SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
แบบประเมินภาวะสมองเสื่อม
และภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
          อาจารย์แพทย์หญิงอรพิชญา ไกรฤทธิ์
      หน่วยเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ภาควิชาอายุรศาสตร์
           คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
                                มหาวิทยาลัยมหิดล
The Mini-Mental State
   Examination-Thai
Version 2002 (MMSE-T)
 แบบทดสอบสภาพสมองเสื่อมเบืองต้นฉบับภาษาไทย
                           ้
  MMSE-THAI 2002
 สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข




เอกสารอ้างอิง
เป็นแบบทดสอบที่นิยมใช้มากที่สุดในการประเมิน
     สมรรถภาพสมองทางคลินิกสําหรับผู้ป่วยสมองเสื่อม”

   Validated with standard MMSE in English
   Adjusted with educational level
   Useful in assessing competency in decision making
   Limitations for assessing progressive cognitive decline
    in individual patients over time




    MMSE-T 2002
   Orientation
   Recall
   Attention
   Calculation
   Language Manipulation
   Constructional Praxis




MMSE-T        ทดสอบอะไรบ้าง
 วันนี้วันที่เท่าไร
 วันนี้วันอะไร
 เดือนนี้เดือนอะไร
 ปีนี้ปีอะไร
 ฤดูนี้ฤดูอะไร




MMSE-T: Orientation For Time
กรณีอยู่สถานพยาบาล                     กรณีอยู่ที่บ้านของผู้ถกทดสอบ
                                                             ู
   สถานที่ตรงนี้เรียกว่าอะไร และ         สถานที่ตรงนี้เรียกว่าอะไร และ
    ชื่อว่าอะไร                            บ้านเลขที่เท่าไร
   ขณะนี้อยู่ชั้นที่เท่าไรของของตัว      ที่นี่หมู่บ้าน หรือละแวก/คุ้ม/
    อาคาร                                  ย่าน/ถนนอะไร
   ที่นี่อยู่ในอําเภออะไร                ที่นี่อยู่ในอําเภอ/เขตอะไร
   ที่นี่จังหวัดอะไร                     ที่นี่จังหวัดอะไร
   ที่นี่ภาคอะไร                         ที่นี่ภาคอะไร


MMSE-T: Orientation For Place
 บอกชื่อของ 3 อย่างแล้วให้ผู้ถูกทดสอบพูดตาม
 ต่อไปนี้เป็นการทดสอบความจํา ดิฉันจําบอกชื่อของ 3 อย่างตั้งใจฟังให้ดี
  เพราะจะบอกเพียงครั้งเดียว ไม่มีการบอกซ้ําอีก เมื่อพูดจบให้พูดตามที่
  ได้ยินให้ครบทั้ง 3 ชื่อ แล้วพยายามจําไว้ให้ดี เดี๋ยวจะถามซ้ํา
  ������ ดอกไม้ ������ แม่น้ํา ������ รถไฟ
  การบอกชื่อแต่ละคําให้ห่างกันประมาณหนึ่งวินาที ต้องไม่ช้าหรือเร็ว
  เกินไป
 ในกรณีที่ทําแบบทดสอบซ้ําภายใน 2 เดือน ให้ใช้คําว่า
  ������ ต้นไม้ ������ ทะเล ������ รถยนต์


MMSE-T: Registration
 คิดเลขในใจเพื่อทดสอบสมาธิ
 อย่าลืมถามว่าผู้สูงอายุคิดเลขในใจเป็นหรือไม่
 ให้เอา 100 ตั้ง ลบออกทีละ 7 ไปเรื่อยๆ ได้
  ผลลัพธ์เท่าไร
 บันทึกคําตอบตัวเลขไว้ทุกครั้ง (ทั้งคําตอบที่ถูกและ
  ผิด) ทําทั้งหมด 5ครั้ง


