SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์   1




                    แบบทดสอบก่อนเรียน

                 เรื่อง การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์




         ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ โดยใช้ปากกาหมึกซึม
หรือปากกาหัวสักหลาด เบอร์ 0.3 หรือ 0.5 ตามข้อความที่กาหนดให้ ลงในกระดาษขนาด A4
ที่กาหนดให้ ตามทักษะประสบการณ์และความสามารถของตนเอง
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์    2




ศึกษาแนวคิด จุดประสงค์                       ประเมินผล ปรับปรุง พัฒนา


ศึกษา สังเกต เทคนิควิธีการ                     ค้นคว้า เรียนรู้เพิ่มเติม



                             วิธีเรียนรู้        นาทักษะการเขียนตัวอักษร
 ฝึกทักษะการเขียน                                แบบอาลักษณ์ ไปประยุกต์
ตัวอักษรแบบอาลักษณ์                              ใช้ในงานต่างๆ




เราไปเริ่มเรียนรู้กันเลยนะ
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์    3




                เรื่อง           การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์


    จุดประสงค์การเรียนรู้
       1. อธิบายหลักของการเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ได้
       2. สามารถเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์เบื้องต้นได้

     ตัวอักษรแบบอาลักษณ์ หรือ เรียกว่าตัวอักษรแบบหัวบัว จะสังเกตเห็นว่าหัวตัวอักษร
แต่ละตัวมีหัวเป็นวงรีคล้ายดอกบัวนั่นเอง เป็นตัวอักษรแบบคัดลายมือตัวบรรจง มีความ
ประณีตสวยงาม สัญลักษณ์ความเป็นไทยนิยมใช้เขียนเอกสารสาคัญทางราชการ และเหมาะที่
จะนาไปใช้กับงานเขียนบัตรอวยพร บัตรเชิญ เกียรติบัตร และประกาศนียบัตร เป็นต้น
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์   4




ก่อนฝึกเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ควรเตรียมอุปกรณ์
ให้พร้อม เช่น ปากกา สมุดปกอ่อน หรือกระดาษ A4
 ที่ตีเส้นบรรทัดเรียบร้อยแล้ว




ศึกษาขั้นตอนการฝึกเขียน
ตัวอักษรแบบอาลักษณ์ กันเถอะ
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์      5




       วัสดุ - อุปกรณ์ที่จาเป็นที่ใช้ในการฝึกเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์




    ปากกาเคมี หรือปากกาหัวสักหลาด                         ปากกาลูกลื่นและดินสอ
    หรือปากกาหมึกซึม
           นักเรียนสามารถเลือกวัสดุที่ใช้ฝึกเขียนได้ เช่น ปากกาซึ่งเส้นของปากกา มี
หลายขนาด และสามารถใช้ปากกาลูกลื่นหรือดินสอมาใช้ฝึกเขียนได้




                                       สมุดเบอร์ 2 และสมุดปกอ่อน

                                       นักเรียนสามารถนามาใช้ในการฝึกเขียน

ตัวอักษรแบบอาลักษณ์ นอกเหนือจากที่ฝึก เขียนในแบบฝึก
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์     6

                ขั้นตอนการฝึกเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์

         ขั้นตอนการเริ่มต้นการเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ คือมีการแบ่งกลุ่มตัวอักษรที่มี
ลักษณะขั้นตอนการเริ่มต้นการเขียนพยัญชนะที่คล้ายกัน เช่น ตัวอักษร ก ภ ถ หรือ ข ช ซ
เป็นต้น โดยมีการแบ่งกลุ่มดังนี้
       กลุ่มที่ 1 ตัวอักษรกลุ่มแรกที่ลักษณะใกล้เคียงกัน คือ ก ถ ภ

         ตัวอักษร ก ใช้เส้นในการเขียน 4 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง
และลากจากซ้ายไปขวา ตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดังในภาพ
                                                      เพิ่มความเข้ม




         ตัวอักษร ถ ใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง
และลากจากซ้ายไปขวา ตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดังในภาพ
                                                       เพิ่มความเข้ม




         ตัวอักษร ภ ใช้เส้นในการเขียน 6 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง
และลากจากซ้ายไปขวา ตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดังในภาพ

                                                        เพิ่มความเข้ม
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์    7

       กลุ่มที่ 2 ตัวอักษรกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกันกับกลุ่มที่ 1 คือ ฎ ฏ

            ตัวอักษร ฎ จะใช้เส้นในการเขียน 8 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง
ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน
สุดท้าย ดังในภาพ

                                                                 เพิ่มความเข้ม




           ตัวอักษร ฏ จะใช้เส้นในการเขียน 8 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง
ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน
สุดท้าย ดังในภาพ
                                                                    เพิ่มความเข้ม




      กลุ่มที่ 3 ตัวอักษรกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกันกับกลุ่มที่ 1 - 2 คือ ฌ ญ ณ

            ตัวอักษร ฌ จะใช้เส้นในการเขียน 8 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง
ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน
สุดท้าย ดังในภาพ
                                                               เพิ่มความเข้ม
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์              8

           ตัวอักษร ญ จะใช้เส้นในการเขียน 10 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน
ลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน
สุดท้าย ดังในภาพ

                                                                          เพิ่มความเข้ม




          ตัวอักษร ณ จะใช้เส้นในการเขียน 9 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง
ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน
สุดท้าย ดังในภาพ                                                                  เพิ่มความเข้ม




         นักเรียนไปทากิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ 1 กันเถอะ



      การที่จะทาให้นักเรียนเขียนตัวอักษรแบบ
      อาลักษณ์ให้ได้ดีนักเรียนต้องฝึกเขียนบ่อยๆ
      นะครับ
           ให้ได้ดีนั้น นักเรียนต้องฝึกเขียนบ่อยๆ
      นะครับ
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์     9

                         กิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ 1

      จุดประสงค์การเรียนรู้        - อธิบายหลักการเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ได้
                                   - สามารถเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์เบื้องต้นได้
        คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ของตัวอักษรกลุ่มที่ 1 คือ ก ถ ภ
กลุ่มตัวอักษรกลุ่มที่ 2 คือ ฎ ฏ และตัวอักษรกลุ่มที่ 3 คือ ฌ ญ ณ โดยศึกษาเรียนรู้จาก
ตัวอย่างที่แสดงขั้นตอนการเขียนที่กาหนดให้ โดยเขียนอย่างต่อเนื่อง
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์    10

