SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
หากมีการกระทาครบองค์ประกอบ และไม่มีกฎหมายให้อานาจกระทาได้ ผู้
นั้นย่อมได้รับโทษ
แต่ถ้าผู้ที่ได้กระทาไปมิได้มีความชั่ว แต่ได้ทาไปเพราะ
จาเป็น
เป็นเด็กไม่รู้ผิดชอบ
เป็นคนวิกลจริตไม่รู้ผิดชอบ
กระทาไปโดยไม่รู้ผิดชอบเนื่องจากถูกมอมยา
กระทาไปเพราะทาตามคาสั่งของเจ้าหน้าที่รัฐ แต่เจ้าหน้าที่สั่งโดยไม่ชอบ
การกระทาจากเหตุข้างต้น ผู้กระทาควรถูกลงโทษหรือ?
ความชั่ว
 Schuld
 Guilt
การกระทาชั่ว คือ การกระทาอันเป็นสิ่งที่ตาหนิได้ และสมควร
ถูกลงโทษ
การลงโทษในทางอาญา จะลงโทษแก่ผู้ที่กระทาชั่ว
เมื่อผู้กระทาไม่มีความชั่ว แม้จะผิดกฎหมาย แต่สมควรยกเว้น
โทษให้
อายุ
มาตรา 73, 74
ผู้ที่อายุน้อยย่อมขาดความรู้ผิดชอบ เพราะความไร้
เดียงสา
จิตของผู้กระทาผิด
 หากขณะกระทานั้นปราศจากความชั่วทางจิต ย่อมไม่สมควรรับโทษ
 มาตรา 65
 ความผิดปกติของจิต
 ไม่สามารถบังคับตนเองได้
 มาตรา 66
 ถูกมอม ถูกวางยา
ความไม่รู้ถูกผิด
 หากไม่รู้ว่าสิ่งที่ทาผิด ผู้นั้นไม่สมควรถูกลงโทษ
 มาตรา 70
การกระทาผิดโดยจาเป็น
มาตรา 67 แบ่งเป็น 2 อนุมาตรา ตามเหตุแห่งความจาเป็น
1. จาเป็นเพราะอยู่ภายใต้การบังคับ (duress)
2. จาเป็นต้องทา เพื่อให้พ้นภัย (necessity)
* ข้อสังเกต คือ ผู้กระทาโดยจาเป็นไม่ได้เป็นผู้ริเริ่มในการกระทาของตนก่อน
ทาความผิดด้วยความจาเป็น เพราะถูกบังคับ (1)
1. อยู่ในที่บังคับหรืออยู่ภายใต้อานาจ (เจตนาพิเศษ)
2. ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้
3. ผู้กระทาต้องมิได้ก่อเหตุขึ้นโดยความผิดของตน
4. กระทาไปไม่เกิดขอบเขต
กระทาผิดโดยจาเป็นเพื่อให้พ้นภัย (2)
1. มีภยันตราย
2. ภยันตรายใกล้ถึง
3. เป็นภยันตรายที่ไม่อาจเลี่ยงได้
4. ภัยนั้นผู้กระทาไม่ได้ก่อ
5. กระทาเพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นพ้นภัย
6. กระทาไปไม่เกินขอบเขต
ข้อแตกต่างป้องกัน กับ จาเป็น
1. ป้องกัน ทาต่อผู้ก่อภัย จาเป็น ทาต่อบุคคลที่สาม
2. ป้องกัน ยกเว้นความผิด จาเป็น มีความผิดแต่ยกเว้นโทษ
3. ป้องกัน ผู้กระทาไม่จาต้องเลี่ยง จาเป็นผู้กระทาต้องเลี่ยง
4. ป้องกัน เพื่อป้องกันสิทธิ หรือพ้นภัย จาเป็นทาเพราะเลี่ยงไม่ได้ หรือ
พ้นภัย
5. ป้องกัน ใช้วิธีทางที่น้อยที่สุด จาเป็นให้วิธีทางทีน้อยที่สุดและได้
สัดส่วน
บันดาลโทสะ
 มาตรา 72
1. ถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุไม่เป็นธรรม (ดูเหตุที่กระทา)
2. การข่มเหงทาให้ผู้กระทาบันดาลโทสะ (ดูภาวะจิตใจผู้กระทา)
3. ผู้กระทาได้กระทากลับแต่ผู้ข่มเหง (ดูผู้ที่ถูกกระทา)

