SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
อ.คณิน วงศ์ใหญ่
1. มัธยมศึกษา จากโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
2. นิติศาสตรบัณฑิต จาก
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3. นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขากฎหมายอาญา
จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
4. เนติบัณฑิตไทย สานักอบรมศึกษากฎหมาย
แห่งเนติบัณฑิตยสภา
5. ปัจจุบันศึกษา ระดับนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต ณ
มหาวิทยาลัยรามคาแหง
FB. Kanin wongyai
นายคณิน วงศ์ใหญ่
มาตรา 420 ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทาต่อบุคคลอื่น
โดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี
อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็
ดี ท่านว่า ผู้นั้นทาละเมิด จาต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการ
นั้น
Section 420. A person who, willfully or
negligently, unlawfully injures the life, body,
health, liberty, property or any right of
another person, is said to commit a
wrongful act and is bound to make
compensation therefore.
1. ผู้ใด
2. กระทา
3. จงใจ
4. ประมาทเลินเล่อ
5. ทาต่อบุคคลอื่น
6. โดยผิดกฎหมาย
7. ทาให้เขาเสียหาย
8. ค่าสินไหม
1. พายะถล่ม ภาคใต้ทาให้บ้านของนายแดงพัง
2. นายดาใช้มีดฟันนายแดง แต่นายแดงหลบได้
3. นายดาไม่ได้ตั้งใจแต่เผลอทามีดบาดนายแดงนิ้วขาด
4. นายดาเป็นลมล้มทับนายแดง ทาให้นายแดงแขนหัก
5. นายดาเป็นเพชฌฆาต จับนายแดงฉีดยาพิษตามโทษประหารที่ศาลตัดสิน
6. นายดาใช้ไม้ตีหมาที่ไม่มีเจ้าของ
7. นายดาบอกกับทุกคนว่านายแดงหน้าเหมือนเคน ภูภูมิ
1. เป็นเรื่องของความผิดกฎหมาย
2. ไม่ใช่ผิดศีลธรรม ไม่เชิงผิดกฎหมายอาญา
3. เป็นบ่อเกิดแห่งหนี้อย่างหนึ่ง อยู่ในประเภทนิติเหตุ
4. เป็นเรื่องลักษณะเฉพาะทางแพ่ง แบบหนึ่ง (ไม่ใช่ผิดสัญญา)
5. ต้องมีความสัมพันธ์ระหว่างการกระทาและผล
6. บางกรณีมีผู้ร่วมรับผิด แม่ไม่มีร่วมร่วมกับการกระทาละเมิด (ต่างจากอาญา)
บุคคล
นิติบุคคล
นิติบุคคลตามกฎหมายมหาชน
ไม่เกี่ยวอายุ (ไม่เหมือนอาญา)
ไม่เกี่ยวกับความสามารถ
รู้ตัวว่าทาอะไร
ไม่ถึงขนาดประสงค์ผล เล็งเห็นผล
รู้ว่าอะไรแล้ว เกิดความเสียหายขึ้น ต้องรับผิดชอบ ไม่
พิจารณาความประสงค์
กรณีทาร้ายแล้วตาย,ฆ่าแล้วตาย กับ รู้ตัวว่าทาอะไรแล้ว
ตาย
ความหมายเดียวกับ ประมาททางอาญา
ใช้ กฎหมายอาญา มาตรา 59 วรรค 4
กระทาโดยประมาท ได้แก่ กระทาความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่
กระทาโดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้น จัก
ต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทาอาจใช้ความ
ระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่
ภาวะ ทาอะไรอยู่
วิสัย สภาพภายในผู้กระทา
พฤติการณ์ สภาวะ ภายนอกผู้กระทา
มีโอกาสใช้ความระมันระวัง แต่ไม่ใช้
มาตรฐาน วิญญูชน (reasonable person)
ผู้ใดกระทาโดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้น
จักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทาอาจใช้ความ
ระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่
นายนิกกี้ ไม่ระวัง ขับรถเร็ว ทั้งที่ตนเป็นคนขับรถ
รับจ้างอาชีพ ตอนถนนลื่น ซึ่งไม่มีความจาเป็นต้องขับ
รถเร็ว แต่นายนิกกี้ก็ยังขับเร็ว
รถบรรทุกและข้าวสารบนรถบรรทุกของโจทก์ถูกยึดไว้เป็นของกลางในการดาเนินคดีอาญาโดย
จาเลยที่ 3 เป็นพนักงานสอบสวน มีหน้าที่ดูแลรักษารถบรรทุกและข้าวสารของกลางไว้ระหว่าง
สอบสวนโดยต้องใช้ความระมัดระวังดูแลเหมือนเช่นวิญญูชนพึงดูแลทรัพย์สินของตนเอง เฉพาะ
อย่างยิ่งมีข้าวสารบรรจุกระสอบถึง 200 กระสอบ มูลค่าหลายแสนบาทบรรทุกอยู่บนรถจะต้อง
ระมัดระวังยิ่งขึ้นมิให้สูญหายหรือได้รับความเสียหาย การที่จาเลยที่ 3 นารถบรรทุกไปจอดในรั้ว
ของสถานีตารวจได้ เป็นเพียงการนารถบรรทุกไปจอดไว้เท่านั้น มิใช่เป็นการดูแลรักษาทรัพย์สิน
แม้จะได้เก็บกุญแจรถไว้ แล้วเอาโซ่และกุญแจล็อกระหว่างพวงมาลัยกับคลัตซ์และได้ตรวจดูบ่อยๆ
