SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
ปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
จุดประสงค์การเรียนรู้
1
แบบทดสอบก่อนเรียน
2
การฝึกปฏิบัติการอ่านโน้ตดนตรีไทย 11
ประวัติความเป็นมาของการบันทึกโน้ต
7
แบบทดสอบหลังเรียน
14
เอกสารอ้างอิง
20
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อ
เป็นส่วนหนึ่งของการประกอบการสอนดนตรี
พื้นบ้าน การสอนอ่านโน้ตดนตรีไทย
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทเรียน
อิเล็กทรอนิกส์ เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ สาหรับ
นักเรียนและผู้ที่สนใจจะศึกษาดนตรีพื้นบ้าน
1. ด้านความรู้ (K)
บอกจุดประสงค์ของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
บอกประวัติความเป็นมา อธิบายความหมาย
ของการอ่านโน้ตไทย บอกวิธีการอ่านและ
บันทึกโน้ตไทย และนามาประยุกต์ใช้ได้
2. ด้านทักษะกระบวนการทางาน (p)
นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ตาม
เกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป
3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
นักเรียนสามารถปฏิบัติตาม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ได้ตามเกณฑ์
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
1.ปัจจุบันโน้ตเพลงไทยนิยมใช้แบบใด
ก. แบบตัวอักษร ข. แบบตัวเลข
ค. แบบท่องจาง. แบบสากล
2. โน้ตเพลงไทยแบ่งห้องเพลงอย่างไร
ก. 10 ห้อง
ข. 4 ห้อง
ค. 6 ห้อง
ง. 8 ห้อง
1 2
3. ระดับเสียงดนตรีใน ๑ ช่องทบมีกี่ระดับ
ก. 5 ระดับข. 6 ระดับ
ค. 7 ระดับ ง. 8 ระดับ
4. โน้ตไทย บอกอัตราจังหวะด้วยอะไร
ก. ห้องเพลง 1 ห้อง หมายถึง 1 จังหวะ
ข. ห้องเพลง 1 ห้อง หมายถึง 2 จังหวะ
ค. ห้องเพลง 1 ห้อง หมายถึง 3 จังหวะ
ง. ห้องเพลง 1 ห้อง หมายถึง 4 จังหวะ
5. ประโยคหนึ่งๆ ของโน้ตไทยบันทึกลงกี่ช่อง
ก. 5 ช่อง ข. 6 ช่อง
ค. 7 ช่อง ง. 8 ช่อง
6. /ดดดด/ อ่านออกเสียงอย่างไร
ก. อ่านออกเสียง “โดโดโดโด”
เป็น 1 จังหวะเคาะ
ข. อ่านออกเสียง “โดโดโดโด”
เป็น 4 จังหวะเคาะ
ค. อ่านออกเสียง “โดโดโดโด”
เป็น 3 จังหวะเคาะ
ง. อ่านออกเสียง “โดโดโดโด”
เป็น 2 จังหวะเคาะ
3 4
7. โน้ตเพลงแบบตัวเลขเคยมีผู้นามาใช้กับ
เครื่องดนตรีใด
ก. จะเข้-ขิม
ข. ขลุ่ย-ปี่
ค. ซอด้วง-ซออู้
ง. ฆ้องวง-ระนาด
8. โน้ต อักษรตัว D แทนระดับเสียงใด
ก. โด ข. เร
ค. มี ง. ฟา
9. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก. ด แทนสัญลักษณ์ เร
ข. ร แทนสัญลักษณ์ โด
ค. ม แทนสัญลักษณ์ มี
ง. ซ แทนสัญลักษณ์ ฟา
10. เครื่องหมายในข้อใดแทนสัญลักษณ์เสียงสูงได้
