SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1
แบบทดสอบก่อนเรียน 1
ประวัติความเป็นมาโหวด 6
ลักษณะของโหวด 12
เทคนิคการเป่าโหวด 14
การปฏิบัติเป่าโหวด 16
แบบทดสอบหลังเรียน 20
เฉลยแบบทดสอบก่อน-หลังเรียน 25
เอกสารอ้างอิง 26
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อ
เป็นส่วนหนึ่งของการประกอบการสอนดนตรี
พื้นบ้าน การสอน เรื่อง โหวด
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทเรียน
อิเล็กทรอนิกส์ เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ สาหรับ
นักเรียนและผู้ที่สนใจจะศึกษาดนตรีพื้นบ้าน
1. ด้านความรู ้ (K)
นักเรียนบอกประวัติความเป็นมา อธิบาย
ลักษณะและส่วนประกอบต่างๆของโหวดได้
นักเรียนสามารถบอกระบบเสียง อธิบาย
วิธีการบรรเลงโหวดและประยุกต์ใช้ได้
2. ด้านทักษะกระบวนการ (P)
นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ตามเกณฑ์
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
นักเรียนฝึกปฏิบัติเป่าโหวดได้ตามเกณฑ์ ร้อย
ละ 80 ขึ้นไป
3. ด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์(A)
นักเรียนสามารถปฏิบัติตามคุณลักษณะอันพึง
1. โหวดเป็นเครื่องดนตรีของภาคใด
ก. กลาง
ข. อีสาน
ค. ใต้
ง. เหนือ
2. โหวดมีส่วนประกอบที่สาคัญกี่ส่วน
ก. 3 ส่วน
ข. 4 ส่วน
ค. 5 ส่วน
ง. 6 ส่วน
1
3. ไม้ตระกูลใดที่ใช้ทาโหวด
ก. ไม้เลื้อย
ข. ไม้ไผ่
ค. ไม้เมเปิ้ล
ง. ไม้พยุง
4. ไม้ไผ่ชนิดใดที่นามาทาเป็นลูกโหวด
ก. ไม้กู่แคน
ข. ไม้ไผ่หวาน
ค. ไม้ไผ่รวก
ง. ไม้ไผ่พงศธร
5. ยางไม้ชนิดใดที่นามาทาเป็นหัวโหวด
ก. ไม้ประดู่
ข. ไม้ยูคา
ค. ไม้จิก
ง. ยางกล้วย
6. ชาวอีสานมักใช้โหวดประกอบพิธีใด
ก. แห่นาค
ข. แต่งงาน
ค. ขอฝน
ง. บุญกฐิน
2 3
7. ไม้แกนโหวดใช้ทาอะไร
ก. ยึดติดลูกโหวด
ข. มีไว้เพื่อความสวยงาม
ค. เป็นเป่า
ง. เพื่อไม่ให้ลมออก
8. ไม้ชนิดใดใช้ทาแกนโหวด
ก. ไม้พยุง
ข. ไม้สัก
ค. ไม้ใผ่
ง. ไม้ประดู่
9. หัวโหวดมีลักษณะอย่างไร
ก. ปลายสั้น
ข. ปลายมน
ค. ปลายแหลม
ง. ปลายแหลมและสั้น
10. ส่วนประกอบใดของโหวดที่ทาให้เกิดเสียง
ก. แกนโหวด
ข. หัวโหวด
ค. ลูกโหวด
ง. แม่โหวด
4 5
โหวดเป็นเครื่องดนตรีของชาวอีสาน หรือ
ของเล่นชนิดหนึ่งของชาวอีสาน ใช้แกว่งเล่น
เหมือนธนู ต่อมาโหวดได้ดัดแปลงมาเป็น
เครื่องดนตรีพื้นเมืองอีสาน โหวดเกิดขึ้นใน
สมัยใดนั้น ยังไม่สามารถบอกได้แน่นอนหรือ