แต่การจอดรถบรรทุกไว้ข้างถนนโดยมิได้จัดให้มีผู้ดูแลรักษาตามสมควรย่อมเปิดโอกาสให้คนร้าย
ลักรถบรรทุกและข้าวสารไปได้โดยง่าย จาเลยที่ 3 จึงมิได้ใช้ความระมัดระวังดูแลรถบรรทุกและ
ข้าวสารเหมือนเช่นวิญญูชนพึงดูแลรักษาทรัพย์สินของตนเองเป็นเหตุให้รถบรรทุกและข้าวสาร
สูญหายไปถือได้ว่าเป็นความประมาทเลินเล่อของจาเลยที่ 3
ขณะเกิดเหตุจาเลยขับรถมาตามถนนรัชดาภิเษกขาเข้ามุ่งหน้า จะไปห้วยขวางด้วย
ความเร็วประมาณ 70-80 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง เป็นการใช้ความเร็วไม่เกินอัตราที่
กฎหมายกาหนด อีกทั้งก่อน เกิดเหตุชนกันรถของจาเลยแล่นอยู่ในทางตรงและขณะ
ผ่านสี่แยก ที่เกิดเหตุ ช่องเดินรถของจาเลยได้รับสัญญาณไฟเขียว เมื่อ ปรากฏว่าชน
กับรถของ พ. ซึ่งแล่นมาตามถนนรัชดาภิเษกขาออก จะเลี้ยวขวาเข้าถนนสุทธิสาร
ย่อมแสดงว่า พ. เป็นผู้ฝ่าฝืน สัญญาณไฟแดงเลี้ยวขวาตรงสี่แยกที่เกิดเหตุตัดหน้า
รถจาเลย ทาให้ ภ. ซึ่งโดยสารมากับรถคันดังกล่าวถึงแก่ความตาย ดังนี้ ผลที่
เกิดขึ้นหาได้เป็นผลโดยตรงมาจากการที่จาเลยมิได้ชะลอความเร็ว ของรถลงแต่อย่าง
ใด การกระทาของจาเลยจึงไม่เป็นความผิดตามฟ้ อง
 หน่วยราชการมีหน้าที่ตามกฎหมาย จะต้องดูแลถนน แต่ปล่อยให้ถนนเป็นหลุมเป็นบ่อ เป็นเหตุให้รถ
ของโจทก์ชนกับบ่อ ได้รับความเสียหาย และโจทก์เดินตกบ่อ ถือว่า หน่วยราชการนั้น ประมาทเลินเล่อ
ต้องรับผิด (ฎีกาที่ 399/2546)
 แพทย์ที่มีความชานาญเป็นพิเศษด้านศัลยกรรมผ่าตัดคนไข้ต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ และต้อง
แจ้งให้คนไข้ทราบถึงขั้นตอนการรักษา ระยะเวลา และกรรมวิธีในการรักษาให้คนไข้ทราบ มิฉะนั้น เป็น
ละเมิด (ฎีกาที่ 292/2542)
 พนักงานรักษาความปลอดภัย มีหน้าที่ตรวจบัตรรถยนต์เข้า-ออก อาคารหรือศูนย์การค้า ไม่ใช้ความ
ระมัดระวังตรวจบัตรจอดรถโดยเคร่งครัด ทาให้รถยนต์ของลูกค้าที่เข้าไปในอาคารหรือศูนย์การค้า
หายไป เป็นการกระทาโดยประมาทเลินเล่อ เป็นละเมิด (ฎีกาที่ 4223/2542
 ธนาคารเป็นผู้มีอาชีพรับฝากเงิน เอาเงินของผู้ฝากไปแสวงหาผลประโยชน์ จึงต้องใช้ความระมัดระวัง
และความรู้ชานาญเป็นพิเศษในการตรวจสอบลายมือชื่อว่าเหมือนกับของผู้ฝากหรือ ไม่ มิฉะนั้นเป็น
ประมาทเลินเล่อ (ฎีกาที่ 880/2546)
ปิดตาขับรถ ตาย
หมอดมกาวแล้วมาผ่าตัดคนไข้ ตาย
แกล้งเพื่อนเอา อุนจิ ให้กิน ตาย
ผิดกฎหมาย ไม่ได้หมายความว่าประมาทเสมอไป
ม.422
ประมาทร่วมมีไม่ได้ แต่ต่างฝ่ายต่างมีส่วนประมาทมีได้
ประมาท กับ เจตนา ชดใช้ความเสียหายเหมือนกัน ไม่
เหมือนอาญาที่โทษต่างกัน
การลดน้อยถอยลง ที่เกิดจากการกระทา
ประเภทของความเสียหาย
1.ความเสียหายทางทรัพย์สิน (คานวณเป็นเงินได้แน่นอน)
2.ความเสียหายที่คานวณเป็นเงินแน่นอนไม่ได้ เช่น
ทรัพย์สิน สภาพร่างกาย ความสวยงาน เสรีภาพ
ทฤษฎี เงื่อนไข ไม่ทาไม่เกิดผล Causation
ทฤษฏีเหตุที่เหมาะสม ใช้เฉพาะกรณีมีเหตุแทรกขึ้นมา
ต้องพิจาณาว่าเหตุที่แทรกมานั้น เหมาะสมและอาจ
เกิดขึ้นได้หรือไม่ มิเช่นนั้นการรับผิดจะไม่มี
ขอบเขต Adequate Causation
ผิดได้ทุกกฎหมาย ไม่ใช่ เฉพาะอาญา เช่น พรบ
อาคาร, พรบ อาคารชุด , กฎมายแพ่ง , กฎหมาย
ปกครอง , กฎหมายสิงแวดล้อม
แต่ไม่ใช่ผิดสัญญา
ยินยอม เฉพาะที่ไม่ขัดต่อความสงบเรียนร้อย
กฎหมายให้อานาจกระทาได้
กฎหมายจารึตประเพณี
มาตรา 421 การใช้สิทธิซึ่งมีแต่
จะให้เกิดเสียหายแก่บุคคลอื่นนั้น
ท่านว่าเป็นการอันมิชอบด้วย
กฎหมาย
โจทก์จาเลยมีเรื่องพิพาทกันมาก่อน แล้วจาเลยนาแผ่นเหล็กเจาะรูเล็ก ๆ มาปิดกั้น
ทางระบายน้าที่จะระบายมาจากบ้านโจทก์ จนเป็นเหตุให้เกิดน้าท่วมขังบ้านโจทก์
เป็นการกระทาที่จงใจจะให้เกิดความเสียหายแก่โจทก์ถึงแม้จะกระทาในที่ดินของ
ตนเองก็เป็นการทาโดยละเมิดตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ มาตรา 421 (37/2529)
การปลูกอาคารสูงบัง จนบ้านผู้อื่นไม่ได้รับลมและแสงสว่างจากภายนอกพอสมควร
เป็นละเมิด (ฎีกาที่ 2949/2526)
แต่ถ้าอยู่ในย่านการค้า ที่ดินมีความเจริญ มีราคาแพง แม้จะปลูกสร้างอาคารสูงบัง
บ้านผู้อื่น ก็ถือว่าเป็นการใช้สิทธิตามควรแก่สภาพที่ตั้งนั้นๆ ไม่เป็นละเมิด (ฎีกาที่
3815/2540)
 มาตรา 432 ถ้าบุคคลหลายคนก่อให้เกิดเสียหายแก่บุคคลอื่นโดยร่วมกันทาละเมิด ท่านว่าบุคคล