      กลุ่มที่ 4 ตัวอักษรกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน คือ ข ช ซ
           ตัวอักษร ข จะใช้เส้นในการเขียน 4 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง
ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน
สุดท้าย ดังในภาพ                                        เพิ่มความเข้ม




           ตัวอักษร ช จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง
ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน
สุดท้าย ดังในภาพ                                              เพิ่มความเข้ม




           ตัวอักษร ซ จะใช้เส้นในการเขียน 6 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง
ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน
สุดท้าย ดังในภาพ
                                                                  เพิ่มความเข้ม
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์   11


       กลุ่มที่ 5 ตัวอักษรกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน คือ ค ศ ด ต ฒ

           ตัวอักษร ค จะใช้เส้นในการเขียน 6 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลง
ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน
สุดท้าย ดังในภาพ

                                                           เพิ่มความเข้ม




           ตัวอักษร ศ จะใช้เส้นในการเขียน 7 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลง
ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน
สุดท้าย ดังในภาพ

                                                             เพิ่มความเข้ม




           ตัวอักษร ด จะใช้เส้นในการเขียน 6 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลง
ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน
สุดท้าย ดังในภาพ
                                                               เพิ่มความเข้ม
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์    12


            ตัวอักษร ต จะใช้เส้นในการเขียน 6 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลง
ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน
สุดท้าย ดังในภาพ
                                                          เพิ่มความเข้ม




           ตัวอักษร ฒ จะใช้เส้นในการเขียน 9 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลง
ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน
สุดท้าย ดังในภาพ
                                                                 เพิ่มความเข้ม




     เราไปเริ่มกิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ 2
               กันเลยนะครับ
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์     13




                           กิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ 2

จุดประสงค์การเรียนรู้       - อธิบายหลักการเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ได้
                                  - สามารถเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์เบื้องต้นได้
 คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ของตัวอักษรกลุ่มที่ 4 คือ ข ช ซ
กลุ่มตัวอักษรกลุ่มที่ 5 คือ ค ศ ด ต ฒ โดยศึกษาเรียนรู้จากตัวอย่างที่แสดงขั้นตอนการเขียน
ที่กาหนดให้ โดยเขียนอย่างต่อเนื่อง
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์     14




     กลุ่มที่ 6 ตัวอักษรกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน คือ บ ป ษ

            ตัวอักษร บ จะใช้เส้นในการเขียน 4 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลง
ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน
สุดท้าย ดังในภาพ


                                                                  เพิ่มความเข้ม



            ตัวอักษร ป จะใช้เส้นในการเขียน 4 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลง
ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน
สุดท้าย ดังในภาพ


                                                                   เพิ่มความเข้ม



          ตัวอักษร ษ จะใช้เส้นในการเขียน 7 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง
และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดัง
ในภาพ



                                                                   เพิ่มความเข้ม
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์   15

        กลุ่มที่ 7 ตัวอักษรกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน คือ ย ผ ฝ พ ฟ ฬ
            ตัวอักษร ย จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง
และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดัง
ในภาพ
                                                        เพิ่มความเข้ม




            ตัวอักษร ผ จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง
และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร ดังในภาพ




             ตัวอักษร ฝ จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลง
ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร ดังในภาพ




            ตัวอักษร พ จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง
และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร ดังในภาพ
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์      16




           ตัวอักษร ฟ จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง
และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร ดังในภาพ




           ตัวอักษร ฬ จะใช้เส้นในการเขียน 7 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง
และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดัง
ในภาพ

                                                                      เพิ่มความเข้ม




        กลุ่มที่ 8 ตัวอักษรกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน คือ ว ร ธ

         ตัวอักษร ว จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง
และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย
ดังในภาพ
                                                                      เพิ่มความเข้ม
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์         17

            ตัวอักษร ร จะใช้เส้นในการเขียน 4 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง
และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดัง
ในภาพ

                                                                  เพิ่มความเข้ม




           ตัวอักษร ธ จะใช้เส้นในการเขียน 4 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง
และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย
ดังในภาพ
                                                                        เพิ่มความเข้ม




        กลุ่มที่ 9 ตัวอักษรกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน คือ ง ท ฑ ห

          ตัวอักษร ง จะใช้เส้นในการเขียน 4 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง
และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย
ดังในภาพ


                                                        เพิ่มความเข้ม
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์       18

       ตัวอักษร ท จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง
และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย
ดังในภาพ

                                                       เพิ่มความเข้ม




        ตัวอักษร ฑ จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง
และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย
ดังในภาพ

                                                               เพิ่มความเข้ม




        ตัวอักษร ห จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง
และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร ดังในภาพ
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์        19

                           กิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ 3

จุดประสงค์การเรียนรู้       - นักเรียนอธิบายหลักการเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ได้
                            - นักเรียนสามารถเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์เบื้องต้นได้
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ของตัวอักษรกลุ่มที่ 6 คือ บ ป ษ
ตัวอักษรกลุ่มที่ 7 คือ ย ผ ฝ พ ฟ ฬ ตัวอักษรกลุ่มที่ 8 คือ ว ร ธ และตัวอักษรกลุ่มที่ 9
คือ ง ท ฑ ห โดยศึกษาเรียนรู้จากตัวอย่างที่แสดงขั้นตอนการเขียนที่กาหนดให้ โดยเขียน
อย่างต่อเนื่อง
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์   20

กิจกรรมเสริมทักษะที่ 3 ( ต่อ )
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์    21



      กลุ่มที่ 10 ตัวอักษรกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน คือ จ ฐ ฉ น ม ฆ

         ตัวอักษร จ จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง
และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย
ดังในภาพ
                                                            เพิ่มความเข้ม




           ตัวอักษร ฐ จะใช้เส้นในการเขียน 10 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง
ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน
สุดท้าย ดังในภาพ