ถูกต้อง
ก. โด สูงคือ ฟ วงกลมเล็ก ด้านบน
ข. โด สูงคือ ด วงกลมเล็ก ด้านบน
ค. เร สูงคือ ซ วงกลมเล็ก ด้านบน
ง. ซอล สูงคือ ฟ วงกลมเล็ก ด้านบน
5 6
การบันทึกโน้ตมีไว้เพื่อให้ผู้อ่านนาไปบรรเลง
ออกมาเป็นเสียงดนตรีอีกต่อหนึ่งได้ตรงกับที่ผู้
บันทึกบันทึกไว้การอ่านโน้ตดนตรีไทย
ก่อนที่จะมีฝึกอ่านโน้ตดนตรีไทยนั้น ผู้ศึกษา
จะต้องมีความรู้ในด้านของ จังหวะ และ
ทานอง เสียก่อน
ทานอง หมายถึง เสียงสูง กลาง ต่า นามา
เรียบเรียงกันจนทาให้เกิดเป็นทานองที่ไพเราะ
7 8
จังหวะ หมายถึง อะไรก็ตามที่เกิดขึ้น
อย่างสม่าเสมออย่างมีระบบ โดย
จังหวะในที่นี้ยกตัวอย่างให้เป็นจังหวะ
ของการปรบมือจะสามารถแบ่งออกได้
เป็น 2 จังหวะคือ
จังหวะตก หมายถึงจังหวะ
หนักหรือจังหวะที่ปรบมือแล้วทาให้เกิด
เสียง
จังหวะยก หมายถึง จังหวะ
ที่เรายกมือออกจากกันหรือจังหวะที่ไม่
เกิดเสียงใดๆ
สัญลักษณ์และองค์ประกอบที่ใช้ในการ
อ่านโน้ตดนตรีไทย
การบันทึกโน้ตดนตรีไทย ดนตรีไทยในหนึ่งบรรทัด มี
ห้องทั้งหมด 8 ห้อง ในแต่ละห้องสามารถบรรจุโน้ตได้
4 ตัว
ในหนึ่งห้อง แบ่งออกได้เป็น 4 จังหวะ คือ /_ _ _ _/
เรียงลาดับ จากจังหวะที่ 1 2 3 และ 4 โดย
กาหนดให้
จังหวะที่1 เป็นจังหวะยก
จังหวะที่2 เป็นจังหวะตก
จังหวะที่3 เป็นจังหวะยก
จังหวะที่4 เป็นจังหวะตก
ในการอ่านโน้ตดนตรีไทยนั้น ก่อนอื่นจะต้องฝึกนับ
จังหวะ 1 ถึง 4 วนกันไปเรื่อยๆ เสียก่อน แล้วให้ทา
การปรบมือโดยที่ให้จังหวะตก ไปตกอยู่ที่จังหวะตัวที่
2 และ 4 นั่นก็แสดงว่าจังหวะที่ 1 และ 3 จะเป็น
ตัวอย่าง /_ _ _ ด/_ _ _ ร/_ _ _ ม/_ _ _ ฟ/_
_ _ ซ/_ _ _ ล/_ _ _ ท/_ _ _ ด/
เมื่อเราสังเกตจะเห็นได้ว่าในแต่ละห้องนั้นจะมีโน้ต
อยู่ตาแหน่งของตัวที่ 4 ของทุกห้อง ส่วน ตาแหน่งที่ 1
2 และ 3 ไม่มีโน้ตอยู่เมื่อเรานับหรือปรมมือใน
ตาแหน่งเหล่านั้น เราจึงไม่ต้องออกเสียงโน้ตตัวใด แต่
เมื่่อเรานับหรือปรบมือไปถึงจังหวะที่ 4 เราจะต้องออก
เสียงตัวโน้ต เพราะโน้ตทุกตัวอยู่ในจังหวะที่ 4 ของทุก
ห้อง เพราะฉะนั้นให้เราทาการปรบมือตามปกติพอถึง
จังหวะที่มีโน้ตจึงค่อยเปล่งเสียงโน้ตนั้นออกมา
การอ่านโน้ตดนตรีไทยจึงไม่ค่อยยากมีหลักการง่ายๆ
คือ ปรมมือตามปกติ โดยให้คานึงถึงจังหวะตก และ
จังหวะยก แล้วก็ดูโน้ต ถ้ามีโน้ตอยู่จังหวะไหนก็ทาการ
เปล่งเสียงในจังหวะนั้น
9 10
1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234
ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ
โน้ตแบบ 4 ตัว ต่อ 1
ห้อง ดดดด รรรร มมมม ฟฟฟฟ ซซซซ ลลลล ทททท ดดดด
โน้ตแบบ 3 ตัว ต่อ 1
ห้อง
-ดดด -รรร -มมม -ฟฟฟ -ซซซ -ลลล -ททท -ดดด