MMSE-T: Attention/Calculation
 ในกรณีที่ผสูงอายุคิดเลขในใจไม่เป็น
            ู้
 ให้ใช้สะกดคําว่า มะนาว ให้ฟังแล้วสะกดถอยหลังจาก
  พยัญชนะตัวหลังไปตัวแรก
 คําว่ามะนาวสะกดว่า มอม้า-สระอะ-นอหนู-สระอา-วอ
  แหวน แล้วให้ลองสะกดถอยหลังให้ฟงั




MMSE-T: Attention/Calculation
 เมื่อสักครู่ที่ให้จําของ 3 อย่าง จําได้ไหมมีอะไรบ้าง
  (ตอบถูก 1 คําได้ 1 คะแนน)
   ดอกไม้  แม่น้ํา  รถไฟ
 ในกรณีที่ทําแบบทดสอบซ้ําภายใน 2 เดือน ให้ใช้คําว่า
   ต้นไม้  ทะเล  รถยนต์




MMSE-T: Recall
 ยื่นดินสอให้ผู้ถูกทดสอบดูแล้วถามว่า   “ของสิ่งนี้
  เรียกว่าอะไร”
 ชีนาฬิกาข้อมือให้ผู้ถูกทดสอบดูแล้วถามว่า “ของ
     ้
  สิ่งนี้เรียกว่าอะไร”




MMSE-T: Naming
 ตั้งใจฟังให้ดี จะพูดข้อความเพียงครั้งเดียว แล้วพูดตาม
  ให้เหมือน
 “ใครใคร่ขายไก่ไข่”




MMSE-T: Repetition
 ผู้ทดสอบแสดงกระดาษเปล่าขนาดประมาณ เอ-4 ไม่มีรอยพับ
  ให้ผู้ถกทดสอบ
         ู
 “ให้รับด้วยมือขวา พับครึ่งกระดาษ แล้ววางไว้ที่ (พื้น,โต๊ะ,
  เตียง)”
  รับด้วยมือขวา  พับครึ่ง  วางไว้ท(พื้น,โต๊ะ,เตียง)
                                          ี่




MMSE-T: Verbal Command
 ให้ผู้ถูกทดสอบอ่านแล้วทําตาม


            “หลับตา”

MMSE-T: Written Command
 ให้ผู้ถูกทดสอบเขียนข้อความอะไรก็ได้ที่อ่านแล้วรู้
  เรื่องหรือมีความหมายมา 1ประโยค
 ประโยคมีความหมายให้ 1 คะแนน




MMSE-T: Written
 ให้วาดภาพเหมือนภาพตัวอย่าง




MMSE-T: Visuoconstruction
ระดับการศึกษา                              จุดตัด   คะแนนเต็ม
ไม่ได้เรียนหนังสือ (อ่านไม่ออก-เขียนไม่ได้) < 14    23
(ไม่ต้องทําข้อ 4,9,10)

เรียนระดับประถมศึกษา                       < 17     30

เรียนระดับสูงกว่าประถมศึกษา                < 22     30



การให้คะแนน MMSE-T ตามระดับ
การศึกษา
แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้าใน
        ผู้สูงอายุ
แบบประเมินอาการโรคซึมเศร้าชนิด 9 คาถาม
           1.    ไม่อยากสนใจสิ่งต่างๆ ไม่อยากทาอะไร                         0-3
           2.    ไม่รู้สึกสนุกสนานเพลิดเพลินในสิงที่เคยเพลิดเพลิน
                                                     ่                      0-3
           3.    นอนไม่หลับ หรือนอนมาก                                      0-3
           4.    อ่อนเพลียง่าย เหนื่อยล้า ไม่มีเรี่ยวแรง               0-3
           5.    เบื่ออาหาร หรือกินมาก                                      0-3
           6.    ชอบตาหนิตนเอง หรือรู้สึกผิดมากกว่าปกติ                  0-3
           7.    คิดอะไรไม่ออก หลงลืมง่าย สมาธิไม่ดี                   0-3
           8.    การเคลื่อนไหวและความคิดเชื่องช้า หรือกระวนกระวายอยู่ไม่สุข 0-3
           9.    คิดอยากตายซาๆ หรือพยายามฆ่าตัวตาย                           0-3