                                                                 เพิ่มความเข้ม




           ตัวอักษร ฉ จะใช้เส้นในการเขียน 7 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง
ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน
สุดท้าย ดังในภาพ
                                                                 เพิ่มความเข้ม
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์      22



          ตัวอักษร น จะใช้เส้นในการเขียน 6 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง
และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร ดังในภาพ




          ตัวอักษร ม จะใช้เส้นในการเขียน 6 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง
ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร ดังในภาพ




           ตัวอักษร ฆ จะใช้เส้นในการเขียน 6 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง
ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร ดังในภาพ



                                                                  เพิ่มความเข้ม
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์   23



        กลุ่มที่ 11 แบ่งตัวอักษรกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน คือ อ ฮ

           ตัวอักษร อ จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง
และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดัง
ในภาพ
                                                                       เพิ่มความเข้ม



           ตัวอักษร ฮ จะใช้เส้นในการเขียน 6 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง
และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดัง
ในภาพ



                                                                       เพิ่มความเข้ม




               นักเรียนต้องฝึกเขียนบ่อยๆนะครับ
                  เพื่อให้เกิดทักษะในการเขียน




               นักเรียนไปเริ่มกิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ 4
                                 กันเถอะครับ
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์    24



                               กิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ 4
จุดประสงค์การเรียนรู้       - นักเรียนอธิบายหลักการเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ได้
                            - นักเรียนสามารถเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์เบื้องต้นได้
 คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ของตัวอักษรกลุ่มที่ 10 คือ จ ฐ ฉ น ม
ฆ และตัวอักษรกลุ่มที่ 11 คือ อ ฮ โดยศึกษาเรียนรู้จากตัวอย่างที่แสดงขั้นตอนการเขียนที่
กาหนดให้ โดยเขียนอย่างต่อเนื่อง
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์     25


                          ลาดับขั้นตอนการเขียนตัวเลข

        การเขียนตัวเลขตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ให้เขียนตามลาดับและทิศทางของลูกศร




                     ลาดับขั้นตอนการเขียนสระ – วรรณยุกต์

        การเขียนสระ-วรรณยุกต์ตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ให้เขียนตามลาดับและทิศทางของ
ลูกศร




                                                        ภาพโดย อารมย์ อินทรประเสริฐ
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์     26



                               กิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ 5

      จุดประสงค์การเรียนรู้       - นักเรียนอธิบายหลักการเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ได้
                                  - นักเรียนสามารถเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์เบื้องต้นได้
      คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวเลข และสระ-วรรณยุกต์ ของตัวอักษรแบบอาลักษณ์
โดยศึกษาเรียนรู้จากตัวอย่างที่แสดงขั้นตอนการเขียนที่กาหนดให้ โดยเขียนอย่างต่อเนื่อง
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์   27

กิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ 5 ( ต่อ )
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์   28

กิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ 5 ( ต่อ )




       การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ต้องฝึกเขียนบ่อยๆจะทาให้
   ผูฝึกเกิดทักษะในการเขียน และสามารถลากเส้นในการเขียนตัวอักษร
     ้
  ให้เกิดความต่อเนื่องได้ และยังสามารถเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์
       ที่มีตัวเอียง ซึ่งมีความสวยงามอีกแบบหนึ่งได้ด้วย
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์   29

      การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ยังสามารถดัดแปลงหรือคลี่คลายให้ตัวอักษรแบบ
อาลักษณ์ให้มีความอ่อนช้อยหรือแตกต่างจากต้นแบบได้ดังนี้




            เป็นการเขียนตัวอักษรโดยการเขียนตัวอักษรแบบหัวบัว เป็นหัวกลม
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์   30




เป็นการเขียนตัวอักษรโดยการเขียนตัวอักษรแบบหัวบัว เป็นหัวกลมและตัวอักษรเอนไปข้าง
             หลังและเล่นหางตัวอักษร เพื่อให้เกิดความสวยงามอ่อนช้อย
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์   31



      ผลงานตัวอย่างการเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์




ผลงานเป็นการเขียนใบประกาศเกียรติคุณ และหน้าซองหนังสือราชการโดยใช้
                      ตัวอักษรแบบอาลักษณ์
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์    32




                        แบบทดสอบหลังเรียน

                 เรื่อง การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์




คาชี้แจง       ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ โดยใช้
ปากกาหมึกซึมหรือปากกาหัวสักหลาดเบอร์ 0.3 หรือ 0.5 ตามข้อความที่ให้ หรือข้อความอื่นๆ
ที่นักเรียนต้องการเขียน เขียน ลงในกระดาษขนาด A4 ที่กาหนดให้ ตามทักษะประสบการณ์ที่
ได้ศึกษาและเรียนรู้จากแบบฝึกเสริมทักษะเล่มนี้ และความสามารถของตนเอง
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์       33




                                 บรรณานุกรม


เฉลิม นาคีรักษ์ บันเทิง ชลช่วยชีพ และนลินี ณ นคร. หนังสือเรียนศิลปศึกษา
          รายวิชา ศ 203 – 204 ศิลปะกับชีวิต 3 - 4 สาหรับมัธยมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพฯ :
          อักษรเจริญทัศน์, 2541.
วัชรพงศ์ หงษ์สุวรรณ. ออกแบบประดิษฐ์อักษร ไทย - อังกฤษ. พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพฯ :
          วาดศิลป์, 2550.
วิฑูรย์ โสแก้ว. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ทัศนศิลป์
          ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช, 2548.
วิฑูรย์ โสแก้ว และคณะ. คู่มือครู แผนจัดการเรียนรู้ ทัศนศิลป์ ช่วงชั้นที่ 3
          ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช, 2548.