โน้ตแบบ 2 ตัว ต่อ 1 ห้อง (ตัวที่ 2 และตัวที่ 4)
-ด-ด -ร-ร -ม-ม -ฟ-ฟ -ซ-ซ -ล-ล -ท-ท -ด-ด
11
โน้ตแบบ 2 ตัว ต่อ 1 ห้อง เป็นแบบจังหวะยก (ตัวที่ 1 และตัวที่
2)
ดด-- รร-- มม-- ฟฟ-- ซซ-- ลล-- ทท-- ดด--
ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ
โน้ตแบบ 2 ตัว ต่อ 1 ห้อง เป็นแบบจังหวะยก (ตัวที่ 3 และตัวที่
4) ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ
--ดด --รร --มม --ฟฟ --ซซ --ลล --ทท --ดด
---ด ---ร ----ม ----ฟ ----ซ ---ล ---ท ---ด
---- ---ด ---- ---ร ---- ----ม ---- ---ฟ
โน้ตแบบ 1 ตัว ต่อ 1 ห้อง
โน้ตแบบ 1 ตัว ต่อ 2 ห้อง
ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ
ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ
12
ที่มาhttp://youtube.com/watch?v=IZ0LQ9EEYlo
13
3. ปัจจุบันโน้ตเพลงไทยนิยมใช้แบบใด
ก. แบบตัวอักษร
ข. แบบตัวเลข
ค. แบบท่องจา
ง. แบบสากล
4. โน้ตเพลงไทยแบ่งห้องเพลงอย่างไร
ก. 10 ห้อง
ข. 4 ห้อง
ค. 6 ห้อง
ง. 8 ห้อง
14 15
1. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก. ด แทนสัญลักษณ์ เร
ข. ร แทนสัญลักษณ์ โด
ค. ม แทนสัญลักษณ์ มี
ง. ซ แทนสัญลักษณ์ ฟา
2. เครื่องหมายในข้อใดแทนสัญลักษณ์เสียงสูง
ได้ถูกต้อง
ก. โด สูงคือ ฟ วงกลมเล็ก ด้านบน
ข. โด สูงคือ ด วงกลมเล็ก ด้านบน
ค. เร สูงคือ ซ วงกลมเล็ก ด้านบน
ง. ซอล สูงคือ ฟ วงกลมเล็ก ด้านบน
5. ระดับเสียงดนตรีใน ๑ ช่องทบมีกี่ระดับ
ก. 5 ระดับ
ข. 6 ระดับ
ค. 7 ระดับ
ง. 8 ระดับ
6. โน้ตไทย บอกอัตราจังหวะด้วยอะไร
ก. ห้องเพลง 1 ห้อง หมายถึง 1 จังหวะ
ข. ห้องเพลง 1 ห้อง หมายถึง 2 จังหวะ
ค. ห้องเพลง 1 ห้อง หมายถึง 3 จังหวะ
ง. ห้องเพลง 1 ห้อง หมายถึง 4 จังหวะ
7. ประโยคหนึ่งๆ ของโน้ตไทยบันทึกลงกี่ช่อง
ก. 5 ช่อง ข. 6 ช่อง
ค. 7 ช่อง ง. 8 ช่อง
8. /ดดดด/ อ่านออกเสียงอย่างไร
ก. อ่านออกเสียง “โดโดโดโด”
เป็น 1 จังหวะเคาะ
ข. อ่านออกเสียง “โดโดโดโด”
เป็น 4 จังหวะเคาะ
ค. อ่านออกเสียง “โดโดโดโด”
เป็น 3 จังหวะเคาะ
ง. อ่านออกเสียง “โดโดโดโด”
เป็น 2 จังหวะเคาะ
16 17
1. ค 2. ข
3. ก 4. ง
5. ค 6. ข
7. ง 8. ง
9. ข 10. ข
9. โน้ตเพลงแบบตัวเลขเคยมีผู้นามาใช้กับ
เครื่องดนตรีใด
ก. จะเข้-ขิม
ข. ขลุ่ย-ปี่
ค. ซอด้วง-ซออู้
ง. ฆ้องวง-ระนาด
10.โน้ต อักษรตัว D แทนระดับ
เสียงใด
ก. โด
ข. เร
ค. มี
ง. ฟา
18 19
พันโทพระอภัยพลรบ หลักการอ่านโน้ตไทยตามหลัก ของ
(พลอย เพ็ญกุล พ.ศ. 2403-2459)
ธงรบ ขุนสงคราม. (2553). ดนตรีไทยและดนตรีพื้นบ้าน
ไทย.
บุรีรัมย์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
20

