SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
โดย
นายคณิน วงศ์ใหญ่
o ผู้กระทา
o การกระทา
o กรรมของการกระทา
o ผลของการกระทา (ความผิดที่ต้องการผลสาเร็จเท่านั้น)
o ข้อเท็จจริงอื่นๆที่ทาให้การกระทานั้นเป็นความผิด
ความหมาย
กว้าง
 ผู้ใด คือ ต้องมีสภาพบุคคล
เจาะจง
 เจ้าพนักงาน
 ชาย หญิง
 อายุ
1. กระทาด้วยตนเอง
2. กระทาผิดโดยอ้อม
3. ร่วมกระทาผิด
• กระทา เชิงบวก
• กระทาเชิงลบ
• งดเว้น
1. หน้าที่ตามกฎหมาย
2. หน้าที่จากการยอมรับโดยเจาะจง
3. หน้าที่จากการกระทาก่อน
4. หน้าที่จากความสัมพันธ์พิเศษเฉพาะเรื่อง
• ละเว้น
• ม.374
o การกระทาต้องถึงขั้น “ลงมือ”
o ลงมือ คือ ได้กระทาตามขั้นที่กฎหมายบัญญัติเป็นความผิด
o คิดอย่างเดียว
o ตระเตรียม
o สมคบ
o กระทา สิ่งที่กฎหมายบัญญัติว่า เป็นความผิดแล้ว
o กรรมของการกระทาหรือวัตถุแห่งการกระทา
o หมายถึง สิ่งที่ผู้กระทามุ่งหมายกระทาต่อ
องค์ประกอบภายใน คือ สิ่งที่อยู่ภายในจิตใจ
ไม่สามารถมองเห็น หรือสัมผัสได้
o การตัดสินว่ามีผู้กระทาผิด มีสภาพจิตใจภายใน
อย่างไร จะต้องอาศัยพฤติการณ์ต่างที่ผู้กระทา
แสดงออกมาภายนอกเป็นหลักในการวินิจฉัย
o หลักกฎหมาย “กรรมเป็นเครื่องพิสูจน์เจตนา”
ม.59 วรรคสองและสาม
1. กระทาโดยรู้สานึก
2. กระทาโดยรู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบภายนอก
3. กระทาโดยประสงค์ต่อผล หรือกระทาโดยเล็งเห็นผล
o ม.59 วรรค ท้าย
o องค์ประกอบภายนอกของ การกระทาความผิดนั้นๆ
o ตัวอย่าง
1. แดงไปล่าสัตว์ในป่าลึก เห็นมีการเคลื่อนไหว แดงตะโกนถามแล้วว่าใช่คนหรือไม่
ปรากฏว่าไม่ตอบ แดงจึงคิดว่าเป็นกวาง จึงใช้ปืนยิงประสงค์จะให้กวางตาย ปรากฏ
ไม่ใช่กวางแต่เป็นคนใบ้มาเก็บของป่า กระสุนทะลุสมองตายคาที่
2. ขาวหลอกให้แดง เอาน้าไปให้ ดากิน แต่ขาวได้แอบเอายาพิษใส่น้าไว้ ซึ่งแดงไม่รู้
เมื่อดาได้กินน้าที่ แดงให้ ดาก็ตายเพราะยาพิษ
 ผล คือ ไม่รู้ ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบภายนอก ก็ไม่ถือว่าเจตนา
 รู้เท่าใด มีเจตนาเท่านั้น
1. เจตนาประสงค์ต่อผล
2. เจตนาเล็งเห็นผล
• คือ ความประสงค์ที่จะให้เกิดผลตามที่มุ่ง
หมาย หรือ ตามที่ต้องการ โดยตรง
• หลัก เรื่องกรรมเป็นเครื่องพิสูจน์เจตนา
 ไม่มีประสงค์ผล แต่กระทาไปโดยไม่แยแสกับผลที่
เกิดขึ้น
 ผู้กระทาได้แลเห็นผลล่วงหน้าแล้ว และกระทาไปโดย
เต็มใจจะรับผิดเช่นนั้น
 ผลที่เกิดขึ้นนั้นต้องเกิดโดยแน่แท้
1. แดงยิงนายดา ด้วยปืนลูกซอง แต่นายดานั่งอยู่ติดกับขาว แดงยิงไปถูกนายดา
ตาย และกระสุนก็กระจายไปถูกนายขาวซึ่งอยู่ข้างๆ ตายทั้งคู่
2. แดงต้องการยิงดา แต่ดานั่งอยู่ในรถ แดงจึงได้ยิงเข้าไปในรถ ทาให้ดาตายและ
รถของนายดาพังทั้งคัน
3. แดงประสงค์จะยิงดา แต่ดาอยู่ในรถไฟฟ้า แดงยิงเข้าไปหลายนัดในรถไฟฟ้า
ไม่ถูกดา แต่ถูกคนในรถตายสามคน
4. แดงต้องการทาร้ายนายดา จึงเอาขวานขนาดใหญ่จามที่หัวดา นายดาตาย
5. นายแดงต้องการฆ่านายดา จึงเอายาพิษให้กิน แต่ปรากฏว่ายาดังกล่าวไม่ใช่ยา
พิษ กลับเป็นยาบารุง นายดาไม่ตาย
ทั้งนี้อย่าลืม เรื่องการตีความ และหลักประกันในกฎหมายอาญานะครับ