“นวัตกรรมแห่งการเรียนรู้” (2550) http://learners.in.th/blog/boontieng/62098
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์   34




ภาคผนวก
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์         35

                            เกณฑ์การประเมินกระบวนการฝึกเสริมทักษะศิลปะ
                                    ชุดการประดิษฐ์ตัวอักษรเบื้องต้น
                          วิชา ศ 30205 การเขียนตัวอักษร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

      รายการประเมิน              คะแนน                           ตัวชี้วัด
1. การปฏิบัติกิจกรรมฝึก                   เอาใจใส่และรับผิดชอบกิจกรรมฝึกเสริมทักษะทุกกิจกรรม
เสริมทักษะตามที่กาหนด               4     ด้วยความตั้งใจ และเต็มใจที่ปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะ
         ( 4 คะแนน )                      ให้สาเร็จภายในเวลาที่กาหนด
                                          เอาใจใส่งานที่รับผิดชอบเป็นส่วนใหญ่ ตั้งใจ และเต็มใจ
                                    3     ที่จะปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะ ให้สาเร็จภายในเวลาที่
                                          กาหนด
                                          เอาใจใส่กิจกรรมฝึกเสริมทักษะน้อย มีความตั้งใจที่จะ
                                    2     ปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะ ไม่สม่าเสมอ ต้องมีครูคอย
                                          ควบคุมในบางครั้งให้สาเร็จภายในเวลาที่กาหนด
                                          ไม่เอาใจใส่กิจกรรมฝึกเสริมทักษะ โดยต้องมีครูดู
                                    1     ตลอดเวลาปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะ จึงจะสาเร็จ
                                          ภายในเวลาที่กาหนด

2. ทักษะการปฏิบัติกิจกรรม                 มีการปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะได้ถูกต้อง คล่องแคล่ว
ฝึกเสริมทักษะ                       3     ว่องไว และได้ผลงานดี
           ( 3 คะแนน )              2     มีการปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะไม่ถูกต้อง
                                          แต่ได้ผลงาน
                                    1     มีการปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะไม่ถูกต้อง
                                          ไม่ได้ผลงาน

3. การใช้เครื่องมือ-อุปกรณ์         3     มีทักษะในการใช้เครื่องมือ-อุปกรณ์ ใช้ถูกหลักการ ถูกวิธี
ได้ถูกวิธี                                ปลอดภัย และได้ผลงานดี
           ( 3 คะแนน )              2     ขาดทักษะการใช้เครื่องมือ-อุปกรณ์ ไม่ถูกหลักการ ถูกวิธี
                                          ปลอดภัยได้ผลงาน
                                    1     ขาดทักษะการใช้เครื่องมือ-อุปกรณ์ ไม่ถูกหลักการ ไม่ถูกวิธี
                                          ไม่ได้ผลงาน
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์       36

        รายการประเมิน          คะแนน                      ตัวชี้วัด
  4. การใช้วัสดุอย่างประหยัด      3 ใช้วัสดุ-อุปกรณ์อย่างประหยัด ตามความจาเป็น
             ( 3 คะแนน )          2 ใช้วัสดุ-อุปกรณ์อย่างประหยัด เป็นบางครั้ง
                                  1 ใช้วัสดุ-อุปกรณ์ เกินความจาเป็น

  5. การแก้ไขปรับปรุง             4    ปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะได้ผลดี ไม่มีปัญหาใดๆ
  ระหว่างการปฏิบัติกิจกรรม        3    ปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะได้ แต่มีปัญหาและสามารถ
  ฝึกเสริมทักษะ                        แก้ไขปัญหาได้เป็นส่วนใหญ่
             ( 4 คะแนน )          2    ปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะได้ แต่มีปัญหาและสามารถ
                                       แก้ไขปัญหาได้ส่วนน้อย
                                  1    ปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะไม่ได้ มีปัญหาและไม่
                                       สามารถแก้ไขปัญหาได้

  6. การเก็บทาความสะอาด           3    ทาความสะอาดสถานที่ เครื่องมือ และจัดเก็บทุกครั้ง
  เครื่องมือ-อุปกรณ์              2    ทาความสะอาดสถานที่ เครื่องมือ และจัดเก็บเป็นบางครั้ง
             ( 3 คะแนน )          1    ไม่ทาความสะอาดสถานที่ เครื่องมือ โดยครูต้องเตือน
                                       ทุกครั้ง



เกณฑ์การตัดสิน                 แบ่งระดับคุณภาพ 3 ระดับ
      ระดับ 3 ดี                ได้คะแนนรวมทุกรายการ ระหว่าง 14 – 20 คะแนน
      ระดับ 2 พอใช้             ได้คะแนนรวมทุกรายการ ระหว่าง 7 – 14 คะแนน
      ระดับ 1 ปรับปรุง          ได้คะแนนรวมทุกรายการ ระหว่าง 1 – 6 คะแนน
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์      37

                                  เกณฑ์การประเมินผลงานนักเรียน
                                   ชุดการประดิษฐ์ตัวอักษรเบื้องต้น
                         วิชา ศ 30205 การเขียนตัวอักษร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

         รายการประเมิน            คะแนน                          ตัวชี้วัด
 1. ความสมบูรณ์ของผลงาน             4         ผลงานสมบูรณ์สวยงาม
             ( 4 คะแนน )            3         ผลงานสมบูรณ์เป็นส่วนมาก
                                    2         ผลงานสมบูรณ์เป็นส่วนน้อย
                                    1         ผลงานขาดความสมบูรณ์

 2. ความประณีต ชัดเจน                3        แสดงรายละเอียด ประณีต สมบูรณ์ ชัดเจน
             ( 3 คะแนน )             2        แสดงรายละเอียด ประณีต สมบูรณ์ ชัดเจน
                                              เป็นส่วนมาก
                                     1        ไม่แสดงรายละเอียด ไม่ประณีต ขาดความสมบูรณ์
                                              และขาดความชัดเจน

 3. ความคิดสร้างสรรค์                 3       รูปแบบมีความแปลกใหม่
               ( 3 คะแนน )           2        มีความแปลกใหม่เป็นส่วนมาก
                                     1        มีความแปลกใหม่เป็นส่วนน้อย



เกณฑ์การตัดสิน                  แบ่งระดับคุณภาพ 3 ระดับ
      ระดับ 3 ดี                ได้คะแนนรวมทุกรายการ ระหว่าง 8 – 10 คะแนน
      ระดับ 2 พอใช้             ได้คะแนนรวมทุกรายการ ระหว่าง 5 – 7 คะแนน
      ระดับ 1 ปรับปรุง          ได้คะแนนรวมทุกรายการ ระหว่าง 1 – 4 คะแนน
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์        38

                           แบบสรุปการจัดกิจกรรมฝึกเสริมทักษะศิลปะ
                       วิชา ศ 30205 การเขียนตัวอักษร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
                             เล่มที่ 2 การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์