เหล่านั้นจะต้องร่วมกันรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายนั้น ความข้อนี้ท่านให้ใช้ตลอดถึง
กรณีที่ไม่สามารถสืบรู้ตัวได้แน่ว่าในจาพวกที่ทาละเมิดร่วมกันนั้นคนไหนเป็ นผู้ก่อให้เกิดเสียหายนั้น
ด้วย
อนึ่ง บุคคลผู้ยุยงส่งเสริมหรือช่วยเหลือในการทาละเมิด ท่านก็ให้ถือว่าเป็ นผู้กระทาละเมิด
ร่วมกันด้วย
ในระหว่างบุคคลทั้งหลายซึ่งต้องรับผิดร่วมกันใช้ค่าสินไหมทดแทนนั้น ท่านว่าต่างต้องรับผิด
เป็ นส่วนเท่าๆ กัน เว้นแต่โดยพฤติการณ์ ศาลจะวินิจฉัยเป็ นประการอื่น
1. ละเมิดร่วมกัน (ไม่ใช่ประมาทร่วม)
2. ต่างคนต่างละเมิด
 คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 5653/2537
จาเลยที่ 1 และที่ 2 ต่างขับรถชนรถโจทก์โดยละเมิดโดยต่างคนต่างประมาทและไม่อาจ
แบ่งแยกได้ว่าใครประมาทมากน้อยกว่ากันจึงต้องฟังว่าประมาทเท่าเทียมกัน ศาลมี
อานาจกาหนดความรับผิดของจาเลยที่ 1 และที่ 2 ตามพฤติการณ์ที่จาเลยที่ 1และที่ 2
กระทาละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438โดยให้จาเลยที่ 1 และ
ที่ 2 ร่วมกันรับผิดในผลแห่งละเมิดที่ตนกระทาขึ้นต่อโจทก์ได้
มีความแตกต่างจากการรับผิดร่วมกับการกระทาของผู้อื่น
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 6392/2545
จาเลย ที่ 1 รับเหมาก่อสร้างอาคารซึ่งติดกับแนวเขตที่ดินของบิดามารดาโจทก์ซึ่งโจทก์พัก อาศัย
อยู่ด้วย ทาให้มีเศษวัสดุก่อสร้างตกหล่นเข้าไปในบริเวณบ้านดังกล่าวและบ่อปลา เป็นเหตุให้ปลา
แฟนตาซีคาร์พที่โจทก์เลี้ยงในบ่อตายจาเลยที่ 1 ผู้รับเหมาก่อสร้าง จาเลยที่ 2 ผู้ควบคุมงาน และ
จาเลยร่วมผู้รับประกันภัยจึงต้องร่วมรับผิดต่อโจทก์ ปลาแฟนซีคาร์พ 7 ตัวของโจทก์ เป็นปลา
พันธุ์ดีที่โจทก์ซื้อซึ่งนาเข้ามาจากประเทศญี่ปุ่น โจทก์เลี้ยงดูปลาอย่างดี มีบ่อเลี้ยงปลาที่ดีทั้งระบบ
นิเวศน์ระบบพักน้าและระบายน้า เมื่อคานึงถึงราคาที่ซื้อมา ค่าอาหาร ค่าน้า ค่าไฟฟ้ า ค่าบารุง
ดูแลรักษาตลอดจนระยะเวลาที่โจทก์ใช้ในการเลี้ยงดูปลาจนถึงวันที่ปลา ตายเป็นเวลาเกินกว่า6 ปี
ประกอบกับปลาทั้งเจ็ดตัวนี้เคยส่งเข้าประกวดและได้รับรางวัลทุกตัวจนมีผู้ เสนอขอซื้อในราคา
ตัวละ 150,000 บาท จึงย่อมเป็นปลาที่โจทก์ภาคภูมิใจและมีค่าอย่างสูงในด้านจิตใจของโจทก์ ไม่
อาจนาราคาปกติของปลาแฟนตาซีคาร์พทั่วไปในท้องตลาดมาเป็นเกณฑ์ในการกาหนด
ค่าเสียหายได้ เมื่อพิจารณาประกอบพฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิดแล้ว เห็นควรกาหนด
มาตรา ๔๒๔ ในการพิพากษาคดีข้อความรับผิดเพื่อละเมิดและกาหนดค่าสินไหม
ทดแทนนั้น ท่านว่าศาลไม่จาต้องดาเนินตามตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายลักษณะ
อาญาอันว่าด้วยการที่จะต้องรับโทษและไม่จาต้องพิเคราะห์ถึงการที่ผู้กระทาผิดต้อง
คาพิพากษาลงโทษทางอาญาหรือไม่
การกระทาคนละระดับ ความรับผิดคนและแบบ
บางกรณี ก็ผิดทั้งละเมิด อาญา , ไม่ผิดละเมิด ผิดอาญา, ผิดอาญา ไม่ผิดละเมิด
1.รับผิดจากการกระทาของตัวเอง 420 /422/ 423
/432
2.รับผิดจากการะทาของผู้อื่น 425 – 430
3.รับผิดจากทรัพย์ 433-437
มาตรา ๔๒๓ ผู้ใดกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริงเป็นที่
เสียหายแก่ชื่อเสียงหรือเกียรติคุณของบุคคลอื่นก็ดี หรือเป็นที่เสียหายแก่ทางทามาหาได้ หรือทางเจริญของ
เขาโดยประการอื่นก็ดี ท่านว่าผู้นั้นจะต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่เขาเพื่อความเสียหายอย่างใด ๆ อันเกิด
แต่การนั้น แม้ทั้งเมื่อตนมิได้รู้ว่าข้อความนั้นไม่จริง แต่หากควรจะรู้ได้
ผู้ใดส่งข่าวสารอันตนมิได้รู้ว่าเป็นความไม่จริง หากว่าตนเองหรือผู้รับข่าวสารนั้นมีทางได้
เสียโดยชอบในการนั้นด้วยแล้ว ท่านว่าเพียงที่ส่งข่าวสารเช่นนั้นหาทาให้ผู้นั้นต้องรับผิดใช้ค่าสินไหม
ทดแทนไม่
มาตรา ๓๒๖ ผู้ใดใส่ความผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม โดยประการที่น่าจะทาให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดู
หมิ่น หรือถูกเกลียดชัง ผู้นั้นกระทาความผิดฐานหมิ่นประมาท ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี
หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ

หมิ่นประมาททางแพ่ง หมิ่นประมาททางอาญา
1. ผู้กระทาอาจจงใจ หรือ ประมาทเลินเล่อ ก็ได้ 1. ผู้กระทาต้องกระทาโดยเจตนา
2. ข้อความที่หมิ่นประมาทต้องฝ่าฝืนต่อความจริง 2. แม้เป็นข้อความจริง ผู้กระทาก็ผิด
3. นอกจากจะทาให้บุคคลอื่นได้รับความเสียหายแก่ชื่อเสียง เกียรติคุณ
ยังรวมถึง ทางทามาหาได้และทางเจริญด้วย
3. จากัดเฉพาะ เสียหายแก่ชื่อเสียง หรือ ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง
การหมิ่นประมาทด้วยข้อความจริง แม้ไม่เป็นละเมิด
ตามมาตรา 423 นี้ ถ้าหากทาให้เสียหายแก่สิทธิของ
บุคคลอื่น ก็อาจเป็นละเมิด ตามมาตรา 420 ได้ (ฎีกา
ที่ 124/2487) ไม่มีสิทธิไปยุ่งเรื่องเขา แม้จริง
มาตรา 421
 คาพิพากษาฎีกาที่ 891/2557
คากล่าวของจาเลยที่ว่า "พวกมันมีเหี้ย 7 ตัว" หรือ "มันเป็นสามานย์" แม้จะกระทบถึงโจทก์ทั้งเจ็ด แต่ก็
มิใช่การนาความเท็จมากล่าว แต่เป็นการด่าโจทก์ด้วยความรู้สึกเกรียดชังว่าโจทก์ทั้งเจ็ดเป็นคนไม่ดี โดย
เปรียบเทียบเหมือนสัตว์ ซึ่งไม่ใช่เป็นการนาข้าความอันฝ่าฝืนต่อความจริงมากล่าว จาเลยจึงไม่ได้กล่าวหรือไข
ข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริงตามมาตรา 423 แต่การพูดปราศรัยด้วยถ้อยคาดังกล่าวต่อ
ประชาชนที่มาฟัง ย่อมรู้สึกได้ว่าโจทก์ทั้งเจ็ดเป็นคนไม่ดี ไม่เหมาะสมกับตาแหน่งประธานสภาหรือสมาชิกสภา
เทศบาล อันเป็นการทาต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายตามมาตรา 420 ทาให้โจทก์ทั้งเจ็ดเสียชื่อเสียงอันเป็นสิทธิ
อย่างหนึ่ง จาเลยจึงกระทาละเมิดต่อโจทก์ทั้งเจ็ดและต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
 ฎีกาที่ 1590/2528 การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริงอันเป็นการทาละเมิดตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 423 นั้น ผู้กระทาจะต้องรู้หรือควรจะรู้ได้ว่าไม่จริง จาเลยที่ 3 ลง
พิมพ์โฆษณาข้อความในหนังสือพิมพ์เพื่อให้นักข่าวของตนซึ่งถูกฆ่าตายได้รับความเป็นธรรม ถึงหากข่าวนั้นจะไม่
เป็นความจริง โดยมีผู้แอบอ้างชื่อโจทก์นาสร้อยไปมอบให้ภริยารัฐมนตรีเพื่อวิ่งเต้นล้มคดีที่โจทก์ตกเป็นผู้ต้องหา
จ้างวานฆ่านักข่าว แต่เมื่อมีเหตุที่จาเลยที่ 3 จะคาดคิดเช่นนั้นได้จาเลยที่ 3 ก็ไม่อาจจะรู้ได้ว่าไม่จริง การกระทา
ของจาเลยที่3 จึงไม่เป็นการทาละเมิด