More Related Content

What's hot

กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)Narong Jaiharn
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนnokbiology
 
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2Kanin Wongyai
 
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่Beerza Kub
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2Andy Hung
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม Yosiri
 
การจัดเก็บเสื้อผ้า
การจัดเก็บเสื้อผ้าการจัดเก็บเสื้อผ้า
การจัดเก็บเสื้อผ้าBeerza Kub
 
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2Narong Jaiharn
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯSuriyawaranya Asatthasonthi
 
โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1ดอย บาน ลือ
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์oraneehussem
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 

What's hot (20)

กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
 
Wound care
Wound careWound care
Wound care
 
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
การจัดเก็บเสื้อผ้า
การจัดเก็บเสื้อผ้าการจัดเก็บเสื้อผ้า
การจัดเก็บเสื้อผ้า
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯ
 
โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

More from Kanin Wongyai

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updatedความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updatedKanin Wongyai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61Kanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมายอาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมายKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาดอาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาดKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดKanin Wongyai
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดKanin Wongyai
 
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่Kanin Wongyai
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปKanin Wongyai
 

More from Kanin Wongyai (12)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updatedความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
 
ละเมิด
ละเมิดละเมิด
ละเมิด
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
 
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมายอาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
 
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาดอาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
 
