SlideShare a Scribd company logo
(ฉบับร่าง)
แนวทางการขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
ฉบับร่าง ๒
คานา
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียนเล่มนี้ เป็นกิจกรรมหนึ่งในโครงการโรงเรียนคุณธรรม
สพฐ. เนื้อหาในเอกสารได้กล่าวถึงแนวทางการขับเคลื่อนการนาคุณธรรมสู่ห้องเรียนให้เกิดผลสาเร็จเป็น
รูปธรรมโดยมีขั้นตอนการดาเนินงาน ๔ ขั้นตอน คือ ๑) สร้างความตระหนัก ๒) ชักนาคุณธรรมสู่ห้องเรียน
๓) เพียรติดตามความดี และ ๔) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ยกย่องเชิดชูเกียรตินักเรียนดีมีคุณธรรม
แนวทางการดาเนินการดังกล่าวโรงเรียนสามารถนาไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของห้องเรียน
เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่นักเรียน โดยมีเป้าหมายคือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ให้ลดน้อยลง
และส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ให้เพิ่มขึ้นตามคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน
ขอขอบคุณคณะทางานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคนที่มีส่วนร่วมในการจัดทาเอกสารเล่มนี้จนสาเร็จ
ด้วยดี และหวังอย่างยิ่งว่าเอกสารเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกท่านและหน่วยงานต่าง ๆ ที่สนใจ
นาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมให้นักเรียน และบุคลากรเพื่อสร้างคนดีให้บ้านเมืองต่อไป
สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ฉบับร่าง ๓
สารบัญ
คานา
สารบัญ
ความเป็นมาของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
กิจกรรมของโครงการโรงเรียนคุณธรรม
ความเป็นมา
จุดมุ่งหมาย
กิจกรรมการดาเนินงาน
แผนภูมิแนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
การประเมินผลกิจกรรม
ผลสาเร็จที่ต้องการให้เกิด
การรายงานผลการดาเนินงาน
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
รายชื่อคณะทางาน
ฉบับร่าง ๔
ความเป็นมาของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ( หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล ) ได้กล่าวถึง ศาสตร์พระราชา
ซึ่งเป็นศาสตร์ที่ครอบคลุม เรื่องเอกลักษณ์ของชนชาติไทย เช่นการอ่อนน้อมถ่อมตน การเป็นสุภาพชน
ความขยันหมั่นเพียร การซื่อสัตย์สุจริตซึ่งเป็นคุณงามความดีของคนไทยที่บรรพชนไทยได้ปฏิบัติสืบทอด
ต่อกันมา ศาสตร์พระราชาให้ข้อคิดการประพฤติปฏิบัติตนไว้ว่าอย่าคบคนด้วยฐานะ คบคนด้วยความดี
มีมิตรภาพด้วยความรักและความผูกพันและขอให้มีความกตัญญูรู้คุณต่อบิดามารดาผู้มีพระคุณ ประเทศชาติ
และพระมหากษัตริย์ ถ้าทุกคนปฏิบัติตนตามศาสตร์ของพระราชาแล้วก็จะเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ ประเทศ
ก็จะมีแต่คนดีและทาให้ประเทศเจริญก้าวหน้ารวมทั้งน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
ในชีวิตประจาวันเพื่อมุ่งให้เกิดภูมิคุ้มกันและมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสมเกิดความสมดุลและ
ยั่งยืน แนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ
ได้พระราชทานไว้กว่า 40 ปีที่ผ่านมาเพื่อให้ประชาชนชาวไทยนาไปเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเองและ
ครอบครัวให้มีภูมิคุ้มกันที่มั่นคงในการดาเนินชีวิตอย่างมีความสุข จึงนับได้ว่า“ศาสตร์พระราชา” เป็นเสมือน
องค์ความรู้ที่อยู่คู่แผ่นดินไทยซึ่งล้วนมุ่งให้ประชาชนทุกคนปฏิบัติตนเป็น “คนดี” ทั้งคิดดี พูดดี ทาดี ยึดมั่น
ในคุณธรรม จริยธรรม สุจริต มีวินัย และมีความสามัคคีซึ่งกันและกันเพื่อร่วมกันพัฒนาประเทศชาติบ้านเมือง
ให้มีความเจริญก้าวหน้าเป็นปึกแผ่นมั่นคงตลอดไป
นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ มีพระราชกระแสรับสั่งต่อประชาชน
ชาวไทยให้ “ช่วยสร้างคนดีให้บ้านเมือง”พร้อมทั้งพระราชทานหลัก 3 ประการที่เกี่ยวกับครูและนักเรียนไว้ว่า
“ให้ครูรักเด็ก เด็กรักครู”
“ให้ครูสอนให้เด็กมีน้าใจต่อเพื่อนไม่ให้แข่งขันกัน แต่ให้แข่งกับตัวเองและให้เด็กที่เรียนเก่งช่วยสอน
เพื่อนที่เรียนช้ากว่า”
“ให้ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนทาร่วมกันเพื่อให้เห็นคุณค่าของความสามัคคี”
จากพระราชกระแสรับสั่งข้างต้นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระราชทาน
พระบรมราโชวาท ด้านการศึกษาเพื่อสานต่อพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ว่า
การศึกษาต้องมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียน 4 ด้าน ดังนี้
1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
3. มีงานทา-มีอาชีพ
4. เป็นพลเมืองดี
ฉบับร่าง ๕
กิจกรรมของโครงการโรงเรียนคุณธรรม
เพื่อเป็นการสืบสานศาสตร์พระราชา และสนองพระราชกระแสรับสั่งของพระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ และพระบรมราโชวาทด้านการศึกษาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงดาเนินโครงการ
โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ขึ้น เพื่อมุ่งปลูกฝังให้ผู้บริหาร ครู นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการปลูกฝัง
คุณธรรม 5 ประการ ได้แก่ 1) พอเพียง 2) กตัญญู 3) ซื่อสัตย์สุจริต 4) ความรับผิดชอบ และ
5) อุดมการณ์คุณธรรม โดยปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ให้แต่ละสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา คัดเลือก
โรงเรียนเข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. อย่างน้อยร้อยละ 35 และปีงบประมาณ 2561 โรงเรียนทุก
โรงเรียนเข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. และเพื่อให้โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณธรรม
สพฐ. มีแนวทางในการดาเนินงาน จึงได้จัดทาเอกสารแนวทางการขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
ขึ้น จานวน 10 เรื่อง
เอกสารแนวทางการขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จัดทา
เอกสารแนวทางการขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ตามกิจกรรมที่กาหนดไว้ในโครงการ
จานวน 10 เรื่อง เพื่อให้โรงเรียนและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาใช้เป็นแนวทางการจัดกิจกรรมการพัฒนา
โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ให้บรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ โดยกิจกรรมการดาเนินงาน ประกอบด้วย
เรื่องที่ 1 แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
เรื่องที่ 2 แนวทางการจัดทาโครงงานพัฒนาจริยคุณ
เรื่องที่ 3 แนวทางการผลิตนวัตกรรม สร้างสรรค์ความดี
เรื่องที่ 4 แนวทางการสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วมโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
เรื่องที่ 5 แนวทางการจัดกิจกรรม 10,000 คุรุชน คนคุณธรรม
เรื่องที่ 6 แนวทางการจัดกิจรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
เรื่องที่ 7 แนวทางการจัดกิจกรรมครอบครัวคุณธรรม
เรื่องที่ 8 แนวทางการจัดกิจกรรมโรงเรียนดีต้องมีที่ยืน
เรื่องที่ 9 แนวทางการนิเทศ กากับ ติดตาม
เรื่องที่ 10 แนวทางการจัดทาภาพยนตร์สั้นโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
ฉบับร่าง ๖
ความเป็นมา
การจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่บูรณาการคุณธรรม
อัตลักษณ์ของสถานศึกษา หรือกรอบแนวคิดคุณธรรม 5 ประการตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. หรือ
แต่ละห้องเรียนสามารถกาหนดคุณธรรมอัตลักษณ์เพิ่มเติมเป็นของห้องเรียนที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา
ของนักเรียนแต่ละห้องเรียนได้ โดยครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์สภาพปัญหา สาเหตุ และหาแนวทางแก้ไข
และจัดกิจกรรมโครงงานคุณธรรมระดับห้องเรียนหรือกิจกรรมอื่นที่สอดคล้องกับคุณธรรมอัตลักษณ์ ทั้งนี้ เพื่อ
ปลูกฝังให้นักเรียนปฏิบัติตนเป็นคนดีของห้องเรียนต่อไป
จุดมุ่งหมาย
1. เพื่อให้ครูและนักเรียนนาคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนไปสู่การปฏิบัติในห้องเรียนได้
2. เพื่อให้ครูและนักเรียนกาหนดคุณธรรมอัตลักษณ์เพิ่มเติมเป็นของห้องเรียน
3. เพื่อพัฒนาพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของนักเรียนให้เพิ่มขึ้น และแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
ให้ลดน้อยลง
กิจกรรมการดาเนินงาน
กิจกรรมหลัก/แนวปฏิบัติ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
แนวทางการดาเนินงานคืนคุณธรรม
สู่ห้องเรียน
ขั้นที่ ๑ สร้างความตระหนัก
1. ครูชี้แจงและทาความเข้าใจให้นักเรียนทราบถึงคุณธรรมอัตลักษณ์
ของโรงเรียน
2. ครูจัดกิจกรรมสร้างความตระหนักเกี่ยวกับคุณธรรมอัตลักษณ์ของ
โรงเรียน โดยใช้สื่อและวิธีการที่หลากหลาย เช่น ดูวีดีทัศน์เรื่องที่เกี่ยวกับ
คุณธรรม จริยธรรม เล่าเรื่องชีวิตจริงที่เกิดขึ้นในหมู่บ้าน เล่าข่าวที่เกิดขึ้น
ในชีวิตประจาวันจากหนังสือพิมพ์ โทรทัศน์
ขั้นที่ ๒ ชักนาคุณธรรมสู่ห้องเรียน
3. ครูและนักเรียนร่วมกันระดมความคิดวิเคราะห์สภาพปัญหา และ
พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ควรแก้ไข แล้วกาหนดคุณธรรมเป้าหมาย
พร้อมพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก เพื่อพัฒนาเป็นคุณธรรมอัตลักษณ์ของ
ห้องเรียน
4. ครูจัดทาแผนการเรียนรู้ที่บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยใช้
โครงงานคุณธรรมเป็นฐาน
5. ให้นักเรียนจัดทาโครงงานคุณธรรมพร้อมทั้งนาเสนอ
พ.ค.
พ.ค.
ครู และ
นักเรียน
ครู และ
นักเรียน
ฉบับร่าง ๗
กิจกรรมหลัก/แนวปฏิบัติ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
ขั้นที่ ๓ เพียรติดตามความดี
6. ครูสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติตนของนักเรียนตามคุณธรรมอัตลักษณ์
ของห้องเรียนเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
7. ครูประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติตนของนักเรียนตามคุณธรรมอัต
ลักษณ์
เป็นรายบุคคล หากมีนักเรียนคนใดยังมีพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
ให้ครูร่วมกับครอบครัวดาเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียน
8. ครูสรุปผลการดาเนินงานให้ผู้บริหารสถานศึกษาทราบ และโรงเรียน
ดาเนินการรายงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
ขั้นที่ ๔ จัดเวทีแลกเปลี่ยนและเชิดชูนักเรียนดี
มีคุณธรรม
9. ครูและนักเรียนจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงงานคุณธรรม
ในห้องเรียน ระหว่างห้องเรียน และสรุปถอดบทเรียน เช่น การจัด
นิทรรศการ การนาเสนอผลงานที่ประสบผลสาเร็จของแต่ละห้องเรียน
10. คัดเลือกห้องเรียนที่นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ตามคุณธรรม
อัตลักษณ์ครบทุกคน เพื่อให้เป็นห้องเรียนคุณธรรมต้นแบบ
11. ยกย่อง เชิดชูเกียรติห้องเรียนคุณธรรมต้นแบบ
12. ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ห้องเรียนคุณธรรมต้นแบบ
พ.ค.-มี.ค.
ก.ย., ก.พ.
ส.ค.
ครู
ผู้บริหาร
สถานศึกษา
ครู นักเรียน
ฉบับร่าง ๘
แผนภูมิแนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
ครูสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องคุณธรรมแก่
นักเรียน ชี้แจงคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน
สังเกต ติดตาม ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน
การทาโครงงานของนักเรียน
จัดแผนการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน
รวมกลุ่มกันจัดทาโครงงาน
วิเคราะห์สภาพปัญหา พฤติกรรมที่ควรแก้ไข
กาหนดคุณธรรมเป้าหมายของห้องเรียน
ครูจัดกิจกรรมสร้างความตระหนัก
ส่งเสริมสานึกคุณธรรม
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการดาเนินงาน
ห้องเรียนคุณธรรม
ยกย่อง เชิดชูเกียรติ
นักเรียนดีมีคุณธรรม
ประเมินผลโครงงานของนักเรียน
และรายงานผลการดาเนินงานโดยภาพรวม
๑. สร้างความตระหนัก
๒. ชักนาคุณธรรม
สู่ห้องเรียน
๓. เพียรติดตาม
ความดี
๔. เวทีแลกเปลี่ยน
และเชิดชูนักเรียนดี
มีคุณธรรม
ฉบับร่าง ๙
การประเมินผลการดาเนินงาน
การประเมินผลกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียนเป็นภารกิจที่ครูผู้สอนหรือครูประจาชั้นเป็น
ผู้ดาเนินการประเมิน ประกอบด้วย การประเมินผลพฤติกรรมนักเรียน และคัดเลือกห้องเรียนคุณธรรมต้นแบบ
การทดสอบ ซึ่งบางกิจกรรมควรให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการประเมิน โดยมีตัวอย่างแบบสังเกต
พฤติกรรมพอเพียงของนักเรียนในภาคผนวก
ตัวชี้วัดความสาเร็จ หลักฐาน/ร่องรอย/ลักษณะที่พบ
1. นักเรียนร้อยละ 100 มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์
ตามคุณธรรมอัตลักษณ์ที่กาหนดของห้องเรียน
1. แบบสังเกตพฤติกรรรมนักเรียน
2. แบบประเมินพฤติกรรมห้องเรียน
3. โครงงานที่นักเรียนจัดทาตามคุณธรรมอัตลักษณ์
ของห้องเรียน
4. ภาพกิจกรรม
ฯลฯ
2. จานวนห้องเรียนที่ได้รับคัดเลือกเป็นห้องเรียน
คุณธรรมต้นแบบ
1. ประกาศห้องเรียนคุณธรรมต้นแบบของโรงเรียน
2. แบบสรุปผลการคัดเลือกห้องเรียนคุณธรรม
ต้นแบบ
3. เกียรติบัตร
ฯลฯ
ผลสาเร็จที่ต้องการให้เกิด
1. โรงเรียนมีนักเรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม เพิ่มมากขึ้น
2. โรงเรียนมีห้องเรียนคุณธรรมต้นแบบสาหรับใช้เป็นแหล่งศึกษาดูงานของห้องเรียนอื่น ๆ
ในโรงเรียนและต่างโรงเรียน
3. นักเรียนมีความภาคภูมิใจที่เป็นคนดีของโรงเรียน ครอบครัว และชุมชน
4. โรงเรียนสร้างคนดีให้บ้านเมือง
ฉบับร่าง ๑๐
การรายงานผลการดาเนินงาน
การรายงานผลการดาเนินงาน “กิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน” เป็นภารกิจของครูประจาชั้น
ที่จะต้องรายงานผลให้ผู้บริหารสถานศึกษาทราบถึงความก้าวหน้า และความสาเร็จที่เกิดจากการดาเนิน
กิจกรรมเป็นระยะ ซึ่งอยู่กับข้อตกลงของโรงเรียนว่าจะให้ห้องเรียนรายงานผล ภาคเรียนหรือปีละกี่ครั้ง
โดยมีตัวอย่างแบบรายงานกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียนในภาคผนวก
ฉบับร่าง ๑๑
บรรณานุกรม
เกษม วัฒนชัย. (2559). 6 ขั้นตอนสู่โรงเรียนคุณธรรม. นนทบุรี : บริษัทธนธัชการพิมพ์ จากัด.
_____. (2560). โรงเรียนคุณธรรม. นนทบุรี : บริษัทธนธัชการพิมพ์ จากัด.
ศูนย์โรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ. (2558). คู่มือปฏิบัติโรงเรียนคุณธรรม. กรุงเทพฯ : บริษัท
สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสซิ่ง จากัด
_____. (2560). คู่มือวิทยากรการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม. กรุงเทพฯ : บริษัทมาตาการพิมพ์ จากัด.
_____. (2560). บนเส้นทางสร้างคนดี. กรุงเทพฯ : บริษัทสหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสซิ่ง จากัด
ฉบับร่าง ๑๒
ภาคผนวก
ตัวอย่าง
แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในห้องเรียน
โรงเรียน........................................................................ชั้น................................. ห้อง........................
ชื่อครูประจาชั้น..................................................................................................................................
คาชี้แจง ให้ครูประจาชั้น/ครูที่ปรึกษา สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วเขียนเครื่องหมาย √
ลงในช่องพฤติกรรมบ่งชี้ที่ตรงกับสิ่งที่นักเรียนปฏิบัติ
ชื่อ – นามสกุล
พฤติกรรมบ่งชี้ (ที่ห้องเรียนกาหนด)
สรุปผล