ยืนยันได้ แต่ก็มีประวัติที่เล่าเป็นนิยายปรัมปรา
สืบต่อกันมา ดังนี้ในสมัยก่อนพุทธกาล มีเมือง
หนึ่งชื่อเมืองพันทุมาลัย เมืองนั้นมีพระ
โพธิสัตว์ เสวยชาติ
มาเป็นพระยาคางคก
สมัยก่อนมีความเชื่อเรื่องพระยาแถน เรื่องฝน
ฟ้า อากาศ เจ็บไข้ได้ป่วยก็ไปบนบานศาล
กล่าวต่อพระยาแถน แต่พอมีพระยาคางคก ก็
ทาให้คนและสัตย์หันไปนับถือพระยาคางคก
ทาให้พระยาแถนไม่พอใจ ฝนฟ้าที่เคยตกต้อง
ตามฤดูกาล ก็ทาให้เมืองนี้แห้งแล้งเป็นเวลา 7
ปี 7 เดือน คนและสัตย์รวมทั้งพืชพันธ์
ธัญญาหารล้มตาย ทาให้มวลมนุษย์และสัตย์
เดือดร้อนก็เลยทาสงครามกับพระยาแถน
6 7
แต่มนุษย์ก็ไม่ชนะสักที จึงมาปรึกษากับพระ
ยาคางคก พระยาคางคกก็รับอาสาจะไปสู้กับ
พระยาแถน พระยาคางคกก็นาทัพไปรบกับ
พระยาแถน แต่งตั้งให้พระยาปลวกทา
สะพานดินเป็นถนนขึ้นสู่เมืองพระยาแถน ให้
พระยามดขึ้นไปสู่เมืองพระยาแถนก่อนเพื่อไป
เจาะดาบอาวุธยุทธโธปกรณ์ ให้จวนจะหัก
และพระยาตะขาบ แมงป่อง อสรพิษทั้งหลาย
ไปดักอยู่ตามเสื้อผ้า อุปกรณ์ต่างๆ ที่ทหาร
พระยาแถนใช้ พอถึงวันแรม 7 ค่า พระยา
คางคกก็นาทัพขึ้นไปเจรจาขอฝนกับพระยา
แถน พระยาแถนก็โกรธและ
ไม่ประธานฝนให้ แล้วก็ประกาศสงครามกัน
แผนต่างๆ ที่พระยาคางคก วางเอาไว้ก็เริ่ม
ปฏิบัติการปฏิบัติการ ตะขาบ แมงป่อง ก็
ออกมากัดทหารให้ล้มตาย ส่วนพระยา
คางคกกับพระยาแถนก็ต่อสู้กันบนหลังช้าง สู้
กันไปกันมา พระยาแถนใช้ดาบฟันพระยา
คางคก ดาบก็หัก จะใช้ตะขอเกี่ยว ตะขอก็หัก
ในที่สุดพระยาคางคกได้จังหวะ ก็ใช้บ่วงศ์
(บ่วงนาคบาศก์) ดับพระยาแถนได้จนตก
จากหลังช้าง พระยาแถนจึงยอมตกลงตาม
สัญญา โดยมีเงื่อนไขกันอยู่ 3 ประการ คือ
8 9
ประการที่ 1 ให้พระยาแถน
ประทานน้าฝนให้เหมือนเดิม ถึงเดือนหก
ถ้าฝนไม่ตกมนุษย์จะทาบั้งไฟ จุดขึ้นไปเป็น
การบอกกล่าว เตือนพระยาแถนให้ประทาน
ฝนลงมาให้มนุษย์
ประการที่ 2 การได้ยินเสียง กบ
อึ่งอ่าง เขียดร้อง แสดงว่ามนุษย์ได้รับน้าฝน
แล้ว
ประการที่ 3 เมื่อใดที่ได้ฝน
เพียงพอแล้วก็จะแกว่งโหวดขึ้นสู่ท้องฟ้าให้
เกิดเสียงดังเป็นสัญญาณ
ให้พระยาแถนทราบว่าได้รับ
น้าฝนเพยงพอแล้วเพื่อให้ลดปริมาณฝนลง
หรือให้ฝนหยุด
ปัจจุบันนี้โหวดเป็นเครื่องดนตรีที่
ได้รับความนิยมมาก และเป็นเครื่องดนตรีที่
นามาบรรเลงเข้ากับเครื่องดนตรีอีสานได้
เช่น พิณ แคน โปงลาง กลอง และเกิดเป็น
วงดนตรีพื้นเมืองอีสานดังปรากฏใน
ปัจจุบันนี้
10 11
1. ลูกโหวด ทามาจากไม้ไผ่เฮี้ย มีลักษณะผิว