More Related Content

What's hot

Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาMontree Dangreung
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาพัน พัน
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4Panomporn Chinchana
 
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนpeter dontoom
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsombat nirund
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals Kartinee
 
การเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือการเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือTeeraporn Pingkaew
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)peter dontoom
 

What's hot (20)

Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
 
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
 
องค์ประกอบของดนตรี
องค์ประกอบของดนตรีองค์ประกอบของดนตรี
องค์ประกอบของดนตรี
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
 
การเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือการเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือ
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
การใช้ a/an/some/any
การใช้ a/an/some/any การใช้ a/an/some/any
การใช้ a/an/some/any
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
สไลด์สอน
สไลด์สอนสไลด์สอน
สไลด์สอน
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
 

Similar to บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย

บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคนบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคนฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Kachon46592
 
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1gueste0411f21
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55Yatphirun Phuangsuwan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yaiแผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yaijutatip3059
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
พิณ
พิณพิณ
พิณbawtho
 
เฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48fเฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48fUnity' Aing
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8 khomkrit2511
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยwisita42
 

Similar to บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย (20)

บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคนบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
 
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบความรู้ ม.5 ปี 55
ใบความรู้ ม.5 ปี 55ใบความรู้ ม.5 ปี 55
ใบความรู้ ม.5 ปี 55
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yaiแผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
พิณ
พิณพิณ
พิณ
 
เฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48fเฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48f
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
 
ข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทย
ข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทยข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทย
ข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทย
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทย
 

More from ฏิวัตต์ สันทาลุนัย

บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีกลองยาวอีสาน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีกลองยาวอีสานบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีกลองยาวอีสาน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีกลองยาวอีสานฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสาน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสานบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสาน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสานฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบส
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบสบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบส
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบสฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวดบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวดฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 

More from ฏิวัตต์ สันทาลุนัย (6)

บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีกลองยาวอีสาน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีกลองยาวอีสานบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีกลองยาวอีสาน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีกลองยาวอีสาน
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสาน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสานบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสาน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสาน
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบส
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบสบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบส
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบส
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวดบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณ
 

บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย

  • 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1 แบบทดสอบก่อนเรียน 2 การฝึกปฏิบัติการอ่านโน้ตดนตรีไทย 11 ประวัติความเป็นมาของการบันทึกโน้ต 7 แบบทดสอบหลังเรียน 14 เอกสารอ้างอิง 20 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อ เป็นส่วนหนึ่งของการประกอบการสอนดนตรี พื้นบ้าน การสอนอ่านโน้ตดนตรีไทย ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทเรียน อิเล็กทรอนิกส์ เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ สาหรับ นักเรียนและผู้ที่สนใจจะศึกษาดนตรีพื้นบ้าน
  • 3. 1. ด้านความรู้ (K) บอกจุดประสงค์ของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ บอกประวัติความเป็นมา อธิบายความหมาย ของการอ่านโน้ตไทย บอกวิธีการอ่านและ บันทึกโน้ตไทย และนามาประยุกต์ใช้ได้ 2. ด้านทักษะกระบวนการทางาน (p) นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ตาม เกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) นักเรียนสามารถปฏิบัติตาม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ได้ตามเกณฑ์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป 1.ปัจจุบันโน้ตเพลงไทยนิยมใช้แบบใด ก. แบบตัวอักษร ข. แบบตัวเลข ค. แบบท่องจาง. แบบสากล 2. โน้ตเพลงไทยแบ่งห้องเพลงอย่างไร ก. 10 ห้อง ข. 4 ห้อง ค. 6 ห้อง ง. 8 ห้อง 1 2
  • 4. 3. ระดับเสียงดนตรีใน ๑ ช่องทบมีกี่ระดับ ก. 5 ระดับข. 6 ระดับ ค. 7 ระดับ ง. 8 ระดับ 4. โน้ตไทย บอกอัตราจังหวะด้วยอะไร ก. ห้องเพลง 1 ห้อง หมายถึง 1 จังหวะ ข. ห้องเพลง 1 ห้อง หมายถึง 2 จังหวะ ค. ห้องเพลง 1 ห้อง หมายถึง 3 จังหวะ ง. ห้องเพลง 1 ห้อง หมายถึง 4 จังหวะ 5. ประโยคหนึ่งๆ ของโน้ตไทยบันทึกลงกี่ช่อง ก. 5 ช่อง ข. 6 ช่อง ค. 7 ช่อง ง. 8 ช่อง 6. /ดดดด/ อ่านออกเสียงอย่างไร ก. อ่านออกเสียง “โดโดโดโด” เป็น 1 จังหวะเคาะ ข. อ่านออกเสียง “โดโดโดโด” เป็น 4 จังหวะเคาะ ค. อ่านออกเสียง “โดโดโดโด” เป็น 3 จังหวะเคาะ ง. อ่านออกเสียง “โดโดโดโด” เป็น 2 จังหวะเคาะ 3 4
  • 5. 7. โน้ตเพลงแบบตัวเลขเคยมีผู้นามาใช้กับ เครื่องดนตรีใด ก. จะเข้-ขิม ข. ขลุ่ย-ปี่ ค. ซอด้วง-ซออู้ ง. ฆ้องวง-ระนาด 8. โน้ต อักษรตัว D แทนระดับเสียงใด ก. โด ข. เร ค. มี ง. ฟา 9. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก. ด แทนสัญลักษณ์ เร ข. ร แทนสัญลักษณ์ โด ค. ม แทนสัญลักษณ์ มี ง. ซ แทนสัญลักษณ์ ฟา 10. เครื่องหมายในข้อใดแทนสัญลักษณ์เสียงสูงได้ ถูกต้อง ก. โด สูงคือ ฟ วงกลมเล็ก ด้านบน ข. โด สูงคือ ด วงกลมเล็ก ด้านบน ค. เร สูงคือ ซ วงกลมเล็ก ด้านบน ง. ซอล สูงคือ ฟ วงกลมเล็ก ด้านบน 5 6