           จุดตัดที่ 7 ความไว 75.7% ความจาเพาะ 93.4% ถูกต้อง 92.7%
®สไลด์ของรศ.พญ.สุวรรณา อรุณพงค์ไพศาล
แบบวัดความเศร้าในผู้สูงอายุของไทย
(Thai Geriatric Depression Scale –
              TGDS)
1.   คุณพอใจกับชีวตความเป็นอยู่ตอนนี้
                      ิ                           9.   ส่วนใหญ่คุณรู้สกมีความสุข
                                                                      ึ
2.   คุณไม่อยากทําในสิ่งที่เคยสนใจหรือเคย
     ทําเป็นประจํา                                10. บ่อยครั้งที่คุณรูสึกไม่มีที่พึ่ง
                                                                       ้
3.   คุณรู้สึกชีวิตของคุณช่วงนี้ว่างเปล่าไม่รู้
     จะทํา                                        11. คุณรู้สึกกระวนกระวาย
4.   คุณรู้สึกเบื่อหน่ายบ่อย                        กระสับกระส่ายบ่อย ๆ
5.   คุณหวังว่าจะมีสิ่งที่ดีเกิดขึ้นในวันหน้า   12. คุณชอบอยู่กบบ้านมากกว่าที่จะ
                                                                  ั
                                                    ออกนอกบ้าน
6.   คุณมีเรื่องกังวลตลอดเวลา และเลิกคิด 13. บ่อยครั้งที่คุณรูสึกวิตกกังวล
                                                                     ้
     ไม่ได้                                         เกี่ยวกับชีวิตข้างหน้า
7.   ส่วนใหญ่แล้วคุณรู้สึกอารมณ์ดี              14. คุณคิดว่าความจําของคุณไม่เท่า
8.   คุณรู้สึกกลัวว่าจะมีเรื่องไม่ดีเกิดขึ้นกับ     คนอื่น
     คุณ                                        15. การที่มีชีวิตอยู่ถงปัจจุบันนี้เป็น
                                                                       ึ
                                                    เรื่องน่ายินดีหรือไม่
16. คุณรู้สึกหมดกําลังใจหรือเศร้าใจบ่อย ๆ 24. คุณอารมณ์เสียง่ายกับเรื่องเล็ก
17. คุณรู้สึกว่าชีวิตคุณค่อนข้างไม่มีคุณค่า       ๆ น้อย ๆ อยู่เสมอ
                                              25. คุณรู้สึกอยากร้องไห้บ่อย
18. คุณรู้สึกกังวลมากกับชีวิต ที่ผ่านมา       26. คุณมีความตั้งใจในการทําสิ่งหนึ่ง
                                                  สิ่งใดได้ไม่นาน
19. คุณรุ้สึกว่าชีวิตนี้ยังมีเรื่องน่าสนุกอีก 27. คุณรู้สึกสดชื่นในเวลาตื่นนอน
    มาก                                           ตอนเช้า
20. คุณรู้สึกลําบากที่จะเริ่มต้นทําอะไรใหม่ 28. คุณไม่อยากพบปะพูดคุยกับคน
    ๆ                                             อื่น
21. คุณรู้สึกกระตือรือร้น                     29. คุณตัดสินใจอะไรได้เร็ว
22. คุณรู้สึกสิ้นหวัง                         30. คุณมีจิตใจสบาย แจ่มใสเหมือน
23. คุณคิดว่าคนอื่นดีกว่าคุณ                      ก่อน
 ข้อ 1,5,7,9,15,19,21,27,29,30  ถ้าตอบว่า “ไม่ใช่” ได้ 1
  คะแนน ข้อที่เหลือถ้าตอบว่า “ใช่” ได้ 1 คะแนน
 วิธีแปลผลคะแนนรวม
  ◦ คนสูงอายุปกติ คะแนน 0-12 คะแนน
  ◦ ผู้มีความเศร้าเล็กน้อย (mild depression) คะแนน 13-18
    คะแนน
  ◦ ผู้มีความเศร้าปานกลาง (moderate depression)คะแนน 19-
    24 คะแนน
  ◦ ผู้มีความเศร้ารุนแรง(severe depression) คะแนน 25-30
    คะแนน
การแปลผล TGDS
ขอบคุณค่ะ