บาง
2. ขี้สูท ใช้สาหรับติดลูกโหวด
3. ไม้แกนโหวด ทาจากไม้ไผ่ใช้สาหรับติดยึดลูก
โหวด
12 13
เทคนิคการเป่าโหวดมีดังนี้
1. ใช้มือซ้ายหรือมือขวาจับโหวด โดย
ให้หัวแม่มืออยู่ที่ลูกที่ 1ลูกใหญ่ นิ้วชี้อยู่ในลูกที่
4
2. นาหัว (ตรงขี้สูท) มาเป่า โดยเป่า
ลมออกให้เกิดเสียง และให้ขยับหาเสียงที่ชัดมา
ที่สุด
3. ฝึกเป่าโดยการไล่เสียงจากเสียงสูง
ไปหาเสียงต่าหรือ จากเสียงต่าไปหาเสียงสูง
4. ฝึกเป่าลมออกให้ยาวๆ
5. ฝีกเป่าลายง่ายๆ เช่น ลายโปงลาง
เต้น เป็นต้น
14 15
ที่มา http://youtube.com/watch?v=L3JBjwNXM8A ที่มา http://youtube.com/watch?v=tWY_Dpd6e9g
16 17
ที่มา http://youtube.com/watch?v=K9O0Ss6JPEs
https://www.google.co.th/search?q=โน้ตเพลงลายเต้ยโขง
18 19
1. โหวดเป็นเครื่องดนตรีของภาคใด
ก. กลาง
ข. อีสาน
ค. ใต้
ง. เหนือ
2. โหวดมีส่วนประกอบที่สาคัญกี่ส่วน
ก. 3 ส่วน
ข. 4 ส่วน
ค. 5 ส่วน
ง. 6 ส่วน
3. ไม้ตระกูลใดที่ใช้ทาโหวด
ก. ไม้เลื้อย
ข. ไม้ไผ่
ค. ไม้เมเปิ้ล
ง. ไม้พยุง
4. ไม้ไผ่ชนิดใดที่นามาทาเป็นลูกโหวด
ก. ไม้กู่แคน
ข. ไม้ไผ่หวาน
ค. ไม้ไผ่รวก
ง. ไม้ไผ่พงศธร
20 21
5. หัวโหวดทามาจากยางชนิดใด
ก. ไม้ประดู่
ข. ไม้ยูคา
ค. ไม้จิก
ง. ขี้สูท
6. ชาวอีสานมักใช้โหวดประกอบพิธีใด
ก. แห่นาค
ข. แต่งงาน
ค. ขอฝน
ง. บุญกฐิน
7. ไม้แกนโหวดใช้ทาอะไร
ก. ยึดติดลูกโหวด
ข. มีไว้เพื่อความสวยงาม
ค. เป็นเป่า
ง. เพื่อไม่ให้ลมออก
8. ไม้ชนิดใดใช้ทาแกนโหวด
ก. ไม้พยุง
ข. ไม้สัก
ค. ไม้ไผ่
ง. ไม้ประดู่
22 23
9. หัวโหวดมีลักษณะอย่างไร
ก. ปลายสั้น
ข. ปลายมน
ค. ปลายแหลม
ง. ปลายแหลมและสั้น
10. ส่วนประกอบใดของโหวดที่ทาให้เกิดเสียง
ก. แกนโหวด
ข. หัวโหวด
ค. ลูกโหวด
ง. แม่โหวด
24 25
1. ข 2. ก
3. ข 4. ก
5. ง 6. ก
7. ก 8. ค
9. ข 10. ค
นคร สุขแช่ม.10/2014. การสอนดนตรีพื้นบ้านโหวด.
http://nakhon444.blogspot.com/p/1_9.html
มหาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด. 02/12/2016
ประตูสู่อีสาน. 17/06/2015. โหวด.
http://www.isangate.com/entertain/wote.html.
02/12/2015
สอนเป่าโหวด. 30/11/2016.
https://www.youtube.com/watch?v
=tWY_Dpd6e9g.
02/12/2016 วิทยาลัยนาฏศิลป์ ร้อยเอ็ด.10/10/2016.
พื้นฐานการเป่าโหวด.
https://www.youtube.com/watch?v=K9O0Ss6J
PEs.
02/12/2016
ศราวุฒิ ทุ่งขี้เหล็ก.01/07/2015.สาธิตการเป่าโหวดเบื้องต้น
26