                       ก่อน      คะแนนกิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่          หลัง
เลขที่   ชื่อ – สกุล                                                               หมายเหตุ
                       เรียน    1 2 3 4 5 รวม                          เรียน
  1
  2
  3
  4
  5
  6
  7
  8
  9
 10
 11
 12
 13
 14
 15
 16
 17
 18
 19
 20
 21
 22
 23
 24
การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์        39

                         ก่อน     คะแนนกิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่     หลัง
เลขที่     ชื่อ – สกุล                                                         หมายเหตุ
                         เรียน   1 2 3 4 5 รวม                     เรียน
 25
 26
 27
 28
 29
 30
 31
 32
 33
 34
 35
 36
 37
 38
 39
 40
 41
 42
 43
          รวม
         เฉลี่ย
         ร้อยละ

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6teerachon
 
อักษรหัวกลม - Peterfineart.com
อักษรหัวกลม - Peterfineart.comอักษรหัวกลม - Peterfineart.com
อักษรหัวกลม - Peterfineart.competer dontoom
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วยแผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วยKiiKz Krittiya
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
ปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรมปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรมSophinyaDara
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนNok Yupa
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงานMeaw Sukee
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6teerachon
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างkrupeak
 

What's hot (20)

ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
 
อักษรหัวกลม - Peterfineart.com
อักษรหัวกลม - Peterfineart.comอักษรหัวกลม - Peterfineart.com
อักษรหัวกลม - Peterfineart.com
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
พละ ม.1
พละ ม.1พละ ม.1
พละ ม.1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วยแผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
ปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรมปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรม
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
 

Similar to แบบอาลักษณ์ - Peterfineart.com

วาดภาพระบายสี
วาดภาพระบายสีวาดภาพระบายสี
วาดภาพระบายสีWattanakorn Fuakeaw
 
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้bn k
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓daranee14
 

Similar to แบบอาลักษณ์ - Peterfineart.com (7)

วาดภาพระบายสี
วาดภาพระบายสีวาดภาพระบายสี
วาดภาพระบายสี
 
48104437 1 20120122-145528
48104437 1 20120122-14552848104437 1 20120122-145528
48104437 1 20120122-145528
 
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
 
แบบฝึกซ่อมเสริม
แบบฝึกซ่อมเสริมแบบฝึกซ่อมเสริม
แบบฝึกซ่อมเสริม
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
 