More Related Content

What's hot

การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดtechno UCH
 
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา Utai Sukviwatsirikul
 
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วยทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วยUtai Sukviwatsirikul
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการVorawut Wongumpornpinit
 
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...Utai Sukviwatsirikul
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้CAPD AngThong
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1Prachaya Sriswang
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โปรตอน บรรณารักษ์
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองChutchavarn Wongsaree
 

What's hot (20)

การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
 
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
 
Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017
 
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วยทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
 
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
 
22
2222
22
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
Chf
ChfChf
Chf
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
 
Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
 

Viewers also liked

แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าอำพร มะนูรีม
 
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลUtai Sukviwatsirikul
 
Chula mental test
Chula mental testChula mental test
Chula mental testtaem
 
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sssบันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sssDr.Suradet Chawadet
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าอำพร มะนูรีม
 
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชUtai Sukviwatsirikul
 
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุคู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุThanai Punyakalamba
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชKanti Bkk
 
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมแผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมNattha Namm
 
Lifestyle and Knee Osteoarthritis
Lifestyle and Knee OsteoarthritisLifestyle and Knee Osteoarthritis
Lifestyle and Knee OsteoarthritisThira Woratanarat
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)Chuchai Sornchumni
 
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านคู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านUtai Sukviwatsirikul
 
โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์Run't David
 
แบบประเมินพี่นาย
แบบประเมินพี่นายแบบประเมินพี่นาย
แบบประเมินพี่นายthotsaporn_c
 
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทากันย์ สมรักษ์
 

Viewers also liked (20)

แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
 
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
 
Chula mental test
Chula mental testChula mental test
Chula mental test
 
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sssบันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
 
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
 
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
 
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุคู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
 
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมแผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
 
Lifestyle and Knee Osteoarthritis
Lifestyle and Knee OsteoarthritisLifestyle and Knee Osteoarthritis
Lifestyle and Knee Osteoarthritis
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
 
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านคู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
 
โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์
 
แบบประเมินพี่นาย
แบบประเมินพี่นายแบบประเมินพี่นาย
แบบประเมินพี่นาย
 
Schizophrenia
SchizophreniaSchizophrenia
Schizophrenia
 
นำเสนอ Ltc nakok เขต 1
นำเสนอ Ltc nakok เขต 1นำเสนอ Ltc nakok เขต 1
นำเสนอ Ltc nakok เขต 1
 
Ltc ln2
Ltc ln2Ltc ln2
Ltc ln2
 
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
 

Similar to แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า

การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรักการจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรักSarid Tojaroon
 
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเราความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเราSuradet Sriangkoon
 
ใช้ชีวิตแบบวันต่อวัน
ใช้ชีวิตแบบวันต่อวันใช้ชีวิตแบบวันต่อวัน
ใช้ชีวิตแบบวันต่อวันpa1705
 
พ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่างพ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่างdirectorcherdsak
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้Phairot Odthon
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
หนังยางล้างใจ
หนังยางล้างใจหนังยางล้างใจ
หนังยางล้างใจUdomsak Choorith
 
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์Watpadhammaratana Pittsburgh
 
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวThunyalak Thumphila
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์duangdee tung
 

Similar to แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า (20)

Tan
TanTan
Tan
 
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรักการจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
 
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเราความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
 
Sp1 sp5
Sp1 sp5Sp1 sp5
Sp1 sp5
 
Get job hop to success
Get job hop to successGet job hop to success
Get job hop to success
 
ใช้ชีวิตแบบวันต่อวัน
ใช้ชีวิตแบบวันต่อวันใช้ชีวิตแบบวันต่อวัน
ใช้ชีวิตแบบวันต่อวัน
 