More Related Content

What's hot

9789740331445
97897403314459789740331445
9789740331445CUPress
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากลTua Acoustic
 
องค์ประกอบดนตรี
องค์ประกอบดนตรีองค์ประกอบดนตรี
องค์ประกอบดนตรีRuz' Glaow
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลPasit Suwanichkul
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยพัน พัน
 

What's hot (9)

9789740331445
97897403314459789740331445
9789740331445
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากล
 
2562 final-project 03-sirasorn
2562 final-project  03-sirasorn2562 final-project  03-sirasorn
2562 final-project 03-sirasorn
 
องค์ประกอบดนตรี
องค์ประกอบดนตรีองค์ประกอบดนตรี
องค์ประกอบดนตรี
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทย
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
Scrubb maga sing
Scrubb maga singScrubb maga sing
Scrubb maga sing
 
รายงาน การประสมวงดนตรีสากล
รายงาน การประสมวงดนตรีสากลรายงาน การประสมวงดนตรีสากล
รายงาน การประสมวงดนตรีสากล
 

Similar to บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด

การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลThanakrit Muangjun
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..Lib Rru
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..Librru Phrisit
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลอำนาจ ศรีทิม
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8 khomkrit2511
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนKruanchalee
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6  สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6 khomkrit2511
 

Similar to บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด (11)

การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
 
Musicprogram
MusicprogramMusicprogram
Musicprogram
 
รายการเพลง
รายการเพลงรายการเพลง
รายการเพลง
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
 
นายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนานนายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนาน
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6  สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
 

บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด

  • 1.
  • 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1 แบบทดสอบก่อนเรียน 1 ประวัติความเป็นมาโหวด 6 ลักษณะของโหวด 12 เทคนิคการเป่าโหวด 14 การปฏิบัติเป่าโหวด 16 แบบทดสอบหลังเรียน 20 เฉลยแบบทดสอบก่อน-หลังเรียน 25 เอกสารอ้างอิง 26 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อ เป็นส่วนหนึ่งของการประกอบการสอนดนตรี พื้นบ้าน การสอน เรื่อง โหวด ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทเรียน อิเล็กทรอนิกส์ เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ สาหรับ นักเรียนและผู้ที่สนใจจะศึกษาดนตรีพื้นบ้าน
  • 3. 1. ด้านความรู ้ (K) นักเรียนบอกประวัติความเป็นมา อธิบาย ลักษณะและส่วนประกอบต่างๆของโหวดได้ นักเรียนสามารถบอกระบบเสียง อธิบาย วิธีการบรรเลงโหวดและประยุกต์ใช้ได้ 2. ด้านทักษะกระบวนการ (P) นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ตามเกณฑ์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป นักเรียนฝึกปฏิบัติเป่าโหวดได้ตามเกณฑ์ ร้อย ละ 80 ขึ้นไป 3. ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์(A) นักเรียนสามารถปฏิบัติตามคุณลักษณะอันพึง 1. โหวดเป็นเครื่องดนตรีของภาคใด ก. กลาง ข. อีสาน ค. ใต้ ง. เหนือ 2. โหวดมีส่วนประกอบที่สาคัญกี่ส่วน ก. 3 ส่วน ข. 4 ส่วน ค. 5 ส่วน ง. 6 ส่วน 1
  • 4. 3. ไม้ตระกูลใดที่ใช้ทาโหวด ก. ไม้เลื้อย ข. ไม้ไผ่ ค. ไม้เมเปิ้ล ง. ไม้พยุง 4. ไม้ไผ่ชนิดใดที่นามาทาเป็นลูกโหวด ก. ไม้กู่แคน ข. ไม้ไผ่หวาน ค. ไม้ไผ่รวก ง. ไม้ไผ่พงศธร 5. ยางไม้ชนิดใดที่นามาทาเป็นหัวโหวด ก. ไม้ประดู่ ข. ไม้ยูคา ค. ไม้จิก ง. ยางกล้วย 6. ชาวอีสานมักใช้โหวดประกอบพิธีใด ก. แห่นาค ข. แต่งงาน ค. ขอฝน ง. บุญกฐิน 2 3
  • 5. 7. ไม้แกนโหวดใช้ทาอะไร ก. ยึดติดลูกโหวด ข. มีไว้เพื่อความสวยงาม ค. เป็นเป่า ง. เพื่อไม่ให้ลมออก 8. ไม้ชนิดใดใช้ทาแกนโหวด ก. ไม้พยุง ข. ไม้สัก ค. ไม้ใผ่ ง. ไม้ประดู่ 9. หัวโหวดมีลักษณะอย่างไร ก. ปลายสั้น ข. ปลายมน ค. ปลายแหลม ง. ปลายแหลมและสั้น 10. ส่วนประกอบใดของโหวดที่ทาให้เกิดเสียง ก. แกนโหวด ข. หัวโหวด ค. ลูกโหวด ง. แม่โหวด 4 5