More Related Content

What's hot

02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน
Nut Seraphim
 
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
phornphan1111
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
Jariya Jaiyot
 
0 o net-2549
0 o net-25490 o net-2549
0 o net-2549
saiyok07
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
Eyezz Alazy
 
เฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติวเฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติว
Mac Legendlaw
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
skiats
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
daranee14
 
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
'Ibanez Fender
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
bansarot
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
krupornpana55
 

What's hot (20)

01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้
 
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
0 o net-2549
0 o net-25490 o net-2549
0 o net-2549
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
เฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติวเฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติว
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
 
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โลก  ดาราศาสตร์ และอวกาศโลก  ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
 
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
 

More from Kanin Wongyai

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updatedความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
Kanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
Kanin Wongyai
 
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
Kanin Wongyai
 

More from Kanin Wongyai (13)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updatedความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
 
ละเมิด
ละเมิดละเมิด
ละเมิด
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
 
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาดอาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
 
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
 
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกอาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
 
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
 

อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)

Editor's Notes

  1. อ เกียติ หน้า 438
  2. อ เกียติ หน้า 439 ต้องมีการกระทำ ก่อน ไม่ใช่จับมือไปเขกหัวคนอื่น 1 ต้องถึงขั้นบังคับ ไม่ใช่ทำด้วยความเกรงใจ ยำเกรง ทำตามคำสั่ง เป็นเจตนาพิเศษ ไม่ใช่อยากทำอยู่แล้ว หาจังหวะ 2.หลีกได้ต้องเลี่ยง คือ มีวิธีอย่างอื่นกระทำได้ เช่น ขโมยอ้างว่าหาเงินไปรักษาต่อ มีฎีกา 3.เหมือนป้องกัน 4.ไม่เกินขอบเขต คือ วิธีทางที่น้อยที่สุด (เหมือนป้องกัน) และไม่เกินสัดส่วน (มากกว่าป้องกัน) (สิ่งที่บังคับ กับ สิ่งที่กระทำผิด) ข้อสังเกตจะให้ดุลพินิจระดับเดียวกับป้องกันไม่ได้ เนื่องจาก ป้องกันเรากระทำต่อผู้คุกคามเอง ฉะนั้นเขาย่อมต้องรับกรรม และรับผิดชอบสิ่งที่ตนทำ แต่จำเป็น เป็นการกระทำต่อบุคคลที่ 3 ไม่รู้เห็นไม่เกี่ยวด้วย จะให้มารับกรรมได้อย่างไร ผลสรุป คือ การกระทำผิดโดยจำเป็นจะต้องไม่เท่ากับ หรือเกินกว่าภัยที่ตนได้รับ (ห่างป้องกันเท่ากันได้) ยกฎีกา หน้า 443 444
  3. ประมาท จำเป็นได้มะ ฎีกาขับรถ 447 ภัยใกล้ถึง ไม่ใช่ไม่ถึง กับ ภัยผ่านไปแล้ว
  4. เกียต หน้า 504 ไม่ต้องถึงผิดกฎหมายก็ได้ ,ต้องเป็นเหตุไม่เป็นธรรม , ไม่มีส่วนในการให้มีการข่มเหง ร่วมตี เริ่มก่อน , ต้องร้ายแรง ต้องร้ายแรง . ไม่นานเกิน , ไม่ขาดช่วง ทำคนอื่น ไม่ได้ (เหมือนป้องกัน ต่างจำเป็น ) เปรียบเทียบหน้า 536