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
 

อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก

Editor's Notes

  1. รวมถึง ผู้กระทำด้วยตนเอง
  2. 1.ทำด้วยตนเอง ฆ่าคน ด้วยมือ การใช้เครื่องมือ การใช้บุคคลอื่นผู้ไม่มีกระทำเป็นเครื่องมือ สะกดจิต ผลักไปชน จับมือ 2.ทำผิดโดยอ้อม -หลอกให้คนอื่นกระทำ โดยคนอื่นไม่มีเจตนา เพราะไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบภายนอก ดู 59 innocent agent หลอกให้หยิบร่ม หลอกให้เอายาพิษ หลอกให้ยิงหุ่น -หลอกให้ผู้อื่นกระทำผิด โดยผู้ถูกหลอกไม่ต้องรับโทษ หลอกว่ามีสิทธิป้องกันตัว 62 -ให้ผู้ไม่มีคุณสมบัติจะทำผิดได้ ความผิดเจ้าพนักงาน ผู้ถูกใช้เป็นผู้สนับสนุนได้ แต่เป็นผู้กระทำไม่ได้ บังคับให้ผู้อื่นกระทำ เทียบ หลอก ไม่ตั้งใจ กับ ตั้งใจ 3. ร่วมกระทำผิด ตัวการร่วม ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน
  3. ความแตกต่างของงด กับ ละ 1.งดคือมีห้าที่เฉพาะจะจักต้องกระทำเพื่อป้องกันผล ละเว้น หน้าที่โดยทั่วไป 2.งดเว้น เป็น การกระทำอย่างนึ่ง อันเป็นองค์ประกอบความผิด ละเว้น เป็น เป็น ฐานความผิด
  4. ตระเตรียม วางแผน ดูลาดเลา 219 วางเพลิง บุคคลสำคัญ ปฎิวัติ สมคบ รวมตัว เข้าร่วมกลุ่ม เป็นสมาชิก อัง่ยึ่ 209 210 สรุปเฉพาะที่ร้ายแรงและสำคัญ หรือเพื่อป้องกัน เหตุที่จะเป็นภัยต่อประชาชน กระทำ ตามองค์ประกอบ เอาไป ฆ่า ทำร้าย ใช้ให้ไปทำร้าย ลงมือ ใช้ สนับสนุนให้ไปทำร้าย ลงมือ สนับสนุน
  5. ผู้ใด ฆ่า ผู้อื่น ผู้อื่น มนุษย์ ศพ ท่อนไม้ โรงเรือน 219 ยาบ้า เอาพารามาหลอกขายคนอื่น 6364/2549 ทั้งนี้อย่าลืม การตีความ และหลักประกันของกฎหมายอาญา
  6. ยิงปืนใส่ เจตนาใด ฆ่า ยิงหัว ทำร้าย ยิงเท้า ทั้งที่มีโอกาสเล็ง ประมาท คิดว่าไม่มีลูกตั้งใจ ล้อเล่น ไม่เจตนา ไม่ประมาท ถูกหลอกว่ายิงกระสอบ แต่กลับมีคนไปนอนอยู่ในกระสอบ
  7. ทีข้อโต้เถียงกัน ทางวิชาการว่า ไม่รู้สำนึก ไม่มีการกระทำ ไม่รู้สำนึก ไม่เจตนา อ.เกียติขจร บอก การรู้สำนึกนั้นเป็นการพิจารณาว่า มีการกระทำหรือไม่ ฉะนั้นจึงเป็นเงื่อนไขของโครงสร้างในส่วน องค์ประกอบภายนอก เรื่องการกระทำ แต่ที่มาบัญญัติปนกับองค์ประกอบภายใน คณิน เห็นว่าผู้ร่างกฎหมายต้องการย้ำว่า ไม่ผิดเท่านั้น แต่ไม่ใช่ว่าไม่รู้สำนึก ไม่เจตนาอันเป็นองค์ประกอบภายในไม่ได้ แต่ไม่รู้สำนึก ไม่มีการกระทำอันเป็นองค์กอบภายนอก
  8. ย้อนกลับไปดูเรื่ององค์ประกอบภายนอก ไม่รู้ก็ไม่เลว 1 ไม่รู้ว่าวัตถุที่กระทำคือ ผู้อื่น เอาทรัพย์ของคนอื่นเข้าใจว่าทรัพย์ของตน ไม่รู้ว่าการเอาน้ำไปให้กินคือ การ ฆ่า อ.เกียติหน้า 154 239 ดูมาตรา 62 วรรค ประกอบ แต่เดี๋ยวจะสอนเรื่องประมาทอีกทีต่อไป
  9. กลับไปดูมาตรา 59
  10. ตัวอย่าง อ เกียติ หน้า 161
  11. ผลแน่แท้ ใช้มีดแทงหัวใจ ใช้มีดฟันนิ้ว แต่ผู้ตายเป็นโรคโลหิตจาง ตาย ใช้มีดฟันไม่โดน ตกลงใจ ตาย อ เกียติ หน้า 173
  12. เช่น โรงเรือน 218 ทรัพย์ ไม่รวมถึง ทรัพย์สิน เป็นต้น หญิง ไม่รวมถึง ชายที่แปลงเพศ