More Related Content

What's hot

1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2 AJ Por
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดguestf57acc
 
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท Thitaree Samphao
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
ทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสันทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสัน6Phepho
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันEyezz Alazy
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10supap6259
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปองsomchaitumdee50
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5Nattapong Boonpong
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล Sircom Smarnbua
 

What's hot (20)

1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
ทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสันทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสัน
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
 

Similar to ละเมิด (9)

รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
มิกทกิ้
มิกทกิ้มิกทกิ้
มิกทกิ้
 
รายงานคอมของเม 20
รายงานคอมของเม 20รายงานคอมของเม 20
รายงานคอมของเม 20
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 100
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 100
 
แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54
แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54
แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54
 
รายงานของคอมของเบล 21
รายงานของคอมของเบล 21รายงานของคอมของเบล 21
รายงานของคอมของเบล 21
 
เนติบัณฑิตคืออะไร
เนติบัณฑิตคืออะไรเนติบัณฑิตคืออะไร
เนติบัณฑิตคืออะไร
 
รายงานคอม12
รายงานคอม12รายงานคอม12
รายงานคอม12
 

More from Kanin Wongyai

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updatedความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updatedKanin Wongyai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61Kanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมายอาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมายKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคนอาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคนKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาดอาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาดKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)Kanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2Kanin Wongyai
 
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกอาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกKanin Wongyai
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดKanin Wongyai
 
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่Kanin Wongyai
 
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกอาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกKanin Wongyai
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปKanin Wongyai
 

More from Kanin Wongyai (16)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updatedความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
 
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมายอาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
 
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคนอาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
 
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาดอาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
 
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
 
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
 
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกอาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
 
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
 
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกอาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
 