  • 6. การบันทึกโน้ตมีไว้เพื่อให้ผู้อ่านนาไปบรรเลง ออกมาเป็นเสียงดนตรีอีกต่อหนึ่งได้ตรงกับที่ผู้ บันทึกบันทึกไว้การอ่านโน้ตดนตรีไทย ก่อนที่จะมีฝึกอ่านโน้ตดนตรีไทยนั้น ผู้ศึกษา จะต้องมีความรู้ในด้านของ จังหวะ และ ทานอง เสียก่อน ทานอง หมายถึง เสียงสูง กลาง ต่า นามา เรียบเรียงกันจนทาให้เกิดเป็นทานองที่ไพเราะ 7 8 จังหวะ หมายถึง อะไรก็ตามที่เกิดขึ้น อย่างสม่าเสมออย่างมีระบบ โดย จังหวะในที่นี้ยกตัวอย่างให้เป็นจังหวะ ของการปรบมือจะสามารถแบ่งออกได้ เป็น 2 จังหวะคือ จังหวะตก หมายถึงจังหวะ หนักหรือจังหวะที่ปรบมือแล้วทาให้เกิด เสียง จังหวะยก หมายถึง จังหวะ ที่เรายกมือออกจากกันหรือจังหวะที่ไม่ เกิดเสียงใดๆ สัญลักษณ์และองค์ประกอบที่ใช้ในการ อ่านโน้ตดนตรีไทย
  • 7. การบันทึกโน้ตดนตรีไทย ดนตรีไทยในหนึ่งบรรทัด มี ห้องทั้งหมด 8 ห้อง ในแต่ละห้องสามารถบรรจุโน้ตได้ 4 ตัว ในหนึ่งห้อง แบ่งออกได้เป็น 4 จังหวะ คือ /_ _ _ _/ เรียงลาดับ จากจังหวะที่ 1 2 3 และ 4 โดย กาหนดให้ จังหวะที่1 เป็นจังหวะยก จังหวะที่2 เป็นจังหวะตก จังหวะที่3 เป็นจังหวะยก จังหวะที่4 เป็นจังหวะตก ในการอ่านโน้ตดนตรีไทยนั้น ก่อนอื่นจะต้องฝึกนับ จังหวะ 1 ถึง 4 วนกันไปเรื่อยๆ เสียก่อน แล้วให้ทา การปรบมือโดยที่ให้จังหวะตก ไปตกอยู่ที่จังหวะตัวที่ 2 และ 4 นั่นก็แสดงว่าจังหวะที่ 1 และ 3 จะเป็น ตัวอย่าง /_ _ _ ด/_ _ _ ร/_ _ _ ม/_ _ _ ฟ/_ _ _ ซ/_ _ _ ล/_ _ _ ท/_ _ _ ด/ เมื่อเราสังเกตจะเห็นได้ว่าในแต่ละห้องนั้นจะมีโน้ต อยู่ตาแหน่งของตัวที่ 4 ของทุกห้อง ส่วน ตาแหน่งที่ 1 2 และ 3 ไม่มีโน้ตอยู่เมื่อเรานับหรือปรมมือใน ตาแหน่งเหล่านั้น เราจึงไม่ต้องออกเสียงโน้ตตัวใด แต่ เมื่่อเรานับหรือปรบมือไปถึงจังหวะที่ 4 เราจะต้องออก เสียงตัวโน้ต เพราะโน้ตทุกตัวอยู่ในจังหวะที่ 4 ของทุก ห้อง เพราะฉะนั้นให้เราทาการปรบมือตามปกติพอถึง จังหวะที่มีโน้ตจึงค่อยเปล่งเสียงโน้ตนั้นออกมา การอ่านโน้ตดนตรีไทยจึงไม่ค่อยยากมีหลักการง่ายๆ คือ ปรมมือตามปกติ โดยให้คานึงถึงจังหวะตก และ จังหวะยก แล้วก็ดูโน้ต ถ้ามีโน้ตอยู่จังหวะไหนก็ทาการ เปล่งเสียงในจังหวะนั้น 9 10
  • 8. 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234 ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ โน้ตแบบ 4 ตัว ต่อ 1 ห้อง ดดดด รรรร มมมม ฟฟฟฟ ซซซซ ลลลล ทททท ดดดด โน้ตแบบ 3 ตัว ต่อ 1 ห้อง -ดดด -รรร -มมม -ฟฟฟ -ซซซ -ลลล -ททท -ดดด โน้ตแบบ 2 ตัว ต่อ 1 ห้อง (ตัวที่ 2 และตัวที่ 4) -ด-ด -ร-ร -ม-ม -ฟ-ฟ -ซ-ซ -ล-ล -ท-ท -ด-ด 11