การประเมิน
ผ่าน ไม่ผ่าน
เกณฑ์การตัดสิน ผ่าน หมายถึง นักเรียนต้องผ่านการประเมินพฤติกรรมบ่งชี้ ทั้ง 4 ตัว
ไม่ผ่าน หมายถึง นักเรียนไม่ผ่านการประเมินพฤติกรรมบ่งชี้ตัวใดตัวหนึ่งหรือทั้งหมด
ตัวอย่าง
ฉบับร่าง ๑๓
แบบสังเกตพฤติกรรมกตัญญูของนักเรียน
โรงเรียน........................................................................ชั้น................................. ห้อง........................
ชื่อครูประจาชั้น..................................................................................................................................
คาชี้แจง ให้ครูประจาชั้น/ครูที่ปรึกษา สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วเขียนเครื่องหมาย √
เมื่อนักเรียนมีพฤติกรรมบ่งชี้ดังกล่าวปรากฏเป็นที่ชัดแจ้งแล้ว
ชื่อ – นามสกุล
พฤติกรรมบ่งชี้ ผลการประเมิน
ยกย่อง
เชิดชู
พ่อแม่
ผู้ปกครอง
ครูอาจารย์
และทุกคน
ที่มีส่วนร่วม
ช่วยถือของ
ให้บุคคล
อื่น ๆ
ดูแลรักษา
สิ่งแวดล้อม
ทาง
ธรรมชาติ
อย่าง
เคร่งครัด
ประพฤติ
ปฏิบัติตน
เป็นคนดี
เป็น
พลเมืองดี
ของชาติ
ผ่าน ไม่ผ่าน
เกณฑ์การตัดสิน ผ่าน หมายถึง นักเรียนต้องผ่านการประเมินพฤติกรรมบ่งชี้ ทั้ง 4 ตัว
ไม่ผ่าน หมายถึง นักเรียนไม่ผ่านการประเมินพฤติกรรมบ่งชี้ตัวใดตัวหนึ่งหรือทั้งหมด
ฉบับร่าง ๑๔
ตัวอย่าง
แบบสังเกตพฤติกรรมซื่อสัตย์สุจริตของนักเรียน
โรงเรียน........................................................................ชั้น................................. ห้อง........................
ชื่อครูประจาชั้น..................................................................................................................................
คาชี้แจง ให้ครูประจาชั้น/ครูที่ปรึกษา สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วเขียนเครื่องหมาย √
เมื่อนักเรียนมีพฤติกรรมบ่งชี้ดังกล่าวปรากฏเป็นที่ชัดแจ้งแล้ว
ชื่อ – นามสกุล
พฤติกรรมบ่งชี้ ผลการประเมิน
ใช้ข้อมูล
ที่ถูกต้อง
และเป็นจริง
ปฏิบัติตาม
ข้อตกลง
ไม่ถือเอา
สิ่งของหรือ
ผลงานของ
ผู้อื่นมา
เป็นของตน
ไม่หา
ประโยชน์
ในทางที่
ไม่ถูกต้อง
ผ่าน ไม่ผ่าน
เกณฑ์การตัดสิน ผ่าน หมายถึง นักเรียนต้องผ่านการประเมินพฤติกรรมบ่งชี้ ทั้ง 4 ตัว
ไม่ผ่าน หมายถึง นักเรียนไม่ผ่านการประเมินพฤติกรรมบ่งชี้ตัวใดตัวหนึ่งหรือทั้งหมด
ฉบับร่าง ๑๕
ตัวอย่าง
แบบสังเกตพฤติกรรมความรับผิดชอบของนักเรียน
โรงเรียน........................................................................ชั้น................................. ห้อง........................
ชื่อครูประจาชั้น..................................................................................................................................
คาชี้แจง ให้ครูประจาชั้น/ครูที่ปรึกษา สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วเขียนเครื่องหมาย √
เมื่อนักเรียนมีพฤติกรรมบ่งชี้ดังกล่าวปรากฏเป็นที่ชัดแจ้งแล้ว
ชื่อ – นามสกุล
พฤติกรรมบ่งชี้ ผลการประเมิน
ตรงต่อเวลา
รู้หน้าที่
และทาตาม
หน้าที่เป็น
อย่างดี
มีความ
พยายาม
ทางาน
ให้สาเร็จ
ยอมรับ
ความ
ผิดพลาด
ที่เกิดจาก
การกระทา
ผ่าน ไม่ผ่าน
เกณฑ์การตัดสิน ผ่าน หมายถึง นักเรียนต้องผ่านการประเมินพฤติกรรมบ่งชี้ ทั้ง 4 ตัว
ไม่ผ่าน หมายถึง นักเรียนไม่ผ่านการประเมินพฤติกรรมบ่งชี้ตัวใดตัวหนึ่งหรือทั้งหมด
ฉบับร่าง ๑๖
ตัวอย่าง
แบบสังเกตพฤติกรรมมีอุดมการณ์คุณธรรมของนักเรียน
โรงเรียน........................................................................ชั้น................................. ห้อง........................
ชื่อครูประจาชั้น..................................................................................................................................
คาชี้แจง ให้ครูประจาชั้น/ครูที่ปรึกษา สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วเขียนเครื่องหมาย √
เมื่อนักเรียนมีพฤติกรรมบ่งชี้ดังกล่าวปรากฏเป็นที่ชัดแจ้งแล้ว
ชื่อ – นามสกุล
พฤติกรรมบ่งชี้ ผลการประเมิน
ร่วมกิจกรรม
ที่เกี่ยวกับ
คุณธรรม
จริยธรรม
ที่โรงเรียน
จัดขึ้น
สม่าเสมอ
ประพฤติ
ปฏิบัติตาม
คุณธรรม
อัตลักษณ์
ของโรงเรียน
จนเป็นปกติ
นิสัย
สร้างคุณ
งามความดี
ให้แก่ตนเอง
จนเป็นที่
ประจักษ์
ร่วมพัฒนา
กิจกรรม
ต่างๆ ของ
โรงเรียน
จนชุมชน
ให้การ
ยอมรับ
ผ่าน ไม่ผ่าน
เกณฑ์การตัดสิน ผ่าน หมายถึง นักเรียนต้องผ่านการประเมินพฤติกรรมบ่งชี้ ทั้ง 4 ตัว
ไม่ผ่าน หมายถึง นักเรียนไม่ผ่านการประเมินพฤติกรรมบ่งชี้ตัวใดตัวหนึ่งหรือทั้งหมด
ฉบับร่าง ๑๗
รายชื่อคณะทางาน
1. นายนรงค์ โสภา ผู้อานวยการโรงเรียนวัดศรีสาคร สพป. สิงห์บุรี
2. นายประเสริฐ สุวรรณชัยเลิศ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านทุ่งนาวิทยา สพม. เขต 42
3. นายสิทธิพงศ์ สั่งศร ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านตะคร้อ สพป.นครสวรรค์ เขต 3
(รัฐประชาชนูทิศ)
4. นางนปภา ศรีเอียด ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและ สพป.ปัตตานี เขต 1
ประเมินผลการจัดการศึกษา

More Related Content

What's hot

แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
งานนำเสนอBest
งานนำเสนอBestงานนำเสนอBest
งานนำเสนอBestkrupornpana55
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ssuser66968f
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
sarawut chaicharoen
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
wisheskerdsilp
 
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรมบันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
Jirathorn Buenglee
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
Nontaporn Pilawut
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
ศกลวรรณ ปิ่นแก้ว
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
guest6e231b
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
Jaru O-not
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
sarawut chaicharoen
 
คำที่มีตัวการันต์
คำที่มีตัวการันต์คำที่มีตัวการันต์
คำที่มีตัวการันต์
Aunop Nop
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
Montira Butyothee
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ssuserf8d051
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
Roiyan111
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 

What's hot (20)

แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
งานนำเสนอBest
งานนำเสนอBestงานนำเสนอBest
งานนำเสนอBest
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรมบันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
 
คำที่มีตัวการันต์
คำที่มีตัวการันต์คำที่มีตัวการันต์
คำที่มีตัวการันต์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
การแนะแนว
การแนะแนวการแนะแนว
การแนะแนว
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 

Similar to แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน

เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)yana54
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1krupornpana55
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
kanwan0429
 
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
manus1999
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
Pattie Pattie
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
kanwan0429
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
kanwan0429
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
wanitchaya001
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
poppai041507094142
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
teerayut123
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
benty2443
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
nattapong147
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
nattawad147
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
wanneemayss
 

Similar to แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน (20)

เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียนบทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

Recently uploaded

Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
Postharvest Technology Innovation Center
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 

Recently uploaded (8)

Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 

แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน

  • 2. ฉบับร่าง ๒ คานา แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียนเล่มนี้ เป็นกิจกรรมหนึ่งในโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. เนื้อหาในเอกสารได้กล่าวถึงแนวทางการขับเคลื่อนการนาคุณธรรมสู่ห้องเรียนให้เกิดผลสาเร็จเป็น รูปธรรมโดยมีขั้นตอนการดาเนินงาน ๔ ขั้นตอน คือ ๑) สร้างความตระหนัก ๒) ชักนาคุณธรรมสู่ห้องเรียน ๓) เพียรติดตามความดี และ ๔) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ยกย่องเชิดชูเกียรตินักเรียนดีมีคุณธรรม แนวทางการดาเนินการดังกล่าวโรงเรียนสามารถนาไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของห้องเรียน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่นักเรียน โดยมีเป้าหมายคือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ให้ลดน้อยลง และส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ให้เพิ่มขึ้นตามคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน ขอขอบคุณคณะทางานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคนที่มีส่วนร่วมในการจัดทาเอกสารเล่มนี้จนสาเร็จ ด้วยดี และหวังอย่างยิ่งว่าเอกสารเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกท่านและหน่วยงานต่าง ๆ ที่สนใจ นาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมให้นักเรียน และบุคลากรเพื่อสร้างคนดีให้บ้านเมืองต่อไป สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 3. ฉบับร่าง ๓ สารบัญ คานา สารบัญ ความเป็นมาของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. กิจกรรมของโครงการโรงเรียนคุณธรรม ความเป็นมา จุดมุ่งหมาย กิจกรรมการดาเนินงาน แผนภูมิแนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน การประเมินผลกิจกรรม ผลสาเร็จที่ต้องการให้เกิด การรายงานผลการดาเนินงาน บรรณานุกรม ภาคผนวก รายชื่อคณะทางาน
  • 4. ฉบับร่าง ๔ ความเป็นมาของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ( หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล ) ได้กล่าวถึง ศาสตร์พระราชา ซึ่งเป็นศาสตร์ที่ครอบคลุม เรื่องเอกลักษณ์ของชนชาติไทย เช่นการอ่อนน้อมถ่อมตน การเป็นสุภาพชน ความขยันหมั่นเพียร การซื่อสัตย์สุจริตซึ่งเป็นคุณงามความดีของคนไทยที่บรรพชนไทยได้ปฏิบัติสืบทอด ต่อกันมา ศาสตร์พระราชาให้ข้อคิดการประพฤติปฏิบัติตนไว้ว่าอย่าคบคนด้วยฐานะ คบคนด้วยความดี มีมิตรภาพด้วยความรักและความผูกพันและขอให้มีความกตัญญูรู้คุณต่อบิดามารดาผู้มีพระคุณ ประเทศชาติ และพระมหากษัตริย์ ถ้าทุกคนปฏิบัติตนตามศาสตร์ของพระราชาแล้วก็จะเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ ประเทศ ก็จะมีแต่คนดีและทาให้ประเทศเจริญก้าวหน้ารวมทั้งน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ในชีวิตประจาวันเพื่อมุ่งให้เกิดภูมิคุ้มกันและมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสมเกิดความสมดุลและ ยั่งยืน แนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ได้พระราชทานไว้กว่า 40 ปีที่ผ่านมาเพื่อให้ประชาชนชาวไทยนาไปเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเองและ ครอบครัวให้มีภูมิคุ้มกันที่มั่นคงในการดาเนินชีวิตอย่างมีความสุข จึงนับได้ว่า“ศาสตร์พระราชา” เป็นเสมือน องค์ความรู้ที่อยู่คู่แผ่นดินไทยซึ่งล้วนมุ่งให้ประชาชนทุกคนปฏิบัติตนเป็น “คนดี” ทั้งคิดดี พูดดี ทาดี ยึดมั่น ในคุณธรรม จริยธรรม สุจริต มีวินัย และมีความสามัคคีซึ่งกันและกันเพื่อร่วมกันพัฒนาประเทศชาติบ้านเมือง ให้มีความเจริญก้าวหน้าเป็นปึกแผ่นมั่นคงตลอดไป นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ มีพระราชกระแสรับสั่งต่อประชาชน ชาวไทยให้ “ช่วยสร้างคนดีให้บ้านเมือง”พร้อมทั้งพระราชทานหลัก 3 ประการที่เกี่ยวกับครูและนักเรียนไว้ว่า “ให้ครูรักเด็ก เด็กรักครู” “ให้ครูสอนให้เด็กมีน้าใจต่อเพื่อนไม่ให้แข่งขันกัน แต่ให้แข่งกับตัวเองและให้เด็กที่เรียนเก่งช่วยสอน เพื่อนที่เรียนช้ากว่า” “ให้ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนทาร่วมกันเพื่อให้เห็นคุณค่าของความสามัคคี” จากพระราชกระแสรับสั่งข้างต้นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระราชทาน พระบรมราโชวาท ด้านการศึกษาเพื่อสานต่อพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ว่า การศึกษาต้องมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียน 4 ด้าน ดังนี้ 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม 3. มีงานทา-มีอาชีพ 4. เป็นพลเมืองดี
  • 5. ฉบับร่าง ๕ กิจกรรมของโครงการโรงเรียนคุณธรรม เพื่อเป็นการสืบสานศาสตร์พระราชา และสนองพระราชกระแสรับสั่งของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ และพระบรมราโชวาทด้านการศึกษาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงดาเนินโครงการ โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ขึ้น เพื่อมุ่งปลูกฝังให้ผู้บริหาร ครู นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการปลูกฝัง คุณธรรม 5 ประการ ได้แก่ 1) พอเพียง 2) กตัญญู 3) ซื่อสัตย์สุจริต 4) ความรับผิดชอบ และ 5) อุดมการณ์คุณธรรม โดยปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ให้แต่ละสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา คัดเลือก โรงเรียนเข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. อย่างน้อยร้อยละ 35 และปีงบประมาณ 2561 โรงเรียนทุก โรงเรียนเข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. และเพื่อให้โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. มีแนวทางในการดาเนินงาน จึงได้จัดทาเอกสารแนวทางการขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ขึ้น จานวน 10 เรื่อง เอกสารแนวทางการขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จัดทา เอกสารแนวทางการขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ตามกิจกรรมที่กาหนดไว้ในโครงการ จานวน 10 เรื่อง เพื่อให้โรงเรียนและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาใช้เป็นแนวทางการจัดกิจกรรมการพัฒนา โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ให้บรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ โดยกิจกรรมการดาเนินงาน ประกอบด้วย เรื่องที่ 1 แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม เรื่องที่ 2 แนวทางการจัดทาโครงงานพัฒนาจริยคุณ เรื่องที่ 3 แนวทางการผลิตนวัตกรรม สร้างสรรค์ความดี เรื่องที่ 4 แนวทางการสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วมโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. เรื่องที่ 5 แนวทางการจัดกิจกรรม 10,000 คุรุชน คนคุณธรรม เรื่องที่ 6 แนวทางการจัดกิจรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน เรื่องที่ 7 แนวทางการจัดกิจกรรมครอบครัวคุณธรรม เรื่องที่ 8 แนวทางการจัดกิจกรรมโรงเรียนดีต้องมีที่ยืน เรื่องที่ 9 แนวทางการนิเทศ กากับ ติดตาม เรื่องที่ 10 แนวทางการจัดทาภาพยนตร์สั้นโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