More from peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

More from peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

แบบอาลักษณ์ - Peterfineart.com

  • 1. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 1 แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ โดยใช้ปากกาหมึกซึม หรือปากกาหัวสักหลาด เบอร์ 0.3 หรือ 0.5 ตามข้อความที่กาหนดให้ ลงในกระดาษขนาด A4 ที่กาหนดให้ ตามทักษะประสบการณ์และความสามารถของตนเอง
  • 2. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 2 ศึกษาแนวคิด จุดประสงค์ ประเมินผล ปรับปรุง พัฒนา ศึกษา สังเกต เทคนิควิธีการ ค้นคว้า เรียนรู้เพิ่มเติม วิธีเรียนรู้ นาทักษะการเขียนตัวอักษร ฝึกทักษะการเขียน แบบอาลักษณ์ ไปประยุกต์ ตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ใช้ในงานต่างๆ เราไปเริ่มเรียนรู้กันเลยนะ
  • 3. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 3 เรื่อง การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายหลักของการเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ได้ 2. สามารถเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์เบื้องต้นได้ ตัวอักษรแบบอาลักษณ์ หรือ เรียกว่าตัวอักษรแบบหัวบัว จะสังเกตเห็นว่าหัวตัวอักษร แต่ละตัวมีหัวเป็นวงรีคล้ายดอกบัวนั่นเอง เป็นตัวอักษรแบบคัดลายมือตัวบรรจง มีความ ประณีตสวยงาม สัญลักษณ์ความเป็นไทยนิยมใช้เขียนเอกสารสาคัญทางราชการ และเหมาะที่ จะนาไปใช้กับงานเขียนบัตรอวยพร บัตรเชิญ เกียรติบัตร และประกาศนียบัตร เป็นต้น
  • 4. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 4 ก่อนฝึกเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ควรเตรียมอุปกรณ์ ให้พร้อม เช่น ปากกา สมุดปกอ่อน หรือกระดาษ A4 ที่ตีเส้นบรรทัดเรียบร้อยแล้ว ศึกษาขั้นตอนการฝึกเขียน ตัวอักษรแบบอาลักษณ์ กันเถอะ
  • 5. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 5 วัสดุ - อุปกรณ์ที่จาเป็นที่ใช้ในการฝึกเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ปากกาเคมี หรือปากกาหัวสักหลาด ปากกาลูกลื่นและดินสอ หรือปากกาหมึกซึม นักเรียนสามารถเลือกวัสดุที่ใช้ฝึกเขียนได้ เช่น ปากกาซึ่งเส้นของปากกา มี หลายขนาด และสามารถใช้ปากกาลูกลื่นหรือดินสอมาใช้ฝึกเขียนได้ สมุดเบอร์ 2 และสมุดปกอ่อน นักเรียนสามารถนามาใช้ในการฝึกเขียน ตัวอักษรแบบอาลักษณ์ นอกเหนือจากที่ฝึก เขียนในแบบฝึก
  • 6. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 6 ขั้นตอนการฝึกเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ขั้นตอนการเริ่มต้นการเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ คือมีการแบ่งกลุ่มตัวอักษรที่มี ลักษณะขั้นตอนการเริ่มต้นการเขียนพยัญชนะที่คล้ายกัน เช่น ตัวอักษร ก ภ ถ หรือ ข ช ซ เป็นต้น โดยมีการแบ่งกลุ่มดังนี้ กลุ่มที่ 1 ตัวอักษรกลุ่มแรกที่ลักษณะใกล้เคียงกัน คือ ก ถ ภ ตัวอักษร ก ใช้เส้นในการเขียน 4 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา ตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม ตัวอักษร ถ ใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา ตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม ตัวอักษร ภ ใช้เส้นในการเขียน 6 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา ตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม
  • 7. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 7 กลุ่มที่ 2 ตัวอักษรกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกันกับกลุ่มที่ 1 คือ ฎ ฏ ตัวอักษร ฎ จะใช้เส้นในการเขียน 8 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน สุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม ตัวอักษร ฏ จะใช้เส้นในการเขียน 8 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน สุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม กลุ่มที่ 3 ตัวอักษรกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกันกับกลุ่มที่ 1 - 2 คือ ฌ ญ ณ ตัวอักษร ฌ จะใช้เส้นในการเขียน 8 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน สุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม
  • 8. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 8 ตัวอักษร ญ จะใช้เส้นในการเขียน 10 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน สุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม ตัวอักษร ณ จะใช้เส้นในการเขียน 9 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน สุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม นักเรียนไปทากิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ 1 กันเถอะ การที่จะทาให้นักเรียนเขียนตัวอักษรแบบ อาลักษณ์ให้ได้ดีนักเรียนต้องฝึกเขียนบ่อยๆ นะครับ ให้ได้ดีนั้น นักเรียนต้องฝึกเขียนบ่อยๆ นะครับ
  • 9. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 9 กิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ 1 จุดประสงค์การเรียนรู้ - อธิบายหลักการเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ได้ - สามารถเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์เบื้องต้นได้ คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ของตัวอักษรกลุ่มที่ 1 คือ ก ถ ภ กลุ่มตัวอักษรกลุ่มที่ 2 คือ ฎ ฏ และตัวอักษรกลุ่มที่ 3 คือ ฌ ญ ณ โดยศึกษาเรียนรู้จาก ตัวอย่างที่แสดงขั้นตอนการเขียนที่กาหนดให้ โดยเขียนอย่างต่อเนื่อง
  • 10. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 10 กลุ่มที่ 4 ตัวอักษรกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน คือ ข ช ซ ตัวอักษร ข จะใช้เส้นในการเขียน 4 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน สุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม ตัวอักษร ช จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน สุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม ตัวอักษร ซ จะใช้เส้นในการเขียน 6 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน สุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม
  • 11. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 11 กลุ่มที่ 5 ตัวอักษรกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน คือ ค ศ ด ต ฒ ตัวอักษร ค จะใช้เส้นในการเขียน 6 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลง ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน สุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม ตัวอักษร ศ จะใช้เส้นในการเขียน 7 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลง ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน สุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม ตัวอักษร ด จะใช้เส้นในการเขียน 6 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลง ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน สุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม
  • 12. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 12 ตัวอักษร ต จะใช้เส้นในการเขียน 6 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลง ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน สุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม ตัวอักษร ฒ จะใช้เส้นในการเขียน 9 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลง ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน สุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม เราไปเริ่มกิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ 2 กันเลยนะครับ
