็นอาชีพในท้องถิ่นของตนอย่างเหมาะสม ภูมิใจในวิถีชีวิต ภูมิปัญญาศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ตนอยู่ ๓. เข้าร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมตามวัยของตนตามควร ๔. บอกและอธิบายเกี่ยวกับสถานที่สำาคัญๆ ในชุมชนได้ ๕. อธิบายเกี่ยวกับประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่นได้ ๖. อธิบายเกี่ยวกับภูมิปัญญาชาวบ้านได้ ๓. สาระสำาคัญ ๑. สถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน ๒. การปฏิบัติตนเป็นนักท่องเที่ยวที่ดี ๓. การอนุรักษ์สถานที่ท่องเที่ยว หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย เรื่อง เรียนรู้ประเพณีไทย ระยะเวลาในการสอน ๘ ชั่วโมงป.๑-๓ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  • 15. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 110 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๑. ครูและนักเรียนสนทนาจากภาพต่างๆ ที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางสังคม ที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ภาพโบราณ โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลป- วัฒนธรรมต่างๆ การเล่นพื้นบ้านของท้องถิ่น โรงเรียน ตลาด สถานที่ สำ�คัญทางศาสนา สวนสาธารณะ ๒. ครูซักถามปัญหาแนววิเคราะห์จากภาพดังเช่น – นักเรียนเห็นอะไรในภาพ – ใครเป็นผู้สร้างสิ่งแวดล้อมเหล่านี้ – วัตถุประสงค์ในการสร้างหรือสร้างขึ้นเพื่อเหตุผลใดทำ�ไมจึงสร้างขึ้น – ความหมายสิ่งแวดล้อมทางสังคม ๓. เล่นเกมแยกประเภทจากภาพ (ประเภทของสิ่งแวดล้อมทางสังคม) ๔. นักเรียนร่วมทำ�ผังความคิด (Mind Mapping) ๕. แบ่งกลุ่มนักเรียนศึกษานอกสถานที่ในวันหยุด แบ่งนักเรียนเป็น ๓ กลุ่ม ศึกษาดูงานสถานที่ต่างๆ ตามกลุ่มที่ได้รับมอบหมายในใบงานและแนว วิธีการตามที่ตกลง กลุ่มที่ ๑ ศิลปกรรม โบราณสถานในท้องถิ่นของตน กลุ่มที่ ๒ ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น กลุ่มที่ ๓ วิถีชีวิตและภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายเหตุ ครูเชิญวิทยากรท้องถิ่นให้ความรู้อาจเป็นพระภิกษุของวััดนั้น ชาวชุมชนของท้องถิ่นหนังสือความรู้เกี่ยวกับชุมชนภาพถ่าย หรือครูถ่ายภาพไว้ ๖. ครูให้กลุ่มรายงานผลการศึกษาหน้าชั้นเรียน ครูสรุปสิ่งเสริมความรู้ เพิ่มเติม จากภาพชุดการสอนหรือบทเรียนสำ�เร็จรูปในเรื่อง – ศิลปกรรม รูปภาพสิ่งก่อสร้าง นาฏศิลป์ ดนตรี การเล่น ฯลฯ – โบราณสถานที่สำ�คัญของประเทศไทย เช่น วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม พระปรางค์วัดอรุณราชวราราม ธนบุรี พระธาตุพนม ฯลฯ ๗. ครูจัดให้มีการแสดงบทบาทสมมติแสดงวัฒนธรรมของภาคต่างๆของไทย ในเรื่องต่อไปนี้ – การแต่งกายที่เหมาะสมถูกกาลเทศะ และสุภาพ – การพูดจาภาษาท้องถิ่น – การแสดงกิริยามารยาทที่สุภาพอ่อนโยน – การพูดด้วยวาจาสุภาพ เรียบร้อย รู้จักใช้คำ�ขอบคุณ ขอโทษ – การแสดงความเคารพต่อผู้ใหญ่และผู้มีอาวุโสกว่าตามประเพณีของไทย กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ภาพ โทรทัศน์ วีดิทัศน์ ซีดี – สารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๒๙ หน้า ๘๓ “ไทยมีวัฒนธรรม ของชาติ และของท้องถิ่น ที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง” วิทยากร รายการศึกษาทัศน์ โทรทัศน์ วีดิทัศน์ ซีดี ภาพ – นิทานพื้นบ้าน – นิทานท้องถิ่น – ตำ�นานอธิบายปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติ ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ พว. ประเทศไทยในด้านการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ มีระบบนิเวศน์ หลากหลาย มีวัฒนธรรมของ ชาติและท้องถิ่น เป็นมิตรไมตรี
  • 16. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 111 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๘. ครูสรุปเนื้อหาและพฤติกรรมให้นักเรียนทราบว่าเป็นวัฒนธรรม ระเบียบ แบบแผนเป็นสิ่งแวดล้อมทางสังคมที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อแสดงถึง ความเจริญของมนุษย์ ๙. นักเรียนทำ�แบบทดสอบ ๑๐. ครูแสดงภาพเกี่ยวกับประเพณีต่างๆ เช่น พิธีบวช พิธีแต่งงาน พิธีศพ พิธีสงกรานต์ และพิธีลอยกระทง ๑๑. อภิปรายเกี่ยวกับภาพ และซักถามประสบการณ์จากการเรียนรู้จากที่เคย พบเห็นกิจกรรมที่บ้าน ๑๒. จัดกิจกรรมประเพณีต่างๆ เท่าที่จะดำ�เนินการได้ เช่น – กิจกรรมขอพรผู้ใหญ่วันสงกรานต์ – กิจกรรมลอยกระทง ร่วมร้องเพลงลอยกระทง ฝึกประดิษฐ์กระทง ๑๓. นักเรียนทำ�แบบทดสอบ (ใบงาน) และนัดศึกษานอกสถานที่ในวันหยุด ๑๔. ครูจัดให้มีการแสดงบทบาทสมมติแสดงวัฒนธรรมของภาคต่างๆของไทย ในเรื่องต่อไปนี้ในวันหยุด โดยแบ่งกลุ่มเป็น ๔ กลุ่มศึกษาตามหัวข้อดังนี้ กลุ่มที่ ๑ ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะการสร้างบ้านในชุมชนท้องถิ่น กลุ่มที่ ๒ ศึกษาเกี่ยวกับการประกอบอาชีพของชุมชนท้องถิ่น กลุ่มที่ ๓ ศึกษาภูมิปัญญาชาวบ้าน หนึ่งผลิตภัณฑ์หนึ่งตำ�บลซึ่งเป็น สิ่งประดิษฐ์ที่มีคุณค่าการสร้างสรรค์ในท้องถิ่น กลุ่มที่ ๔ ศึกษาเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม การ แต่งกาย และอาหารการกิน ๑๕. กลุ่มรายงานผลการศึกษาตามที่รับมอบหมาย (จากใบงาน) ๑๖. ครูนำ�ตัวอย่างอาหารภาคต่างๆ ให้นักเรียนรู้จักและทดลองชิม เช่น แกงเหลือง แกงไตปลา (อาหารใต้) ส้มตำ� นํ้าตก ซุบหน่อไม้ (อาหาร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) แกงจืด แกงส้ม ผัดต่างๆ (อาหารภาคกลาง) ขนมภาคต่างๆ ๑๗. นักเรียนทดลองปรุงอาหารภาคต่างๆ ตามที่ตนชอบ ๑๘. ครูนักเรียนร่วมอภิปรายวิเคราะห์ถึงความเป็นอยู่อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม ทางกายภาพที่มีต่อวิถีชีวิตการดำ�เนินชีวิตของชุมชนในท้องถิ่นของตน และสรุปความรู้จากการรายงาน ๑๙. ครูนักเรียนสนทนาสรุปเนื้อหาความสำ�คัญของสิ่งแวดล้อมทางสังคม ๒๐. ครูให้นักเรียนดูภาพ (หรือฉายสไลด์) เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมต่างๆ ในบ้าน โรงเรียนและชุมชน สนทนาเรื่อง – ภาวะประชากรในชุมชน การเปลี่ยนแปลงของประชากร – ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงจำ�นวนประชากรที่มีต่อสิ่งแวดล้อม – ประเพณีต่างๆ ในท้องถิ่น ควรจัดทำ�ปฏิทินว่ามีการจัด กิจกรรมเกี่ยวกับประเพณี ต่างๆ เมื่อใด และมีความ สำ�คัญอย่างไร – การละเล่นพื้นบ้านของไทย ศิลปวัฒนธรรมของการเล่น เพลง การร่ายรำ� และการ ละเล่นที่แปลกๆ แตกต่างกัน ออกไปในท้องถิ่น – การละเล่นพื้นบ้านแสดงออก ซึ่งศิลปะของอารมณ์ที่ เบิกบาน เด็กไทยก็มีการละเล่นที่ดี แบบง่ายๆ เช่น เล่นโพงพาง แม่งู เอ๋ย จำ�จี้มะเขือเปราะ ขี่ม้าส่งเมือง มอญซ่อนผ้า ฯลฯ – อาหารในท้องถิ่น วิธีปรุง อาหาร วิธีรับประทานที่มี ประโยชน์ – อาหารไทย วิถีชีวิตคนไทย เรียบง่ายมีศิลปะในการ ดำ�เนินชีวิต อาหารไทยเป็น สำ�รับ ประกอบด้วยข้าวและ กับข้าวอีก ๑ - ๓ อย่าง – ประเภทของอาหารไทย อาหารคาว-หวานอาหารว่าง หรือของกินเล่น เครื่องดื่ม อาหารในท้องถิ่น : อาหาร ไทยตามฤดูกาล ตามเทศกาล
  • 17. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 112 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – คุณภาพประชากรกับสิ่งแวดล้อมในสังคม – บทบาทและหน้าที่ในการอนุรักษ์ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมทางสังคม ๒๑. ครูจัดความรู้และสาธิตเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ดังนี้ ๑. การกำ�จัดขยะมูลฝอยในเมืองไทย – วิธีจัดแยก ขยะเปียก (ขยะสลายได้ เช่น พืชผักผลไม้ ฯ) ขยะแห้ง (กระดาษ เศษผ้า แก้ว โลหะ ขยะที่นำ�ไปขายหรือ เปลี่ยนสภาพกลับคืนได้ ขยะอันตราย (มีสารพิษ) เช่น ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่รถ หลอดไฟ ฯลฯ – วิธีแยกขยะลงถัง ขยะเปียกถังเขียว แห้งสีเหลือง อันตรายสีแดง – การปฏิบัติตนในการลดปัญหาขยะมาก (คิดก่อนซื้อ คิดก่อนทิ้ง แยกก่อนทิ้ง) ๒. ครูแบ่งนักเรียนเป็น ๓ กลุ่ม ให้เก็บขยะเปียก (เศษผัก เปลือกผลไม้) เก็บขยะแห้ง (กระดาษขวด ฯลฯ) ขยะมีพิษ เช่น หลอดไฟฉาย โดย แยกส่วนของขยะใส่ถุงพลาสติก นำ�ส่งครูในชั่วโมงหน้า ๒๒. ครูนำ�ขยะเปียกที่นักเรียนนำ�มาส่งครูสาธิตการทำ�ปุ๋ยชีวภาพ และให้ นักเรียน ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม ๒๓. ครูสรุปความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมการกำ�จัดขยะมูลฝอยเขียน แผนภูมิ ๒๔. ครูนักเรียนสนทนาจากภาพในเรื่อง “บ้านเมืองสะอาด ปราศจากโรคภัย” ซึ่งนอกจากจะมีการกำ�จัดขยะมูลฝอยแล้ว ควรมีการปลูกและรักษาต้นไม้ เพื่ออากาศ สุขภาพที่ดี ๒๕. ครูสาธิตการปลูกไม้กระถางแบ่งกลุ่มนักเรียนปลูกต้นไม้กระถางแบบต่างๆ ตามความชอบ ๒๖. จัดให้มีการแข่งขันตอบปัญหาเกี่ยวกับการอนุรััักษ์พลังงานสิ่งแวดล้อม ๒๗. บันทึกข้อมูลเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม ครู นักเรียนร่วมกันจัดบอร์ด ความรู้ เรื่องสิ่งแวดล้อมทางสังคม – การแยกขยะ ควรปฏิบัติจน เป็นกิจนิสัย – การทำ�ปุ๋ยจากเศษอาหาร และ ใบไม้ ช่วยให้สิ่งแวดล้อม เกิดความสมดุล ไม่เป็น อันตราย ต่อคนและสัตว์ – สร้างปลุกจิตสำ�นึกให้ทุกคน ตระหนักในหน้าที่ที่ต้อง ช่วยกัน จากเรื่องเล็กใน โรงเรียน ในบ้าน เช่น การ แยกขยะ ถ้าไม่ทำ�จะกลาย เป็นปัญหาโลกร้อน – ควรส่งเสริมให้นักเรียน ปฏิบัติที่บ้านทุกบ้าน แหล่งอากาศเสีย ๑. การคมนาคมขนส่ง ๒. โรงงานอุตสาหกรรม ๓. การก่อสร้าง และการระเบิด หิน ๔. การทำ�เกษตรกรรม ๕. ขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลจาก บ้าน โรงเรียน ตลาด ชุมชน ต่างๆ