  • 6. ฉบับร่าง ๖ ความเป็นมา การจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่บูรณาการคุณธรรม อัตลักษณ์ของสถานศึกษา หรือกรอบแนวคิดคุณธรรม 5 ประการตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. หรือ แต่ละห้องเรียนสามารถกาหนดคุณธรรมอัตลักษณ์เพิ่มเติมเป็นของห้องเรียนที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา ของนักเรียนแต่ละห้องเรียนได้ โดยครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์สภาพปัญหา สาเหตุ และหาแนวทางแก้ไข และจัดกิจกรรมโครงงานคุณธรรมระดับห้องเรียนหรือกิจกรรมอื่นที่สอดคล้องกับคุณธรรมอัตลักษณ์ ทั้งนี้ เพื่อ ปลูกฝังให้นักเรียนปฏิบัติตนเป็นคนดีของห้องเรียนต่อไป จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อให้ครูและนักเรียนนาคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนไปสู่การปฏิบัติในห้องเรียนได้ 2. เพื่อให้ครูและนักเรียนกาหนดคุณธรรมอัตลักษณ์เพิ่มเติมเป็นของห้องเรียน 3. เพื่อพัฒนาพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของนักเรียนให้เพิ่มขึ้น และแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ให้ลดน้อยลง กิจกรรมการดาเนินงาน กิจกรรมหลัก/แนวปฏิบัติ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ แนวทางการดาเนินงานคืนคุณธรรม สู่ห้องเรียน ขั้นที่ ๑ สร้างความตระหนัก 1. ครูชี้แจงและทาความเข้าใจให้นักเรียนทราบถึงคุณธรรมอัตลักษณ์ ของโรงเรียน 2. ครูจัดกิจกรรมสร้างความตระหนักเกี่ยวกับคุณธรรมอัตลักษณ์ของ โรงเรียน โดยใช้สื่อและวิธีการที่หลากหลาย เช่น ดูวีดีทัศน์เรื่องที่เกี่ยวกับ คุณธรรม จริยธรรม เล่าเรื่องชีวิตจริงที่เกิดขึ้นในหมู่บ้าน เล่าข่าวที่เกิดขึ้น ในชีวิตประจาวันจากหนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ ขั้นที่ ๒ ชักนาคุณธรรมสู่ห้องเรียน 3. ครูและนักเรียนร่วมกันระดมความคิดวิเคราะห์สภาพปัญหา และ พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ควรแก้ไข แล้วกาหนดคุณธรรมเป้าหมาย พร้อมพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก เพื่อพัฒนาเป็นคุณธรรมอัตลักษณ์ของ ห้องเรียน 4. ครูจัดทาแผนการเรียนรู้ที่บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยใช้ โครงงานคุณธรรมเป็นฐาน 5. ให้นักเรียนจัดทาโครงงานคุณธรรมพร้อมทั้งนาเสนอ พ.ค. พ.ค. ครู และ นักเรียน ครู และ นักเรียน
  • 7. ฉบับร่าง ๗ กิจกรรมหลัก/แนวปฏิบัติ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ ขั้นที่ ๓ เพียรติดตามความดี 6. ครูสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติตนของนักเรียนตามคุณธรรมอัตลักษณ์ ของห้องเรียนเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง 7. ครูประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติตนของนักเรียนตามคุณธรรมอัต ลักษณ์ เป็นรายบุคคล หากมีนักเรียนคนใดยังมีพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ให้ครูร่วมกับครอบครัวดาเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียน 8. ครูสรุปผลการดาเนินงานให้ผู้บริหารสถานศึกษาทราบ และโรงเรียน ดาเนินการรายงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ ขั้นที่ ๔ จัดเวทีแลกเปลี่ยนและเชิดชูนักเรียนดี มีคุณธรรม 9. ครูและนักเรียนจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงงานคุณธรรม ในห้องเรียน ระหว่างห้องเรียน และสรุปถอดบทเรียน เช่น การจัด นิทรรศการ การนาเสนอผลงานที่ประสบผลสาเร็จของแต่ละห้องเรียน 10. คัดเลือกห้องเรียนที่นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ตามคุณธรรม อัตลักษณ์ครบทุกคน เพื่อให้เป็นห้องเรียนคุณธรรมต้นแบบ 11. ยกย่อง เชิดชูเกียรติห้องเรียนคุณธรรมต้นแบบ 12. ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ห้องเรียนคุณธรรมต้นแบบ พ.ค.-มี.ค. ก.ย., ก.พ. ส.ค. ครู ผู้บริหาร สถานศึกษา ครู นักเรียน
  • 8. ฉบับร่าง ๘ แผนภูมิแนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน ครูสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องคุณธรรมแก่ นักเรียน ชี้แจงคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน สังเกต ติดตาม ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน การทาโครงงานของนักเรียน จัดแผนการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน รวมกลุ่มกันจัดทาโครงงาน วิเคราะห์สภาพปัญหา พฤติกรรมที่ควรแก้ไข กาหนดคุณธรรมเป้าหมายของห้องเรียน ครูจัดกิจกรรมสร้างความตระหนัก ส่งเสริมสานึกคุณธรรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการดาเนินงาน ห้องเรียนคุณธรรม ยกย่อง เชิดชูเกียรติ นักเรียนดีมีคุณธรรม ประเมินผลโครงงานของนักเรียน และรายงานผลการดาเนินงานโดยภาพรวม ๑. สร้างความตระหนัก ๒. ชักนาคุณธรรม สู่ห้องเรียน ๓. เพียรติดตาม ความดี ๔. เวทีแลกเปลี่ยน และเชิดชูนักเรียนดี มีคุณธรรม
  • 9. ฉบับร่าง ๙ การประเมินผลการดาเนินงาน การประเมินผลกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียนเป็นภารกิจที่ครูผู้สอนหรือครูประจาชั้นเป็น ผู้ดาเนินการประเมิน ประกอบด้วย การประเมินผลพฤติกรรมนักเรียน และคัดเลือกห้องเรียนคุณธรรมต้นแบบ การทดสอบ ซึ่งบางกิจกรรมควรให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการประเมิน โดยมีตัวอย่างแบบสังเกต พฤติกรรมพอเพียงของนักเรียนในภาคผนวก ตัวชี้วัดความสาเร็จ หลักฐาน/ร่องรอย/ลักษณะที่พบ 1. นักเรียนร้อยละ 100 มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ตามคุณธรรมอัตลักษณ์ที่กาหนดของห้องเรียน 1. แบบสังเกตพฤติกรรรมนักเรียน 2. แบบประเมินพฤติกรรมห้องเรียน 3. โครงงานที่นักเรียนจัดทาตามคุณธรรมอัตลักษณ์ ของห้องเรียน 4. ภาพกิจกรรม ฯลฯ 2. จานวนห้องเรียนที่ได้รับคัดเลือกเป็นห้องเรียน คุณธรรมต้นแบบ 1. ประกาศห้องเรียนคุณธรรมต้นแบบของโรงเรียน 2. แบบสรุปผลการคัดเลือกห้องเรียนคุณธรรม ต้นแบบ 3. เกียรติบัตร ฯลฯ ผลสาเร็จที่ต้องการให้เกิด 1. โรงเรียนมีนักเรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม เพิ่มมากขึ้น 2. โรงเรียนมีห้องเรียนคุณธรรมต้นแบบสาหรับใช้เป็นแหล่งศึกษาดูงานของห้องเรียนอื่น ๆ ในโรงเรียนและต่างโรงเรียน 3. นักเรียนมีความภาคภูมิใจที่เป็นคนดีของโรงเรียน ครอบครัว และชุมชน 4. โรงเรียนสร้างคนดีให้บ้านเมือง
  • 10. ฉบับร่าง ๑๐ การรายงานผลการดาเนินงาน การรายงานผลการดาเนินงาน “กิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน” เป็นภารกิจของครูประจาชั้น ที่จะต้องรายงานผลให้ผู้บริหารสถานศึกษาทราบถึงความก้าวหน้า และความสาเร็จที่เกิดจากการดาเนิน กิจกรรมเป็นระยะ ซึ่งอยู่กับข้อตกลงของโรงเรียนว่าจะให้ห้องเรียนรายงานผล ภาคเรียนหรือปีละกี่ครั้ง โดยมีตัวอย่างแบบรายงานกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียนในภาคผนวก
  • 11. ฉบับร่าง ๑๑ บรรณานุกรม เกษม วัฒนชัย. (2559). 6 ขั้นตอนสู่โรงเรียนคุณธรรม. นนทบุรี : บริษัทธนธัชการพิมพ์ จากัด. _____. (2560). โรงเรียนคุณธรรม. นนทบุรี : บริษัทธนธัชการพิมพ์ จากัด. ศูนย์โรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ. (2558). คู่มือปฏิบัติโรงเรียนคุณธรรม. กรุงเทพฯ : บริษัท สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสซิ่ง จากัด _____. (2560). คู่มือวิทยากรการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม. กรุงเทพฯ : บริษัทมาตาการพิมพ์ จากัด. _____. (2560). บนเส้นทางสร้างคนดี. กรุงเทพฯ : บริษัทสหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสซิ่ง จากัด
  • 12. ฉบับร่าง ๑๒ ภาคผนวก ตัวอย่าง แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในห้องเรียน โรงเรียน........................................................................ชั้น................................. ห้อง........................ ชื่อครูประจาชั้น.................................................................................................................................. คาชี้แจง ให้ครูประจาชั้น/ครูที่ปรึกษา สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วเขียนเครื่องหมาย √ ลงในช่องพฤติกรรมบ่งชี้ที่ตรงกับสิ่งที่นักเรียนปฏิบัติ ชื่อ – นามสกุล พฤติกรรมบ่งชี้ (ที่ห้องเรียนกาหนด) สรุปผล การประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน เกณฑ์การตัดสิน ผ่าน หมายถึง นักเรียนต้องผ่านการประเมินพฤติกรรมบ่งชี้ ทั้ง 4 ตัว ไม่ผ่าน หมายถึง นักเรียนไม่ผ่านการประเมินพฤติกรรมบ่งชี้ตัวใดตัวหนึ่งหรือทั้งหมด ตัวอย่าง
  • 13. ฉบับร่าง ๑๓ แบบสังเกตพฤติกรรมกตัญญูของนักเรียน โรงเรียน........................................................................ชั้น................................. ห้อง........................ ชื่อครูประจาชั้น.................................................................................................................................. คาชี้แจง ให้ครูประจาชั้น/ครูที่ปรึกษา สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วเขียนเครื่องหมาย √ เมื่อนักเรียนมีพฤติกรรมบ่งชี้ดังกล่าวปรากฏเป็นที่ชัดแจ้งแล้ว ชื่อ – นามสกุล พฤติกรรมบ่งชี้ ผลการประเมิน ยกย่อง เชิดชู พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูอาจารย์ และทุกคน ที่มีส่วนร่วม ช่วยถือของ ให้บุคคล อื่น ๆ ดูแลรักษา สิ่งแวดล้อม ทาง ธรรมชาติ อย่าง เคร่งครัด ประพฤติ ปฏิบัติตน เป็นคนดี เป็น พลเมืองดี ของชาติ ผ่าน ไม่ผ่าน เกณฑ์การตัดสิน ผ่าน หมายถึง นักเรียนต้องผ่านการประเมินพฤติกรรมบ่งชี้ ทั้ง 4 ตัว ไม่ผ่าน หมายถึง นักเรียนไม่ผ่านการประเมินพฤติกรรมบ่งชี้ตัวใดตัวหนึ่งหรือทั้งหมด
  • 14. ฉบับร่าง ๑๔ ตัวอย่าง แบบสังเกตพฤติกรรมซื่อสัตย์สุจริตของนักเรียน โรงเรียน........................................................................ชั้น................................. ห้อง........................ ชื่อครูประจาชั้น.................................................................................................................................. คาชี้แจง ให้ครูประจาชั้น/ครูที่ปรึกษา สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วเขียนเครื่องหมาย √ เมื่อนักเรียนมีพฤติกรรมบ่งชี้ดังกล่าวปรากฏเป็นที่ชัดแจ้งแล้ว ชื่อ – นามสกุล พฤติกรรมบ่งชี้ ผลการประเมิน ใช้ข้อมูล ที่ถูกต้อง และเป็นจริง ปฏิบัติตาม ข้อตกลง ไม่ถือเอา สิ่งของหรือ ผลงานของ ผู้อื่นมา เป็นของตน ไม่หา ประโยชน์ ในทางที่ ไม่ถูกต้อง ผ่าน ไม่ผ่าน เกณฑ์การตัดสิน ผ่าน หมายถึง นักเรียนต้องผ่านการประเมินพฤติกรรมบ่งชี้ ทั้ง 4 ตัว ไม่ผ่าน หมายถึง นักเรียนไม่ผ่านการประเมินพฤติกรรมบ่งชี้ตัวใดตัวหนึ่งหรือทั้งหมด
  • 15. ฉบับร่าง ๑๕ ตัวอย่าง แบบสังเกตพฤติกรรมความรับผิดชอบของนักเรียน โรงเรียน........................................................................ชั้น................................. ห้อง........................ ชื่อครูประจาชั้น.................................................................................................................................. คาชี้แจง ให้ครูประจาชั้น/ครูที่ปรึกษา สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วเขียนเครื่องหมาย √ เมื่อนักเรียนมีพฤติกรรมบ่งชี้ดังกล่าวปรากฏเป็นที่ชัดแจ้งแล้ว ชื่อ – นามสกุล พฤติกรรมบ่งชี้ ผลการประเมิน ตรงต่อเวลา รู้หน้าที่ และทาตาม หน้าที่เป็น อย่างดี มีความ พยายาม ทางาน ให้สาเร็จ ยอมรับ ความ ผิดพลาด ที่เกิดจาก การกระทา ผ่าน ไม่ผ่าน เกณฑ์การตัดสิน ผ่าน หมายถึง นักเรียนต้องผ่านการประเมินพฤติกรรมบ่งชี้ ทั้ง 4 ตัว ไม่ผ่าน หมายถึง นักเรียนไม่ผ่านการประเมินพฤติกรรมบ่งชี้ตัวใดตัวหนึ่งหรือทั้งหมด
  • 16. ฉบับร่าง ๑๖ ตัวอย่าง แบบสังเกตพฤติกรรมมีอุดมการณ์คุณธรรมของนักเรียน โรงเรียน........................................................................ชั้น................................. ห้อง........................ ชื่อครูประจาชั้น.................................................................................................................................. คาชี้แจง ให้ครูประจาชั้น/ครูที่ปรึกษา สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วเขียนเครื่องหมาย √ เมื่อนักเรียนมีพฤติกรรมบ่งชี้ดังกล่าวปรากฏเป็นที่ชัดแจ้งแล้ว ชื่อ – นามสกุล พฤติกรรมบ่งชี้ ผลการประเมิน ร่วมกิจกรรม ที่เกี่ยวกับ คุณธรรม จริยธรรม ที่โรงเรียน จัดขึ้น สม่าเสมอ ประพฤติ ปฏิบัติตาม คุณธรรม อัตลักษณ์ ของโรงเรียน จนเป็นปกติ นิสัย สร้างคุณ งามความดี ให้แก่ตนเอง จนเป็นที่ ประจักษ์ ร่วมพัฒนา กิจกรรม ต่างๆ ของ โรงเรียน จนชุมชน ให้การ ยอมรับ ผ่าน ไม่ผ่าน เกณฑ์การตัดสิน ผ่าน หมายถึง นักเรียนต้องผ่านการประเมินพฤติกรรมบ่งชี้ ทั้ง 4 ตัว ไม่ผ่าน หมายถึง นักเรียนไม่ผ่านการประเมินพฤติกรรมบ่งชี้ตัวใดตัวหนึ่งหรือทั้งหมด
  • 17. ฉบับร่าง ๑๗ รายชื่อคณะทางาน 1. นายนรงค์ โสภา ผู้อานวยการโรงเรียนวัดศรีสาคร สพป. สิงห์บุรี 2. นายประเสริฐ สุวรรณชัยเลิศ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านทุ่งนาวิทยา สพม. เขต 42 3. นายสิทธิพงศ์ สั่งศร ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านตะคร้อ สพป.นครสวรรค์ เขต 3 (รัฐประชาชนูทิศ) 4. นางนปภา ศรีเอียด ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและ สพป.ปัตตานี เขต 1 ประเมินผลการจัดการศึกษา