  • 6. โหวดเป็นเครื่องดนตรีของชาวอีสาน หรือ ของเล่นชนิดหนึ่งของชาวอีสาน ใช้แกว่งเล่น เหมือนธนู ต่อมาโหวดได้ดัดแปลงมาเป็น เครื่องดนตรีพื้นเมืองอีสาน โหวดเกิดขึ้นใน สมัยใดนั้น ยังไม่สามารถบอกได้แน่นอนหรือ ยืนยันได้ แต่ก็มีประวัติที่เล่าเป็นนิยายปรัมปรา สืบต่อกันมา ดังนี้ในสมัยก่อนพุทธกาล มีเมือง หนึ่งชื่อเมืองพันทุมาลัย เมืองนั้นมีพระ โพธิสัตว์ เสวยชาติ มาเป็นพระยาคางคก สมัยก่อนมีความเชื่อเรื่องพระยาแถน เรื่องฝน ฟ้า อากาศ เจ็บไข้ได้ป่วยก็ไปบนบานศาล กล่าวต่อพระยาแถน แต่พอมีพระยาคางคก ก็ ทาให้คนและสัตย์หันไปนับถือพระยาคางคก ทาให้พระยาแถนไม่พอใจ ฝนฟ้าที่เคยตกต้อง ตามฤดูกาล ก็ทาให้เมืองนี้แห้งแล้งเป็นเวลา 7 ปี 7 เดือน คนและสัตย์รวมทั้งพืชพันธ์ ธัญญาหารล้มตาย ทาให้มวลมนุษย์และสัตย์ เดือดร้อนก็เลยทาสงครามกับพระยาแถน 6 7
  • 7. แต่มนุษย์ก็ไม่ชนะสักที จึงมาปรึกษากับพระ ยาคางคก พระยาคางคกก็รับอาสาจะไปสู้กับ พระยาแถน พระยาคางคกก็นาทัพไปรบกับ พระยาแถน แต่งตั้งให้พระยาปลวกทา สะพานดินเป็นถนนขึ้นสู่เมืองพระยาแถน ให้ พระยามดขึ้นไปสู่เมืองพระยาแถนก่อนเพื่อไป เจาะดาบอาวุธยุทธโธปกรณ์ ให้จวนจะหัก และพระยาตะขาบ แมงป่อง อสรพิษทั้งหลาย ไปดักอยู่ตามเสื้อผ้า อุปกรณ์ต่างๆ ที่ทหาร พระยาแถนใช้ พอถึงวันแรม 7 ค่า พระยา คางคกก็นาทัพขึ้นไปเจรจาขอฝนกับพระยา แถน พระยาแถนก็โกรธและ ไม่ประธานฝนให้ แล้วก็ประกาศสงครามกัน แผนต่างๆ ที่พระยาคางคก วางเอาไว้ก็เริ่ม ปฏิบัติการปฏิบัติการ ตะขาบ แมงป่อง ก็ ออกมากัดทหารให้ล้มตาย ส่วนพระยา คางคกกับพระยาแถนก็ต่อสู้กันบนหลังช้าง สู้ กันไปกันมา พระยาแถนใช้ดาบฟันพระยา คางคก ดาบก็หัก จะใช้ตะขอเกี่ยว ตะขอก็หัก ในที่สุดพระยาคางคกได้จังหวะ ก็ใช้บ่วงศ์ (บ่วงนาคบาศก์) ดับพระยาแถนได้จนตก จากหลังช้าง พระยาแถนจึงยอมตกลงตาม สัญญา โดยมีเงื่อนไขกันอยู่ 3 ประการ คือ 8 9
  • 8. ประการที่ 1 ให้พระยาแถน ประทานน้าฝนให้เหมือนเดิม ถึงเดือนหก ถ้าฝนไม่ตกมนุษย์จะทาบั้งไฟ จุดขึ้นไปเป็น การบอกกล่าว เตือนพระยาแถนให้ประทาน ฝนลงมาให้มนุษย์ ประการที่ 2 การได้ยินเสียง กบ อึ่งอ่าง เขียดร้อง แสดงว่ามนุษย์ได้รับน้าฝน แล้ว ประการที่ 3 เมื่อใดที่ได้ฝน เพียงพอแล้วก็จะแกว่งโหวดขึ้นสู่ท้องฟ้าให้ เกิดเสียงดังเป็นสัญญาณ ให้พระยาแถนทราบว่าได้รับ น้าฝนเพยงพอแล้วเพื่อให้ลดปริมาณฝนลง หรือให้ฝนหยุด ปัจจุบันนี้โหวดเป็นเครื่องดนตรีที่ ได้รับความนิยมมาก และเป็นเครื่องดนตรีที่ นามาบรรเลงเข้ากับเครื่องดนตรีอีสานได้ เช่น พิณ แคน โปงลาง กลอง และเกิดเป็น วงดนตรีพื้นเมืองอีสานดังปรากฏใน ปัจจุบันนี้ 10 11