  • 9. โน้ตแบบ 2 ตัว ต่อ 1 ห้อง เป็นแบบจังหวะยก (ตัวที่ 1 และตัวที่ 2) ดด-- รร-- มม-- ฟฟ-- ซซ-- ลล-- ทท-- ดด-- ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ โน้ตแบบ 2 ตัว ต่อ 1 ห้อง เป็นแบบจังหวะยก (ตัวที่ 3 และตัวที่ 4) ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ --ดด --รร --มม --ฟฟ --ซซ --ลล --ทท --ดด ---ด ---ร ----ม ----ฟ ----ซ ---ล ---ท ---ด ---- ---ด ---- ---ร ---- ----ม ---- ---ฟ โน้ตแบบ 1 ตัว ต่อ 1 ห้อง โน้ตแบบ 1 ตัว ต่อ 2 ห้อง ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ 12
  • 11. 3. ปัจจุบันโน้ตเพลงไทยนิยมใช้แบบใด ก. แบบตัวอักษร ข. แบบตัวเลข ค. แบบท่องจา ง. แบบสากล 4. โน้ตเพลงไทยแบ่งห้องเพลงอย่างไร ก. 10 ห้อง ข. 4 ห้อง ค. 6 ห้อง ง. 8 ห้อง 14 15 1. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก. ด แทนสัญลักษณ์ เร ข. ร แทนสัญลักษณ์ โด ค. ม แทนสัญลักษณ์ มี ง. ซ แทนสัญลักษณ์ ฟา 2. เครื่องหมายในข้อใดแทนสัญลักษณ์เสียงสูง ได้ถูกต้อง ก. โด สูงคือ ฟ วงกลมเล็ก ด้านบน ข. โด สูงคือ ด วงกลมเล็ก ด้านบน ค. เร สูงคือ ซ วงกลมเล็ก ด้านบน ง. ซอล สูงคือ ฟ วงกลมเล็ก ด้านบน
  • 12. 5. ระดับเสียงดนตรีใน ๑ ช่องทบมีกี่ระดับ ก. 5 ระดับ ข. 6 ระดับ ค. 7 ระดับ ง. 8 ระดับ 6. โน้ตไทย บอกอัตราจังหวะด้วยอะไร ก. ห้องเพลง 1 ห้อง หมายถึง 1 จังหวะ ข. ห้องเพลง 1 ห้อง หมายถึง 2 จังหวะ ค. ห้องเพลง 1 ห้อง หมายถึง 3 จังหวะ ง. ห้องเพลง 1 ห้อง หมายถึง 4 จังหวะ 7. ประโยคหนึ่งๆ ของโน้ตไทยบันทึกลงกี่ช่อง ก. 5 ช่อง ข. 6 ช่อง ค. 7 ช่อง ง. 8 ช่อง 8. /ดดดด/ อ่านออกเสียงอย่างไร ก. อ่านออกเสียง “โดโดโดโด” เป็น 1 จังหวะเคาะ ข. อ่านออกเสียง “โดโดโดโด” เป็น 4 จังหวะเคาะ ค. อ่านออกเสียง “โดโดโดโด” เป็น 3 จังหวะเคาะ ง. อ่านออกเสียง “โดโดโดโด” เป็น 2 จังหวะเคาะ 16 17
  • 13. 1. ค 2. ข 3. ก 4. ง 5. ค 6. ข 7. ง 8. ง 9. ข 10. ข 9. โน้ตเพลงแบบตัวเลขเคยมีผู้นามาใช้กับ เครื่องดนตรีใด ก. จะเข้-ขิม ข. ขลุ่ย-ปี่ ค. ซอด้วง-ซออู้ ง. ฆ้องวง-ระนาด 10.โน้ต อักษรตัว D แทนระดับ เสียงใด ก. โด ข. เร ค. มี ง. ฟา 18 19
  • 14. พันโทพระอภัยพลรบ หลักการอ่านโน้ตไทยตามหลัก ของ (พลอย เพ็ญกุล พ.ศ. 2403-2459) ธงรบ ขุนสงคราม. (2553). ดนตรีไทยและดนตรีพื้นบ้าน ไทย. บุรีรัมย์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 20