  • 13. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 13 กิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ 2 จุดประสงค์การเรียนรู้ - อธิบายหลักการเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ได้ - สามารถเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์เบื้องต้นได้ คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ของตัวอักษรกลุ่มที่ 4 คือ ข ช ซ กลุ่มตัวอักษรกลุ่มที่ 5 คือ ค ศ ด ต ฒ โดยศึกษาเรียนรู้จากตัวอย่างที่แสดงขั้นตอนการเขียน ที่กาหนดให้ โดยเขียนอย่างต่อเนื่อง
  • 14. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 14 กลุ่มที่ 6 ตัวอักษรกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน คือ บ ป ษ ตัวอักษร บ จะใช้เส้นในการเขียน 4 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลง ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน สุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม ตัวอักษร ป จะใช้เส้นในการเขียน 4 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลง ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน สุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม ตัวอักษร ษ จะใช้เส้นในการเขียน 7 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดัง ในภาพ เพิ่มความเข้ม
  • 15. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 15 กลุ่มที่ 7 ตัวอักษรกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน คือ ย ผ ฝ พ ฟ ฬ ตัวอักษร ย จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดัง ในภาพ เพิ่มความเข้ม ตัวอักษร ผ จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร ดังในภาพ ตัวอักษร ฝ จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลง ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร ดังในภาพ ตัวอักษร พ จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร ดังในภาพ
  • 16. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 16 ตัวอักษร ฟ จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร ดังในภาพ ตัวอักษร ฬ จะใช้เส้นในการเขียน 7 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดัง ในภาพ เพิ่มความเข้ม กลุ่มที่ 8 ตัวอักษรกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน คือ ว ร ธ ตัวอักษร ว จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม
  • 17. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 17 ตัวอักษร ร จะใช้เส้นในการเขียน 4 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดัง ในภาพ เพิ่มความเข้ม ตัวอักษร ธ จะใช้เส้นในการเขียน 4 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม กลุ่มที่ 9 ตัวอักษรกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน คือ ง ท ฑ ห ตัวอักษร ง จะใช้เส้นในการเขียน 4 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม
  • 18. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 18 ตัวอักษร ท จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม ตัวอักษร ฑ จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม ตัวอักษร ห จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร ดังในภาพ
  • 19. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 19 กิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ 3 จุดประสงค์การเรียนรู้ - นักเรียนอธิบายหลักการเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ได้ - นักเรียนสามารถเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์เบื้องต้นได้ คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ของตัวอักษรกลุ่มที่ 6 คือ บ ป ษ ตัวอักษรกลุ่มที่ 7 คือ ย ผ ฝ พ ฟ ฬ ตัวอักษรกลุ่มที่ 8 คือ ว ร ธ และตัวอักษรกลุ่มที่ 9 คือ ง ท ฑ ห โดยศึกษาเรียนรู้จากตัวอย่างที่แสดงขั้นตอนการเขียนที่กาหนดให้ โดยเขียน อย่างต่อเนื่อง
  • 20. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 20 กิจกรรมเสริมทักษะที่ 3 ( ต่อ )
  • 21. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 21 กลุ่มที่ 10 ตัวอักษรกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน คือ จ ฐ ฉ น ม ฆ ตัวอักษร จ จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม ตัวอักษร ฐ จะใช้เส้นในการเขียน 10 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน สุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม ตัวอักษร ฉ จะใช้เส้นในการเขียน 7 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอน สุดท้าย ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม
  • 22. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 22 ตัวอักษร น จะใช้เส้นในการเขียน 6 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร ดังในภาพ ตัวอักษร ม จะใช้เส้นในการเขียน 6 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร ดังในภาพ ตัวอักษร ฆ จะใช้เส้นในการเขียน 6 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบน ลง ล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร ดังในภาพ เพิ่มความเข้ม
  • 23. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 23 กลุ่มที่ 11 แบ่งตัวอักษรกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน คือ อ ฮ ตัวอักษร อ จะใช้เส้นในการเขียน 5 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดัง ในภาพ เพิ่มความเข้ม ตัวอักษร ฮ จะใช้เส้นในการเขียน 6 เส้น โดยวิธีการลากเส้น ให้ลากจากบนลงล่าง และลากจากซ้ายไปขวา และให้เขียนตามลาดับลูกศร โดยเพิ่มความเข้มเป็นขั้นตอนสุดท้าย ดัง ในภาพ เพิ่มความเข้ม นักเรียนต้องฝึกเขียนบ่อยๆนะครับ เพื่อให้เกิดทักษะในการเขียน นักเรียนไปเริ่มกิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ 4 กันเถอะครับ
  • 24. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 24 กิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ 4 จุดประสงค์การเรียนรู้ - นักเรียนอธิบายหลักการเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ได้ - นักเรียนสามารถเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์เบื้องต้นได้ คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ของตัวอักษรกลุ่มที่ 10 คือ จ ฐ ฉ น ม ฆ และตัวอักษรกลุ่มที่ 11 คือ อ ฮ โดยศึกษาเรียนรู้จากตัวอย่างที่แสดงขั้นตอนการเขียนที่ กาหนดให้ โดยเขียนอย่างต่อเนื่อง
  • 25. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 25 ลาดับขั้นตอนการเขียนตัวเลข การเขียนตัวเลขตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ให้เขียนตามลาดับและทิศทางของลูกศร ลาดับขั้นตอนการเขียนสระ – วรรณยุกต์ การเขียนสระ-วรรณยุกต์ตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ให้เขียนตามลาดับและทิศทางของ ลูกศร ภาพโดย อารมย์ อินทรประเสริฐ
  • 26. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 26 กิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ 5 จุดประสงค์การเรียนรู้ - นักเรียนอธิบายหลักการเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ได้ - นักเรียนสามารถเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์เบื้องต้นได้ คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตัวเลข และสระ-วรรณยุกต์ ของตัวอักษรแบบอาลักษณ์ โดยศึกษาเรียนรู้จากตัวอย่างที่แสดงขั้นตอนการเขียนที่กาหนดให้ โดยเขียนอย่างต่อเนื่อง