พ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่างพ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่าง
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
 
หนังยางล้างใจ
หนังยางล้างใจหนังยางล้างใจ
หนังยางล้างใจ
 
01 dreams list
01 dreams list01 dreams list
01 dreams list
 
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
 
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
 
แนวคิดดีๆ 15 ข้อ
แนวคิดดีๆ 15 ข้อแนวคิดดีๆ 15 ข้อ
แนวคิดดีๆ 15 ข้อ
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์
 
Jitpontook
JitpontookJitpontook
Jitpontook
 
Brain
BrainBrain
Brain
 

แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า

  • 1. แบบประเมินภาวะสมองเสื่อม และภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ อาจารย์แพทย์หญิงอรพิชญา ไกรฤทธิ์ หน่วยเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 2. The Mini-Mental State Examination-Thai Version 2002 (MMSE-T)
  • 3.  แบบทดสอบสภาพสมองเสื่อมเบืองต้นฉบับภาษาไทย ้ MMSE-THAI 2002  สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เอกสารอ้างอิง
  • 4. เป็นแบบทดสอบที่นิยมใช้มากที่สุดในการประเมิน สมรรถภาพสมองทางคลินิกสําหรับผู้ป่วยสมองเสื่อม”  Validated with standard MMSE in English  Adjusted with educational level  Useful in assessing competency in decision making  Limitations for assessing progressive cognitive decline in individual patients over time MMSE-T 2002
  • 5. Orientation  Recall  Attention  Calculation  Language Manipulation  Constructional Praxis MMSE-T ทดสอบอะไรบ้าง
  • 6.  วันนี้วันที่เท่าไร  วันนี้วันอะไร  เดือนนี้เดือนอะไร  ปีนี้ปีอะไร  ฤดูนี้ฤดูอะไร MMSE-T: Orientation For Time
  • 7. กรณีอยู่สถานพยาบาล กรณีอยู่ที่บ้านของผู้ถกทดสอบ ู  สถานที่ตรงนี้เรียกว่าอะไร และ  สถานที่ตรงนี้เรียกว่าอะไร และ ชื่อว่าอะไร บ้านเลขที่เท่าไร  ขณะนี้อยู่ชั้นที่เท่าไรของของตัว  ที่นี่หมู่บ้าน หรือละแวก/คุ้ม/ อาคาร ย่าน/ถนนอะไร  ที่นี่อยู่ในอําเภออะไร  ที่นี่อยู่ในอําเภอ/เขตอะไร  ที่นี่จังหวัดอะไร  ที่นี่จังหวัดอะไร  ที่นี่ภาคอะไร  ที่นี่ภาคอะไร MMSE-T: Orientation For Place