  • 9. 1. ลูกโหวด ทามาจากไม้ไผ่เฮี้ย มีลักษณะผิว บาง 2. ขี้สูท ใช้สาหรับติดลูกโหวด 3. ไม้แกนโหวด ทาจากไม้ไผ่ใช้สาหรับติดยึดลูก โหวด 12 13
  • 10. เทคนิคการเป่าโหวดมีดังนี้ 1. ใช้มือซ้ายหรือมือขวาจับโหวด โดย ให้หัวแม่มืออยู่ที่ลูกที่ 1ลูกใหญ่ นิ้วชี้อยู่ในลูกที่ 4 2. นาหัว (ตรงขี้สูท) มาเป่า โดยเป่า ลมออกให้เกิดเสียง และให้ขยับหาเสียงที่ชัดมา ที่สุด 3. ฝึกเป่าโดยการไล่เสียงจากเสียงสูง ไปหาเสียงต่าหรือ จากเสียงต่าไปหาเสียงสูง 4. ฝึกเป่าลมออกให้ยาวๆ 5. ฝีกเป่าลายง่ายๆ เช่น ลายโปงลาง เต้น เป็นต้น 14 15
  • 11. ที่มา http://youtube.com/watch?v=L3JBjwNXM8A ที่มา http://youtube.com/watch?v=tWY_Dpd6e9g 16 17
  • 13. 1. โหวดเป็นเครื่องดนตรีของภาคใด ก. กลาง ข. อีสาน ค. ใต้ ง. เหนือ 2. โหวดมีส่วนประกอบที่สาคัญกี่ส่วน ก. 3 ส่วน ข. 4 ส่วน ค. 5 ส่วน ง. 6 ส่วน 3. ไม้ตระกูลใดที่ใช้ทาโหวด ก. ไม้เลื้อย ข. ไม้ไผ่ ค. ไม้เมเปิ้ล ง. ไม้พยุง 4. ไม้ไผ่ชนิดใดที่นามาทาเป็นลูกโหวด ก. ไม้กู่แคน ข. ไม้ไผ่หวาน ค. ไม้ไผ่รวก ง. ไม้ไผ่พงศธร 20 21
  • 14. 5. หัวโหวดทามาจากยางชนิดใด ก. ไม้ประดู่ ข. ไม้ยูคา ค. ไม้จิก ง. ขี้สูท 6. ชาวอีสานมักใช้โหวดประกอบพิธีใด ก. แห่นาค ข. แต่งงาน ค. ขอฝน ง. บุญกฐิน 7. ไม้แกนโหวดใช้ทาอะไร ก. ยึดติดลูกโหวด ข. มีไว้เพื่อความสวยงาม ค. เป็นเป่า ง. เพื่อไม่ให้ลมออก 8. ไม้ชนิดใดใช้ทาแกนโหวด ก. ไม้พยุง ข. ไม้สัก ค. ไม้ไผ่ ง. ไม้ประดู่ 22 23
  • 15. 9. หัวโหวดมีลักษณะอย่างไร ก. ปลายสั้น ข. ปลายมน ค. ปลายแหลม ง. ปลายแหลมและสั้น 10. ส่วนประกอบใดของโหวดที่ทาให้เกิดเสียง ก. แกนโหวด ข. หัวโหวด ค. ลูกโหวด ง. แม่โหวด 24 25 1. ข 2. ก 3. ข 4. ก 5. ง 6. ก 7. ก 8. ค 9. ข 10. ค
  • 16. นคร สุขแช่ม.10/2014. การสอนดนตรีพื้นบ้านโหวด. http://nakhon444.blogspot.com/p/1_9.html มหาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด. 02/12/2016 ประตูสู่อีสาน. 17/06/2015. โหวด. http://www.isangate.com/entertain/wote.html. 02/12/2015 สอนเป่าโหวด. 30/11/2016. https://www.youtube.com/watch?v =tWY_Dpd6e9g. 02/12/2016 วิทยาลัยนาฏศิลป์ ร้อยเอ็ด.10/10/2016. พื้นฐานการเป่าโหวด. https://www.youtube.com/watch?v=K9O0Ss6J PEs. 02/12/2016 ศราวุฒิ ทุ่งขี้เหล็ก.01/07/2015.สาธิตการเป่าโหวดเบื้องต้น 26