ละเมิด

  • 2. 1. มัธยมศึกษา จากโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร 2. นิติศาสตรบัณฑิต จาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3. นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขากฎหมายอาญา จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4. เนติบัณฑิตไทย สานักอบรมศึกษากฎหมาย แห่งเนติบัณฑิตยสภา 5. ปัจจุบันศึกษา ระดับนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต ณ มหาวิทยาลัยรามคาแหง FB. Kanin wongyai นายคณิน วงศ์ใหญ่
  • 3. มาตรา 420 ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทาต่อบุคคลอื่น โดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ ดี ท่านว่า ผู้นั้นทาละเมิด จาต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการ นั้น
  • 4. Section 420. A person who, willfully or negligently, unlawfully injures the life, body, health, liberty, property or any right of another person, is said to commit a wrongful act and is bound to make compensation therefore.
  • 5. 1. ผู้ใด 2. กระทา 3. จงใจ 4. ประมาทเลินเล่อ 5. ทาต่อบุคคลอื่น 6. โดยผิดกฎหมาย 7. ทาให้เขาเสียหาย 8. ค่าสินไหม
  • 6. 1. พายะถล่ม ภาคใต้ทาให้บ้านของนายแดงพัง 2. นายดาใช้มีดฟันนายแดง แต่นายแดงหลบได้ 3. นายดาไม่ได้ตั้งใจแต่เผลอทามีดบาดนายแดงนิ้วขาด 4. นายดาเป็นลมล้มทับนายแดง ทาให้นายแดงแขนหัก 5. นายดาเป็นเพชฌฆาต จับนายแดงฉีดยาพิษตามโทษประหารที่ศาลตัดสิน 6. นายดาใช้ไม้ตีหมาที่ไม่มีเจ้าของ 7. นายดาบอกกับทุกคนว่านายแดงหน้าเหมือนเคน ภูภูมิ
  • 7. 1. เป็นเรื่องของความผิดกฎหมาย 2. ไม่ใช่ผิดศีลธรรม ไม่เชิงผิดกฎหมายอาญา 3. เป็นบ่อเกิดแห่งหนี้อย่างหนึ่ง อยู่ในประเภทนิติเหตุ 4. เป็นเรื่องลักษณะเฉพาะทางแพ่ง แบบหนึ่ง (ไม่ใช่ผิดสัญญา) 5. ต้องมีความสัมพันธ์ระหว่างการกระทาและผล 6. บางกรณีมีผู้ร่วมรับผิด แม่ไม่มีร่วมร่วมกับการกระทาละเมิด (ต่างจากอาญา)
  • 9. รู้ตัวว่าทาอะไร ไม่ถึงขนาดประสงค์ผล เล็งเห็นผล รู้ว่าอะไรแล้ว เกิดความเสียหายขึ้น ต้องรับผิดชอบ ไม่ พิจารณาความประสงค์ กรณีทาร้ายแล้วตาย,ฆ่าแล้วตาย กับ รู้ตัวว่าทาอะไรแล้ว ตาย
  • 10. ความหมายเดียวกับ ประมาททางอาญา ใช้ กฎหมายอาญา มาตรา 59 วรรค 4 กระทาโดยประมาท ได้แก่ กระทาความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่ กระทาโดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้น จัก ต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทาอาจใช้ความ ระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่
  • 11. ภาวะ ทาอะไรอยู่ วิสัย สภาพภายในผู้กระทา พฤติการณ์ สภาวะ ภายนอกผู้กระทา มีโอกาสใช้ความระมันระวัง แต่ไม่ใช้ มาตรฐาน วิญญูชน (reasonable person)
  • 12. ผู้ใดกระทาโดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้น จักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทาอาจใช้ความ ระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่ นายนิกกี้ ไม่ระวัง ขับรถเร็ว ทั้งที่ตนเป็นคนขับรถ รับจ้างอาชีพ ตอนถนนลื่น ซึ่งไม่มีความจาเป็นต้องขับ รถเร็ว แต่นายนิกกี้ก็ยังขับเร็ว
  • 13. รถบรรทุกและข้าวสารบนรถบรรทุกของโจทก์ถูกยึดไว้เป็นของกลางในการดาเนินคดีอาญาโดย จาเลยที่ 3 เป็นพนักงานสอบสวน มีหน้าที่ดูแลรักษารถบรรทุกและข้าวสารของกลางไว้ระหว่าง สอบสวนโดยต้องใช้ความระมัดระวังดูแลเหมือนเช่นวิญญูชนพึงดูแลทรัพย์สินของตนเอง เฉพาะ อย่างยิ่งมีข้าวสารบรรจุกระสอบถึง 200 กระสอบ มูลค่าหลายแสนบาทบรรทุกอยู่บนรถจะต้อง ระมัดระวังยิ่งขึ้นมิให้สูญหายหรือได้รับความเสียหาย การที่จาเลยที่ 3 นารถบรรทุกไปจอดในรั้ว ของสถานีตารวจได้ เป็นเพียงการนารถบรรทุกไปจอดไว้เท่านั้น มิใช่เป็นการดูแลรักษาทรัพย์สิน แม้จะได้เก็บกุญแจรถไว้ แล้วเอาโซ่และกุญแจล็อกระหว่างพวงมาลัยกับคลัตซ์และได้ตรวจดูบ่อยๆ แต่การจอดรถบรรทุกไว้ข้างถนนโดยมิได้จัดให้มีผู้ดูแลรักษาตามสมควรย่อมเปิดโอกาสให้คนร้าย ลักรถบรรทุกและข้าวสารไปได้โดยง่าย จาเลยที่ 3 จึงมิได้ใช้ความระมัดระวังดูแลรถบรรทุกและ ข้าวสารเหมือนเช่นวิญญูชนพึงดูแลรักษาทรัพย์สินของตนเองเป็นเหตุให้รถบรรทุกและข้าวสาร สูญหายไปถือได้ว่าเป็นความประมาทเลินเล่อของจาเลยที่ 3