  • 18. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 113 ๕. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. ภาพเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางสังคม เช่น บ้าน วัดต่างๆ หมู่บ้าน โบราณสถาน ศิลปะการแต่งกาย นาฏศิลป์ การเคารพ ภาพประเพณีต่างๆ ๒. ตัวอย่างสินค้า หนึ่งตำ�บลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (ภูมิปัญญาชาวบ้าน) ๓. ถังขยะสีต่างๆ (ตามที่รัฐกำ�หนด สีเขียว เหลือง แดง) ขยะต่างๆ ๔. อุปกรณ์เกี่ยวกับการทำ�ปุ๋ยชีวภาพ ๕. อุปกรณ์การปลูกต้นไม้ ๖. กระดาษ สีเมจิก แผนภูมิผังความคิด ๗. ของจริง ท้องถิ่น อาหารภาคต่างๆ ๘. วิทยากร ตำ�รา สื่อเกี่ยวกับท้องถิ่น เช่น สไลด์ เรื่องท้องถิ่น ๙. บทเรียนสำ�เร็จรูป ชุดการสอน แบบทดสอบหลังบทเรียน ๖. การวัดผลประเมินผล ๑. ด้านความรู้ ประเมินผลจากการตอบคำ�ถามและทำ�แบบฝึกหัดหลังบทเรียน ๒. ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมสัังเกตจากพฤติกรรม การรวมกิจกรรมกลุ่ม การรายงานผลงาน การแสดงท่าทางประกอบคำ�พูดโต้ตอบแสดงความคิดเห็น ๗. บันทึกผลหลังการสอน ๑. ดูผลจากการปฏิบัติจริง และการแสดงความคิดเห็น ๒. การให้ความรู้ และแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนๆ ๓. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในทางบอกเป็นรายบุคคล ๘. ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะผู้บริหาร ๑. ควรจัดทำ�โครงงาน เรื่องแยกขยะ และทำ�ปุ๋ยชีวภาพให้เป็นผลทางปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ๒. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นแและข้อมูลระหว่างโรงเรียนเครือข่าย
  • 19. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 114 โลกสวย ประหยัดทรัพยากร และรักษาสิ่งแวดล้อม พว. แยกขยะ โรงเรียนสะอาด มีรายได้เสริม สร้างนิสัยที่ดี ทำ�ปุ๋ยชีวภาพ ปลอดภัย มีรายได้ ใช้ปุ๋ยชีวภาพปลูกต้นไม้ โรงเรียนสวย ใช้ปุ๋ยชีวภาพปลูกผักผลไม้ สุขภาพดี ปลอดสารพิษ ๙. ภาคผนวก ทำ�ผังความคิดจากหน้า ๓ w w w w w w w w
  • 20. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 115 ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ วัฒนธรรม มีจิตสำานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ตัวชี้วัด ป. ๑/๑ บอกสิ่งต่างๆ ที่เกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ ป. ๑/๒ สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว ป. ๑/๓ มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. สนทนาและอภิปรายเกี่ยวกับความเจริญ และสถานที่ท่องเที่ยวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ และแหล่งวัฒนธรรม ศิลปหัตถกรรม ตลอดจนการเดินทางท่องเที่ยว ๒. วิเคราะห์เกี่ยวกับปัจจัยทางภูมิศาสตร์ ที่มีผลต่อพัฒนาการ การตั้งถิ่นฐาน และการดำารงชีวิตได้ ๓. บอกและอธิบายเกี่ยวกับการพัฒนาการ การตั้งถิ่นฐานได้ ๔. บอกผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่นได้ ๕. รวบรวมและอภิปรายเกี่ยวกับเอกลักษณ์ไทย และอุปนิสัยคนไทยได้ ๓. สาระสำาคัญ ๑. สถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน ๒. การปฏิบัติตนเป็นนักท่องเที่ยวที่ดี ๓. การอนุรักษ์สถานที่ท่องเที่ยว หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมงป.๑-๓ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  • 21. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 116 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ฝึกสมาธิก่อนเรียน ๑. สนทนาเกี่ยวกับภาพและหนังสือที่ครูให้ไปอ่าน ค้นคว้าเกี่ยวกับสถานที่ ท่องเที่ยวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ และแหล่งวัฒนธรรม ศิลปหัตถกรรมในภาคต่างๆครูตั้งคำ�ถามเช่น – นักเรียนเคยไปเที่ยวทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือไม่ เคยไป จังหวัดใดบ้าง – พระธาตุพนมอยู่ในจังหวัดใดมีความสำ�คัญอย่างไร – จังหวัดนครพนมอยู่บนฝั่งแม่นํ้าอะไร – ติดกับประเทศอะไร – จังหวัดใดบ้างที่ตั้งอยู่บนฝั่งแม่นํ้าโขง – เรามีสะพานข้ามไทย-ลาวที่จังหวัดใดบ้าง – งานศิลปาชีพที่ขึ้นชื่อว่างดงามของภาคตะวันออกเฉียงเหนือคืออะไร – จังหวัดใดบ้างในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ขึ้นชื่อว่าทอผ้าไหมสวย ที่สุด – คนไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(อีสาน)มีอุปนิสัยอย่างไร – ภาคใต้มีสถานที่ท่องเที่ยวอะไรบ้าง สถานที่ท่องเที่ยวใดที่ขึ้นชื่อว่า งดงามที่สุด – เศรษฐกิจทางภาคใต้ในปัจจุบันนี้เป็นอย่างไร/ภาคเหนือ/ภาคอีสาน... – คนไทยภาคใต้มีอุปนิสัยอย่างไร – ชาวไทยภาคใต้นับถือศาสนาใดบ้าง – ปัญหาของภาคใต้มีอะไรบ้างเราควรแก้ปัญหาอย่างไร – นักท่องเที่ยวนิยมไปเที่ยวจังหวัดใดทางภาคใต้มากที่สุดเพราะเหตุใด – นักเรียนชอบเที่ยวภาคใดมากที่สุด ในจำ�นวน ๔ ภาคของประเทศไทย (กลางเหนือใต้ตะวันออกเฉียงเหนือ)เพราะเหตุใด – ถ้าเราจะส่งเสริมการท่องเที่ยวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เราควรทำ� อย่างไร – ถ้านักเรียนต้องการส่งเสริมการท่องเที่ยวหัวหินและจังหวัดประจวบ- คีรีขันธ์ ควรส่งเสริมอย่างไร และควรทำ�อย่างไรบ้างในฐานะประชาชน และควรทำ�อย่างไรบ้างในฐานะผู้บริหารส่วนท้องถิ่น – นักเรียนคิดว่า การส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยไม่มีขีดจำ�กัด หรือไม่จำ�กัด ปริมาณจะมีผลดีผลเสียอย่างไรจงอธิบาย ๒. ร้องเพลงประกอบท่าทาง เพลงใดก็ได้ที่ส่งเสริมการท่องเที่ยว หรือ เกี่ยวกับประเทศของเรา จังหวัดใดจังหวัดหนึ่งก็ได้ อภิปรายเกี่ยวกับ เนื้อเพลง – ภาพ แผนภูมิ วีดิทัศน์ โทรทัศน์ ซีดี – หนังสือ สารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๒๙ – การช่างพื้นบ้าน มีหลาย ประเภท เช่น ช่างไม้ ช่างเหล็ก ช่างจักสาน ช่าง เครื่องปั้นดินเผา ช่างทอผ้า ช่างทอง ช่างเงิน ช่างเครื่อง ลงหิน ช่างปั้น ช่างแกะสลัก ในอดีตช่างพื้นบ้านมีอยู่ทุก ครอบครัว ผู้หญิงทอผ้า ผู้ชาย ทำ�เครื่องมือ เครื่องใช้ในครัว เรือน กิจกรรม : สำ�รวจช่างพื้น บ้านในชุมชน จังหวัดต่างๆ – การเดินทางเส้นทาง ธรรมชาติ – การส่องสัตว์ ดูนก – การสำ�รวจถํ้า นํ้าตก – การปีนเขา – การล่องแก่ง – การนั่งเรือแพฯ – การขี่ม้า/นั่งช้าง ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ รูปแบบการท่องเที่ยว แนวทางการพัฒนา การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ในประเทศไทย