  • 27. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 27 กิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ 5 ( ต่อ )
  • 28. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 28 กิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ 5 ( ต่อ ) การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ต้องฝึกเขียนบ่อยๆจะทาให้ ผูฝึกเกิดทักษะในการเขียน และสามารถลากเส้นในการเขียนตัวอักษร ้ ให้เกิดความต่อเนื่องได้ และยังสามารถเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ที่มีตัวเอียง ซึ่งมีความสวยงามอีกแบบหนึ่งได้ด้วย
  • 29. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 29 การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ยังสามารถดัดแปลงหรือคลี่คลายให้ตัวอักษรแบบ อาลักษณ์ให้มีความอ่อนช้อยหรือแตกต่างจากต้นแบบได้ดังนี้ เป็นการเขียนตัวอักษรโดยการเขียนตัวอักษรแบบหัวบัว เป็นหัวกลม
  • 30. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 30 เป็นการเขียนตัวอักษรโดยการเขียนตัวอักษรแบบหัวบัว เป็นหัวกลมและตัวอักษรเอนไปข้าง หลังและเล่นหางตัวอักษร เพื่อให้เกิดความสวยงามอ่อนช้อย
  • 31. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 31 ผลงานตัวอย่างการเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ผลงานเป็นการเขียนใบประกาศเกียรติคุณ และหน้าซองหนังสือราชการโดยใช้ ตัวอักษรแบบอาลักษณ์
  • 32. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 32 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ คาชี้แจง ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ โดยใช้ ปากกาหมึกซึมหรือปากกาหัวสักหลาดเบอร์ 0.3 หรือ 0.5 ตามข้อความที่ให้ หรือข้อความอื่นๆ ที่นักเรียนต้องการเขียน เขียน ลงในกระดาษขนาด A4 ที่กาหนดให้ ตามทักษะประสบการณ์ที่ ได้ศึกษาและเรียนรู้จากแบบฝึกเสริมทักษะเล่มนี้ และความสามารถของตนเอง
  • 33. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 33 บรรณานุกรม เฉลิม นาคีรักษ์ บันเทิง ชลช่วยชีพ และนลินี ณ นคร. หนังสือเรียนศิลปศึกษา รายวิชา ศ 203 – 204 ศิลปะกับชีวิต 3 - 4 สาหรับมัธยมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2541. วัชรพงศ์ หงษ์สุวรรณ. ออกแบบประดิษฐ์อักษร ไทย - อังกฤษ. พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2550. วิฑูรย์ โสแก้ว. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ทัศนศิลป์ ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช, 2548. วิฑูรย์ โสแก้ว และคณะ. คู่มือครู แผนจัดการเรียนรู้ ทัศนศิลป์ ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช, 2548. “นวัตกรรมแห่งการเรียนรู้” (2550) http://learners.in.th/blog/boontieng/62098
  • 35. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 35 เกณฑ์การประเมินกระบวนการฝึกเสริมทักษะศิลปะ ชุดการประดิษฐ์ตัวอักษรเบื้องต้น วิชา ศ 30205 การเขียนตัวอักษร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 รายการประเมิน คะแนน ตัวชี้วัด 1. การปฏิบัติกิจกรรมฝึก เอาใจใส่และรับผิดชอบกิจกรรมฝึกเสริมทักษะทุกกิจกรรม เสริมทักษะตามที่กาหนด 4 ด้วยความตั้งใจ และเต็มใจที่ปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะ ( 4 คะแนน ) ให้สาเร็จภายในเวลาที่กาหนด เอาใจใส่งานที่รับผิดชอบเป็นส่วนใหญ่ ตั้งใจ และเต็มใจ 3 ที่จะปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะ ให้สาเร็จภายในเวลาที่ กาหนด เอาใจใส่กิจกรรมฝึกเสริมทักษะน้อย มีความตั้งใจที่จะ 2 ปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะ ไม่สม่าเสมอ ต้องมีครูคอย ควบคุมในบางครั้งให้สาเร็จภายในเวลาที่กาหนด ไม่เอาใจใส่กิจกรรมฝึกเสริมทักษะ โดยต้องมีครูดู 1 ตลอดเวลาปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะ จึงจะสาเร็จ ภายในเวลาที่กาหนด 2. ทักษะการปฏิบัติกิจกรรม มีการปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะได้ถูกต้อง คล่องแคล่ว ฝึกเสริมทักษะ 3 ว่องไว และได้ผลงานดี ( 3 คะแนน ) 2 มีการปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะไม่ถูกต้อง แต่ได้ผลงาน 1 มีการปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะไม่ถูกต้อง ไม่ได้ผลงาน 3. การใช้เครื่องมือ-อุปกรณ์ 3 มีทักษะในการใช้เครื่องมือ-อุปกรณ์ ใช้ถูกหลักการ ถูกวิธี ได้ถูกวิธี ปลอดภัย และได้ผลงานดี ( 3 คะแนน ) 2 ขาดทักษะการใช้เครื่องมือ-อุปกรณ์ ไม่ถูกหลักการ ถูกวิธี ปลอดภัยได้ผลงาน 1 ขาดทักษะการใช้เครื่องมือ-อุปกรณ์ ไม่ถูกหลักการ ไม่ถูกวิธี ไม่ได้ผลงาน
  • 36. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 36 รายการประเมิน คะแนน ตัวชี้วัด 4. การใช้วัสดุอย่างประหยัด 3 ใช้วัสดุ-อุปกรณ์อย่างประหยัด ตามความจาเป็น ( 3 คะแนน ) 2 ใช้วัสดุ-อุปกรณ์อย่างประหยัด เป็นบางครั้ง 1 ใช้วัสดุ-อุปกรณ์ เกินความจาเป็น 5. การแก้ไขปรับปรุง 4 ปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะได้ผลดี ไม่มีปัญหาใดๆ ระหว่างการปฏิบัติกิจกรรม 3 ปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะได้ แต่มีปัญหาและสามารถ ฝึกเสริมทักษะ แก้ไขปัญหาได้เป็นส่วนใหญ่ ( 4 คะแนน ) 2 ปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะได้ แต่มีปัญหาและสามารถ แก้ไขปัญหาได้ส่วนน้อย 1 ปฏิบัติกิจกรรมฝึกเสริมทักษะไม่ได้ มีปัญหาและไม่ สามารถแก้ไขปัญหาได้ 6. การเก็บทาความสะอาด 3 ทาความสะอาดสถานที่ เครื่องมือ และจัดเก็บทุกครั้ง เครื่องมือ-อุปกรณ์ 2 ทาความสะอาดสถานที่ เครื่องมือ และจัดเก็บเป็นบางครั้ง ( 3 คะแนน ) 1 ไม่ทาความสะอาดสถานที่ เครื่องมือ โดยครูต้องเตือน ทุกครั้ง เกณฑ์การตัดสิน แบ่งระดับคุณภาพ 3 ระดับ ระดับ 3 ดี ได้คะแนนรวมทุกรายการ ระหว่าง 14 – 20 คะแนน ระดับ 2 พอใช้ ได้คะแนนรวมทุกรายการ ระหว่าง 7 – 14 คะแนน ระดับ 1 ปรับปรุง ได้คะแนนรวมทุกรายการ ระหว่าง 1 – 6 คะแนน
  • 37. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 37 เกณฑ์การประเมินผลงานนักเรียน ชุดการประดิษฐ์ตัวอักษรเบื้องต้น วิชา ศ 30205 การเขียนตัวอักษร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 รายการประเมิน คะแนน ตัวชี้วัด 1. ความสมบูรณ์ของผลงาน 4 ผลงานสมบูรณ์สวยงาม ( 4 คะแนน ) 3 ผลงานสมบูรณ์เป็นส่วนมาก 2 ผลงานสมบูรณ์เป็นส่วนน้อย 1 ผลงานขาดความสมบูรณ์ 2. ความประณีต ชัดเจน 3 แสดงรายละเอียด ประณีต สมบูรณ์ ชัดเจน ( 3 คะแนน ) 2 แสดงรายละเอียด ประณีต สมบูรณ์ ชัดเจน เป็นส่วนมาก 1 ไม่แสดงรายละเอียด ไม่ประณีต ขาดความสมบูรณ์ และขาดความชัดเจน 3. ความคิดสร้างสรรค์ 3 รูปแบบมีความแปลกใหม่ ( 3 คะแนน ) 2 มีความแปลกใหม่เป็นส่วนมาก 1 มีความแปลกใหม่เป็นส่วนน้อย เกณฑ์การตัดสิน แบ่งระดับคุณภาพ 3 ระดับ ระดับ 3 ดี ได้คะแนนรวมทุกรายการ ระหว่าง 8 – 10 คะแนน ระดับ 2 พอใช้ ได้คะแนนรวมทุกรายการ ระหว่าง 5 – 7 คะแนน ระดับ 1 ปรับปรุง ได้คะแนนรวมทุกรายการ ระหว่าง 1 – 4 คะแนน
  • 38. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 38 แบบสรุปการจัดกิจกรรมฝึกเสริมทักษะศิลปะ วิชา ศ 30205 การเขียนตัวอักษร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่มที่ 2 การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ก่อน คะแนนกิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ หลัง เลขที่ ชื่อ – สกุล หมายเหตุ เรียน 1 2 3 4 5 รวม เรียน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24
  • 39. การเขียนตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 39 ก่อน คะแนนกิจกรรมฝึกเสริมทักษะที่ หลัง เลขที่ ชื่อ – สกุล หมายเหตุ เรียน 1 2 3 4 5 รวม เรียน 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 รวม เฉลี่ย ร้อยละ