  • 14. ขณะเกิดเหตุจาเลยขับรถมาตามถนนรัชดาภิเษกขาเข้ามุ่งหน้า จะไปห้วยขวางด้วย ความเร็วประมาณ 70-80 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง เป็นการใช้ความเร็วไม่เกินอัตราที่ กฎหมายกาหนด อีกทั้งก่อน เกิดเหตุชนกันรถของจาเลยแล่นอยู่ในทางตรงและขณะ ผ่านสี่แยก ที่เกิดเหตุ ช่องเดินรถของจาเลยได้รับสัญญาณไฟเขียว เมื่อ ปรากฏว่าชน กับรถของ พ. ซึ่งแล่นมาตามถนนรัชดาภิเษกขาออก จะเลี้ยวขวาเข้าถนนสุทธิสาร ย่อมแสดงว่า พ. เป็นผู้ฝ่าฝืน สัญญาณไฟแดงเลี้ยวขวาตรงสี่แยกที่เกิดเหตุตัดหน้า รถจาเลย ทาให้ ภ. ซึ่งโดยสารมากับรถคันดังกล่าวถึงแก่ความตาย ดังนี้ ผลที่ เกิดขึ้นหาได้เป็นผลโดยตรงมาจากการที่จาเลยมิได้ชะลอความเร็ว ของรถลงแต่อย่าง ใด การกระทาของจาเลยจึงไม่เป็นความผิดตามฟ้ อง
  • 15.  หน่วยราชการมีหน้าที่ตามกฎหมาย จะต้องดูแลถนน แต่ปล่อยให้ถนนเป็นหลุมเป็นบ่อ เป็นเหตุให้รถ ของโจทก์ชนกับบ่อ ได้รับความเสียหาย และโจทก์เดินตกบ่อ ถือว่า หน่วยราชการนั้น ประมาทเลินเล่อ ต้องรับผิด (ฎีกาที่ 399/2546)  แพทย์ที่มีความชานาญเป็นพิเศษด้านศัลยกรรมผ่าตัดคนไข้ต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ และต้อง แจ้งให้คนไข้ทราบถึงขั้นตอนการรักษา ระยะเวลา และกรรมวิธีในการรักษาให้คนไข้ทราบ มิฉะนั้น เป็น ละเมิด (ฎีกาที่ 292/2542)  พนักงานรักษาความปลอดภัย มีหน้าที่ตรวจบัตรรถยนต์เข้า-ออก อาคารหรือศูนย์การค้า ไม่ใช้ความ ระมัดระวังตรวจบัตรจอดรถโดยเคร่งครัด ทาให้รถยนต์ของลูกค้าที่เข้าไปในอาคารหรือศูนย์การค้า หายไป เป็นการกระทาโดยประมาทเลินเล่อ เป็นละเมิด (ฎีกาที่ 4223/2542  ธนาคารเป็นผู้มีอาชีพรับฝากเงิน เอาเงินของผู้ฝากไปแสวงหาผลประโยชน์ จึงต้องใช้ความระมัดระวัง และความรู้ชานาญเป็นพิเศษในการตรวจสอบลายมือชื่อว่าเหมือนกับของผู้ฝากหรือ ไม่ มิฉะนั้นเป็น ประมาทเลินเล่อ (ฎีกาที่ 880/2546)
  • 19. ทฤษฎี เงื่อนไข ไม่ทาไม่เกิดผล Causation ทฤษฏีเหตุที่เหมาะสม ใช้เฉพาะกรณีมีเหตุแทรกขึ้นมา ต้องพิจาณาว่าเหตุที่แทรกมานั้น เหมาะสมและอาจ เกิดขึ้นได้หรือไม่ มิเช่นนั้นการรับผิดจะไม่มี ขอบเขต Adequate Causation
  • 20. ผิดได้ทุกกฎหมาย ไม่ใช่ เฉพาะอาญา เช่น พรบ อาคาร, พรบ อาคารชุด , กฎมายแพ่ง , กฎหมาย ปกครอง , กฎหมายสิงแวดล้อม แต่ไม่ใช่ผิดสัญญา
  • 23. โจทก์จาเลยมีเรื่องพิพาทกันมาก่อน แล้วจาเลยนาแผ่นเหล็กเจาะรูเล็ก ๆ มาปิดกั้น ทางระบายน้าที่จะระบายมาจากบ้านโจทก์ จนเป็นเหตุให้เกิดน้าท่วมขังบ้านโจทก์ เป็นการกระทาที่จงใจจะให้เกิดความเสียหายแก่โจทก์ถึงแม้จะกระทาในที่ดินของ ตนเองก็เป็นการทาโดยละเมิดตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ มาตรา 421 (37/2529) การปลูกอาคารสูงบัง จนบ้านผู้อื่นไม่ได้รับลมและแสงสว่างจากภายนอกพอสมควร เป็นละเมิด (ฎีกาที่ 2949/2526) แต่ถ้าอยู่ในย่านการค้า ที่ดินมีความเจริญ มีราคาแพง แม้จะปลูกสร้างอาคารสูงบัง บ้านผู้อื่น ก็ถือว่าเป็นการใช้สิทธิตามควรแก่สภาพที่ตั้งนั้นๆ ไม่เป็นละเมิด (ฎีกาที่ 3815/2540)
  • 24.  มาตรา 432 ถ้าบุคคลหลายคนก่อให้เกิดเสียหายแก่บุคคลอื่นโดยร่วมกันทาละเมิด ท่านว่าบุคคล เหล่านั้นจะต้องร่วมกันรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายนั้น ความข้อนี้ท่านให้ใช้ตลอดถึง กรณีที่ไม่สามารถสืบรู้ตัวได้แน่ว่าในจาพวกที่ทาละเมิดร่วมกันนั้นคนไหนเป็ นผู้ก่อให้เกิดเสียหายนั้น ด้วย อนึ่ง บุคคลผู้ยุยงส่งเสริมหรือช่วยเหลือในการทาละเมิด ท่านก็ให้ถือว่าเป็ นผู้กระทาละเมิด ร่วมกันด้วย ในระหว่างบุคคลทั้งหลายซึ่งต้องรับผิดร่วมกันใช้ค่าสินไหมทดแทนนั้น ท่านว่าต่างต้องรับผิด เป็ นส่วนเท่าๆ กัน เว้นแต่โดยพฤติการณ์ ศาลจะวินิจฉัยเป็ นประการอื่น 1. ละเมิดร่วมกัน (ไม่ใช่ประมาทร่วม) 2. ต่างคนต่างละเมิด
  • 25.  คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 5653/2537 จาเลยที่ 1 และที่ 2 ต่างขับรถชนรถโจทก์โดยละเมิดโดยต่างคนต่างประมาทและไม่อาจ แบ่งแยกได้ว่าใครประมาทมากน้อยกว่ากันจึงต้องฟังว่าประมาทเท่าเทียมกัน ศาลมี อานาจกาหนดความรับผิดของจาเลยที่ 1 และที่ 2 ตามพฤติการณ์ที่จาเลยที่ 1และที่ 2 กระทาละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438โดยให้จาเลยที่ 1 และ ที่ 2 ร่วมกันรับผิดในผลแห่งละเมิดที่ตนกระทาขึ้นต่อโจทก์ได้ มีความแตกต่างจากการรับผิดร่วมกับการกระทาของผู้อื่น