  • 8.  บอกชื่อของ 3 อย่างแล้วให้ผู้ถูกทดสอบพูดตาม  ต่อไปนี้เป็นการทดสอบความจํา ดิฉันจําบอกชื่อของ 3 อย่างตั้งใจฟังให้ดี เพราะจะบอกเพียงครั้งเดียว ไม่มีการบอกซ้ําอีก เมื่อพูดจบให้พูดตามที่ ได้ยินให้ครบทั้ง 3 ชื่อ แล้วพยายามจําไว้ให้ดี เดี๋ยวจะถามซ้ํา ������ ดอกไม้ ������ แม่น้ํา ������ รถไฟ   การบอกชื่อแต่ละคําให้ห่างกันประมาณหนึ่งวินาที ต้องไม่ช้าหรือเร็ว เกินไป  ในกรณีที่ทําแบบทดสอบซ้ําภายใน 2 เดือน ให้ใช้คําว่า ������ ต้นไม้ ������ ทะเล ������ รถยนต์ MMSE-T: Registration
  • 9.  คิดเลขในใจเพื่อทดสอบสมาธิ  อย่าลืมถามว่าผู้สูงอายุคิดเลขในใจเป็นหรือไม่  ให้เอา 100 ตั้ง ลบออกทีละ 7 ไปเรื่อยๆ ได้ ผลลัพธ์เท่าไร  บันทึกคําตอบตัวเลขไว้ทุกครั้ง (ทั้งคําตอบที่ถูกและ ผิด) ทําทั้งหมด 5ครั้ง MMSE-T: Attention/Calculation
  • 10.  ในกรณีที่ผสูงอายุคิดเลขในใจไม่เป็น ู้  ให้ใช้สะกดคําว่า มะนาว ให้ฟังแล้วสะกดถอยหลังจาก พยัญชนะตัวหลังไปตัวแรก  คําว่ามะนาวสะกดว่า มอม้า-สระอะ-นอหนู-สระอา-วอ แหวน แล้วให้ลองสะกดถอยหลังให้ฟงั MMSE-T: Attention/Calculation
  • 11.  เมื่อสักครู่ที่ให้จําของ 3 อย่าง จําได้ไหมมีอะไรบ้าง (ตอบถูก 1 คําได้ 1 คะแนน)  ดอกไม้  แม่น้ํา  รถไฟ  ในกรณีที่ทําแบบทดสอบซ้ําภายใน 2 เดือน ให้ใช้คําว่า  ต้นไม้  ทะเล  รถยนต์ MMSE-T: Recall
  • 12.  ยื่นดินสอให้ผู้ถูกทดสอบดูแล้วถามว่า “ของสิ่งนี้ เรียกว่าอะไร”  ชีนาฬิกาข้อมือให้ผู้ถูกทดสอบดูแล้วถามว่า “ของ ้ สิ่งนี้เรียกว่าอะไร” MMSE-T: Naming
  • 13.  ตั้งใจฟังให้ดี จะพูดข้อความเพียงครั้งเดียว แล้วพูดตาม ให้เหมือน  “ใครใคร่ขายไก่ไข่” MMSE-T: Repetition
  • 14.  ผู้ทดสอบแสดงกระดาษเปล่าขนาดประมาณ เอ-4 ไม่มีรอยพับ ให้ผู้ถกทดสอบ ู  “ให้รับด้วยมือขวา พับครึ่งกระดาษ แล้ววางไว้ที่ (พื้น,โต๊ะ, เตียง)”   รับด้วยมือขวา  พับครึ่ง  วางไว้ท(พื้น,โต๊ะ,เตียง) ี่ MMSE-T: Verbal Command
  • 16.  ให้ผู้ถูกทดสอบเขียนข้อความอะไรก็ได้ที่อ่านแล้วรู้ เรื่องหรือมีความหมายมา 1ประโยค  ประโยคมีความหมายให้ 1 คะแนน MMSE-T: Written
  • 18. ระดับการศึกษา จุดตัด คะแนนเต็ม ไม่ได้เรียนหนังสือ (อ่านไม่ออก-เขียนไม่ได้) < 14 23 (ไม่ต้องทําข้อ 4,9,10) เรียนระดับประถมศึกษา < 17 30 เรียนระดับสูงกว่าประถมศึกษา < 22 30 การให้คะแนน MMSE-T ตามระดับ การศึกษา