  • 22. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 117 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๓. กลุ่มนักเรียนเขียนผังความคิด (Mind Mapping) เกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยว ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ ตามขั้นตอนการเรียนรู้ (ดูตัวอย่าง ตามแผนฯที่แล้วๆมา) เมื่อแต่ละกลุ่มเขียนผังความคิดแล้ว ให้วิเคราะห์ดูว่า สิ่งที่อาจได้จาก การศึกษา เกี่ยวข้องกับภูมิศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ประวัติศาสตร์ สังคมศึกษา และวัฒนธรรมอย่างไรบ้างเช่น ให้กลุ่มร่วมกันอภิปราย จนเกิดข้อคิดสรุปได้หัวเรื่องที่จะศึกษา ในเชิงลึกต่อไป รายงานหน้าชั้นอภิปรายซักถาม ๔. แสดงบทบาทสมมติ ตามเรื่องที่วิเคราะห์ในข้อ ๓ เพื่อให้เข้าใจประวัติ- ศาสตร์ สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม เศรษฐกิจ แสดงความชื่นชม กลุ่มที่แสดงได้ดี ๕. บันทึกพฤติกรรมวัดผลประเมินผล – การขี่จักรยานฯ – การกางเต็นท์พักแรม – การดำ�นํ้า หมายเหตุ ถ้าชุมชนที่โรงเรียน ตั้งอยู่มีกิจกรรมใด ควรนำ� นักเรียนสนทนาเรื่องนั้นๆ และ ให้นักเรียนหาข้อมูลเพิ่มเติม พร้อมแสดงความคิดเห็น จากสารานุกรมไทยฯ ฉบับเสริม ความรู้ เล่มที่ ๔ พว. นครพนม พระธาตุพนม ร้านอาหาร เขื่อน ผ้าไหม เรณูนคร ไร่ยาสูบ ประเพณีไหลเรือไฟ ฝั่งลาว นํ้าตกตาดโพธิ์ แม่นํ้าโขง เครื่องเงิน เครื่องใช้ในครัวเรือน ช่างโลหะ ช่างต่อเรือ ช่างทำ�เกวียน ช่างตีเหล็ก เครื่องจักสาน กระบุง กระจาด ตะกร้า กระพ้อม งานช่างไม้ สร้างบ้านเรือน พว. w w w w w w w w
  • 23. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 118 ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ วัฒนธรรม มีจิตสำานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ตัวชี้วัด ป. ๑/๑ บอกสิ่งต่างๆ ที่เกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ ป. ๑/๒ สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว ป. ๑/๓ มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. บอกประวัติบุคคลสำาคัญในชุมชนและในประวัติศาสตร์ได้ ๒. สนทนา อภิปราย ถึงยุคสมัยที่สัมพันธ์กับอดีต ปัจจุบัน และอนาคตได้ ๓. ใช้แผนที่ แผนผัง เครื่องมือ ทางภูมิศาสตร์ ค้นหาข้อมูลในพื้นที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวได้ ๔. อภิปรายเกี่ยวกับความเป็นอยู่ของคนไทยในภูมิภาคตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงได้ ๕. สนทนาและวิเคราะห์เกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานและผลกระทบจากภายนอกที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ๓. สาระสำาคัญ ๑. สถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน ๒. การปฏิบัติตนเป็นนักท่องเที่ยวที่ดี ๓. การอนุรักษ์สถานที่ท่องเที่ยว หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมงป.๑-๓ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  • 24. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 119 ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง แบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ๔ - ๕คน ๑. ครูให้นักเรียนทำ�โครงงานเกี่ยวกับประวัติบุคคลสำ�คัญในชุมชน และ ในประวัติศาสตร์(อาจให้งานก่อนเรียนให้ทำ�กิจกรรมสืบค้นหลังกล้อง) ๒. ตั้งคำ�ถามเช่น – ในสังคมของเรามีบุคคลสำ�คัญใครบ้างให้บอกชื่อหรือหาภาพประกอบ – ให้บอกสมัย(พ.ศ.)ที่บุคคลสำ�คัญเหล่านั้นมีชีวิตอยู่และกิจกรรม – นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนผังความคิดประกอบคำ�อธิบาย และ ภาพหรือวาดภาพ ๓. นักเรียนดูแผนที่ แผนผังชุมชน หรือจังหวัด แล้วบอกสถานที่ท่องเที่ยว พร้อมกับแนะนำ�ว่าสถานที่นั้นๆ มีความสำ�คัญ น่าสนใจ หรือเกี่ยวข้องกับ เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์อย่างไร ๔. ศึกษาและค้นคว้าเกี่ยวกับหมู่บ้านต่างๆ ในชุมชน และจังหวัด โดยศึกษา ในหัวข้อ – ที่ตั้ง – อาชีพ – ความเป็นอยู่(ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง?) – ภูมิปัญญาชาวบ้าน ฯลฯ ๕. กลุ่มที่ศึกษา ผลัดกันมารายงานหน้าชั้น และวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น ในหัวข้อ – ปัจจัยพื้นฐานในการตั้งหมู่บ้าน – ผลกระทบจากภายนอก – ปัจจัยส่งเสริมการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาท้องถิ่น – อิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ๖. ร้องเพลงพื้นบ้าน และเพลงเกี่ยวกับท้องถิ่นในชุมชน อาจเป็นเพลง กล่อมลูกกลอนชาวบ้านฯลฯโดยครูและนักเรียนช่วยกันรวบรวม ๗. แสดงบทบาทสมมติ เกี่ยวกับ “การท่องเที่ยวเพื่อศึกษาในชุมชน” และ เขียนรายงาน ๘. กลุ่มนักเรียน ตรวจดูข่าวในหนังสือพิมพ์ เกี่ยวกับการส่งเสริมการท่องเที่ยว ในชุมชนและจังหวัด และรายงานหน้าชั้น จัดป้ายนิเทศ จัดทำ�สมุดแนะนำ� การท่องเที่ยวในชุมชนสนทนาเกี่ยวกับปัญหาการท่องเที่ยว – เราควรส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ใดบ้าง – เพราะเหตุใด ภาพโทรทัศน์ วีดิทัศน์ ซีดี – เชิญวิทยากร และผู้เชี่ยวชาญ ในด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ มาบรรยายให้นักเรียนฟัง – จัดประชุม ปฏิบัติการร่วมกับ เครือข่าย ผู้ปกครองที่สนใจ – หนังสือศิลปกรรมพื้นบ้าน องค์การค้าคุรุสภา พว. ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน การก่อสร้าง ภาพเขียนภาพปั้น อื่นๆ เครื่องเคลือบ ดินเผา การทอผ้าฯ เครื่อง จักสาน หัตถกรรม โลหะ การ แกะสลัก สร้างบุคลากรในการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ สถานศึกษา หน่วยงาน ผู้ประกอบการ วิทยากร ท้องถิ่น ผู้ชำ�นาญ การฝึกสอน นักกิจกรรม เดินป่าดูนก ฯลฯ พว.