  • 26. คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 6392/2545 จาเลย ที่ 1 รับเหมาก่อสร้างอาคารซึ่งติดกับแนวเขตที่ดินของบิดามารดาโจทก์ซึ่งโจทก์พัก อาศัย อยู่ด้วย ทาให้มีเศษวัสดุก่อสร้างตกหล่นเข้าไปในบริเวณบ้านดังกล่าวและบ่อปลา เป็นเหตุให้ปลา แฟนตาซีคาร์พที่โจทก์เลี้ยงในบ่อตายจาเลยที่ 1 ผู้รับเหมาก่อสร้าง จาเลยที่ 2 ผู้ควบคุมงาน และ จาเลยร่วมผู้รับประกันภัยจึงต้องร่วมรับผิดต่อโจทก์ ปลาแฟนซีคาร์พ 7 ตัวของโจทก์ เป็นปลา พันธุ์ดีที่โจทก์ซื้อซึ่งนาเข้ามาจากประเทศญี่ปุ่น โจทก์เลี้ยงดูปลาอย่างดี มีบ่อเลี้ยงปลาที่ดีทั้งระบบ นิเวศน์ระบบพักน้าและระบายน้า เมื่อคานึงถึงราคาที่ซื้อมา ค่าอาหาร ค่าน้า ค่าไฟฟ้ า ค่าบารุง ดูแลรักษาตลอดจนระยะเวลาที่โจทก์ใช้ในการเลี้ยงดูปลาจนถึงวันที่ปลา ตายเป็นเวลาเกินกว่า6 ปี ประกอบกับปลาทั้งเจ็ดตัวนี้เคยส่งเข้าประกวดและได้รับรางวัลทุกตัวจนมีผู้ เสนอขอซื้อในราคา ตัวละ 150,000 บาท จึงย่อมเป็นปลาที่โจทก์ภาคภูมิใจและมีค่าอย่างสูงในด้านจิตใจของโจทก์ ไม่ อาจนาราคาปกติของปลาแฟนตาซีคาร์พทั่วไปในท้องตลาดมาเป็นเกณฑ์ในการกาหนด ค่าเสียหายได้ เมื่อพิจารณาประกอบพฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิดแล้ว เห็นควรกาหนด
  • 27. มาตรา ๔๒๔ ในการพิพากษาคดีข้อความรับผิดเพื่อละเมิดและกาหนดค่าสินไหม ทดแทนนั้น ท่านว่าศาลไม่จาต้องดาเนินตามตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายลักษณะ อาญาอันว่าด้วยการที่จะต้องรับโทษและไม่จาต้องพิเคราะห์ถึงการที่ผู้กระทาผิดต้อง คาพิพากษาลงโทษทางอาญาหรือไม่ การกระทาคนละระดับ ความรับผิดคนและแบบ บางกรณี ก็ผิดทั้งละเมิด อาญา , ไม่ผิดละเมิด ผิดอาญา, ผิดอาญา ไม่ผิดละเมิด
  • 28. 1.รับผิดจากการกระทาของตัวเอง 420 /422/ 423 /432 2.รับผิดจากการะทาของผู้อื่น 425 – 430 3.รับผิดจากทรัพย์ 433-437
  • 29. มาตรา ๔๒๓ ผู้ใดกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริงเป็นที่ เสียหายแก่ชื่อเสียงหรือเกียรติคุณของบุคคลอื่นก็ดี หรือเป็นที่เสียหายแก่ทางทามาหาได้ หรือทางเจริญของ เขาโดยประการอื่นก็ดี ท่านว่าผู้นั้นจะต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่เขาเพื่อความเสียหายอย่างใด ๆ อันเกิด แต่การนั้น แม้ทั้งเมื่อตนมิได้รู้ว่าข้อความนั้นไม่จริง แต่หากควรจะรู้ได้ ผู้ใดส่งข่าวสารอันตนมิได้รู้ว่าเป็นความไม่จริง หากว่าตนเองหรือผู้รับข่าวสารนั้นมีทางได้ เสียโดยชอบในการนั้นด้วยแล้ว ท่านว่าเพียงที่ส่งข่าวสารเช่นนั้นหาทาให้ผู้นั้นต้องรับผิดใช้ค่าสินไหม ทดแทนไม่
  • 30. มาตรา ๓๒๖ ผู้ใดใส่ความผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม โดยประการที่น่าจะทาให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดู หมิ่น หรือถูกเกลียดชัง ผู้นั้นกระทาความผิดฐานหมิ่นประมาท ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ  หมิ่นประมาททางแพ่ง หมิ่นประมาททางอาญา 1. ผู้กระทาอาจจงใจ หรือ ประมาทเลินเล่อ ก็ได้ 1. ผู้กระทาต้องกระทาโดยเจตนา 2. ข้อความที่หมิ่นประมาทต้องฝ่าฝืนต่อความจริง 2. แม้เป็นข้อความจริง ผู้กระทาก็ผิด 3. นอกจากจะทาให้บุคคลอื่นได้รับความเสียหายแก่ชื่อเสียง เกียรติคุณ ยังรวมถึง ทางทามาหาได้และทางเจริญด้วย 3. จากัดเฉพาะ เสียหายแก่ชื่อเสียง หรือ ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง
  • 31. การหมิ่นประมาทด้วยข้อความจริง แม้ไม่เป็นละเมิด ตามมาตรา 423 นี้ ถ้าหากทาให้เสียหายแก่สิทธิของ บุคคลอื่น ก็อาจเป็นละเมิด ตามมาตรา 420 ได้ (ฎีกา ที่ 124/2487) ไม่มีสิทธิไปยุ่งเรื่องเขา แม้จริง มาตรา 421
  • 32.  คาพิพากษาฎีกาที่ 891/2557 คากล่าวของจาเลยที่ว่า "พวกมันมีเหี้ย 7 ตัว" หรือ "มันเป็นสามานย์" แม้จะกระทบถึงโจทก์ทั้งเจ็ด แต่ก็ มิใช่การนาความเท็จมากล่าว แต่เป็นการด่าโจทก์ด้วยความรู้สึกเกรียดชังว่าโจทก์ทั้งเจ็ดเป็นคนไม่ดี โดย เปรียบเทียบเหมือนสัตว์ ซึ่งไม่ใช่เป็นการนาข้าความอันฝ่าฝืนต่อความจริงมากล่าว จาเลยจึงไม่ได้กล่าวหรือไข ข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริงตามมาตรา 423 แต่การพูดปราศรัยด้วยถ้อยคาดังกล่าวต่อ ประชาชนที่มาฟัง ย่อมรู้สึกได้ว่าโจทก์ทั้งเจ็ดเป็นคนไม่ดี ไม่เหมาะสมกับตาแหน่งประธานสภาหรือสมาชิกสภา เทศบาล อันเป็นการทาต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายตามมาตรา 420 ทาให้โจทก์ทั้งเจ็ดเสียชื่อเสียงอันเป็นสิทธิ อย่างหนึ่ง จาเลยจึงกระทาละเมิดต่อโจทก์ทั้งเจ็ดและต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น  ฎีกาที่ 1590/2528 การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริงอันเป็นการทาละเมิดตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 423 นั้น ผู้กระทาจะต้องรู้หรือควรจะรู้ได้ว่าไม่จริง จาเลยที่ 3 ลง พิมพ์โฆษณาข้อความในหนังสือพิมพ์เพื่อให้นักข่าวของตนซึ่งถูกฆ่าตายได้รับความเป็นธรรม ถึงหากข่าวนั้นจะไม่ เป็นความจริง โดยมีผู้แอบอ้างชื่อโจทก์นาสร้อยไปมอบให้ภริยารัฐมนตรีเพื่อวิ่งเต้นล้มคดีที่โจทก์ตกเป็นผู้ต้องหา จ้างวานฆ่านักข่าว แต่เมื่อมีเหตุที่จาเลยที่ 3 จะคาดคิดเช่นนั้นได้จาเลยที่ 3 ก็ไม่อาจจะรู้ได้ว่าไม่จริง การกระทา ของจาเลยที่3 จึงไม่เป็นการทาละเมิด