  • 20. แบบประเมินอาการโรคซึมเศร้าชนิด 9 คาถาม 1. ไม่อยากสนใจสิ่งต่างๆ ไม่อยากทาอะไร 0-3 2. ไม่รู้สึกสนุกสนานเพลิดเพลินในสิงที่เคยเพลิดเพลิน ่ 0-3 3. นอนไม่หลับ หรือนอนมาก 0-3 4. อ่อนเพลียง่าย เหนื่อยล้า ไม่มีเรี่ยวแรง 0-3 5. เบื่ออาหาร หรือกินมาก 0-3 6. ชอบตาหนิตนเอง หรือรู้สึกผิดมากกว่าปกติ 0-3 7. คิดอะไรไม่ออก หลงลืมง่าย สมาธิไม่ดี 0-3 8. การเคลื่อนไหวและความคิดเชื่องช้า หรือกระวนกระวายอยู่ไม่สุข 0-3 9. คิดอยากตายซาๆ หรือพยายามฆ่าตัวตาย 0-3 จุดตัดที่ 7 ความไว 75.7% ความจาเพาะ 93.4% ถูกต้อง 92.7% ®สไลด์ของรศ.พญ.สุวรรณา อรุณพงค์ไพศาล
  • 22. 1. คุณพอใจกับชีวตความเป็นอยู่ตอนนี้ ิ 9. ส่วนใหญ่คุณรู้สกมีความสุข ึ 2. คุณไม่อยากทําในสิ่งที่เคยสนใจหรือเคย ทําเป็นประจํา 10. บ่อยครั้งที่คุณรูสึกไม่มีที่พึ่ง ้ 3. คุณรู้สึกชีวิตของคุณช่วงนี้ว่างเปล่าไม่รู้ จะทํา 11. คุณรู้สึกกระวนกระวาย 4. คุณรู้สึกเบื่อหน่ายบ่อย กระสับกระส่ายบ่อย ๆ 5. คุณหวังว่าจะมีสิ่งที่ดีเกิดขึ้นในวันหน้า 12. คุณชอบอยู่กบบ้านมากกว่าที่จะ ั ออกนอกบ้าน 6. คุณมีเรื่องกังวลตลอดเวลา และเลิกคิด 13. บ่อยครั้งที่คุณรูสึกวิตกกังวล ้ ไม่ได้ เกี่ยวกับชีวิตข้างหน้า 7. ส่วนใหญ่แล้วคุณรู้สึกอารมณ์ดี 14. คุณคิดว่าความจําของคุณไม่เท่า 8. คุณรู้สึกกลัวว่าจะมีเรื่องไม่ดีเกิดขึ้นกับ คนอื่น คุณ 15. การที่มีชีวิตอยู่ถงปัจจุบันนี้เป็น ึ เรื่องน่ายินดีหรือไม่
  • 23. 16. คุณรู้สึกหมดกําลังใจหรือเศร้าใจบ่อย ๆ 24. คุณอารมณ์เสียง่ายกับเรื่องเล็ก 17. คุณรู้สึกว่าชีวิตคุณค่อนข้างไม่มีคุณค่า ๆ น้อย ๆ อยู่เสมอ 25. คุณรู้สึกอยากร้องไห้บ่อย 18. คุณรู้สึกกังวลมากกับชีวิต ที่ผ่านมา 26. คุณมีความตั้งใจในการทําสิ่งหนึ่ง สิ่งใดได้ไม่นาน 19. คุณรุ้สึกว่าชีวิตนี้ยังมีเรื่องน่าสนุกอีก 27. คุณรู้สึกสดชื่นในเวลาตื่นนอน มาก ตอนเช้า 20. คุณรู้สึกลําบากที่จะเริ่มต้นทําอะไรใหม่ 28. คุณไม่อยากพบปะพูดคุยกับคน ๆ อื่น 21. คุณรู้สึกกระตือรือร้น 29. คุณตัดสินใจอะไรได้เร็ว 22. คุณรู้สึกสิ้นหวัง 30. คุณมีจิตใจสบาย แจ่มใสเหมือน 23. คุณคิดว่าคนอื่นดีกว่าคุณ ก่อน
  • 24.  ข้อ 1,5,7,9,15,19,21,27,29,30 ถ้าตอบว่า “ไม่ใช่” ได้ 1 คะแนน ข้อที่เหลือถ้าตอบว่า “ใช่” ได้ 1 คะแนน  วิธีแปลผลคะแนนรวม ◦ คนสูงอายุปกติ คะแนน 0-12 คะแนน ◦ ผู้มีความเศร้าเล็กน้อย (mild depression) คะแนน 13-18 คะแนน ◦ ผู้มีความเศร้าปานกลาง (moderate depression)คะแนน 19- 24 คะแนน ◦ ผู้มีความเศร้ารุนแรง(severe depression) คะแนน 25-30 คะแนน การแปลผล TGDS