SlideShare a Scribd company logo
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก (Western Civilization) มี
แหลงกําเนิดในดินแดนเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia ในภาษา
กรีก หมายถึง ดินแดนระหวางแมน้ํา 2 สาย) หรือแถบลุมแมน้ํา
ไทกริสและยูเฟรทีส (Tigris-Euphrates) ในตะวันออกใกล
(ปจจุบันคือ ประเทศอิรัก) และลุมแมน้ําไนล ในประเทศอียิปต ซึ่ง
ตั้งอยูทางตอนเหนือของทวีปแอฟริกา ปจจุบันดินแดนทั้งสองแหง
นี้จัดอยูในภูมิภาคตะวันออกกลาง
ความเปนมาของอารยธรรมตะวันตก
เมื่อประมาณ 50,000 ปที่แลว บรรพบุรุษของเรากลุมที่ 2 ได
ออกเดินทางจากแอฟริกา มุงหนาขึ้นไปสูแผนดินดานในทวีป สู
ตะวันออกกลาง และเอเชียกลางตอนใตและไดใชพื้นบริเวณนี้เปน
ฐานที่มั่นในการขยายอาณาจักรไปทางเหนือของเอเซีย ยุโรป และ
ที่อื่นไกลกวานั้น (กลุมแรกเดินทางลัดเลาะไปตามแนวชายฝง
ทะเลสูอินเดีย)
ความคิดและความเชื่อที่ถือวาเปนแหลงกําเนิดอารยธรรม
ตะวันตก บางความเชื่อตางกลาววาไดกําเนิดแถวๆบริเวณ
คาบสมุทรทะเลเมดิเตอรเรเนียนที่ถือกําเนิดมาจาก กลุมความเชื่อ
และวัฒนธรรมที่ปาเถื่อน จากนั้นคอยพัฒนามาเปน ชนชาติ
จนถึงปจจุบัน
นักบรรพชีวินในปจจุบันไดแบงยุคประวัติศาสตร
(อารยธรรมตะวันตก) แบงออกเปน 4 ยุค คือ
1. ยุคโบราณ
2. ยุคกลาง
3. ยุคฟนฟูศิลปะวิทยาการ
4. ยุโรปสมัยใหม
ยุคโบราณ
ยุคโบราณ แบงออกไดเปน
1. อารยธรรมเมโสโปเมเมีย (MESOPOTAMIA)
2. อารยธรรมอียิปต (EGYPT) หรืออารยธรรมลุมแมน้ําไนล
3. อารยธรรมกรีก (GREEK)
4. อารยธรรมโรมัน (ROMAN)
เปนดินแดนราบลุมแมน้ําไทกริสและยูเฟรติส เปนสวนหนึ่งของดินแดน
พระจันทรเสี้ยวอันอุดมสมบรูณ (ปจจุบัน คือ อิรัก) ดินแดนนี้มีชนเผาเซมาติก
ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกัน เพื่อครอบครองแยงชิงความเปนใหญกันตลอดเวลา
หลายพันป ไดแก สุเมเรียน คือชนเผากลุมแรกที่เขามาจับจองที่ราบลุมเมโสโปเต
เมีย แตไมใชพวกแรกที่เขา มาตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้ อมอไรท เปนชนเผาเซเมติก
อาศัยอยูในทะเลทรายอารเบีย ไดเขาทําลายอาณาจักรของพวกสุเมเรียน และ
เอาชนะ พวกอัคคาเดียนได
อารยธรรมเมโสโปเมเมีย (MESOPOTAMIA)
แคลเดียน พวกนี้อาศัยอยูทางตะวันออกเฉียงใตของลุมแมน้ําไทกริส-
ยูเฟติส ไดปรับปรุงบาบิโลนเนียใหเจริญขึ้นอีกครั้ง จนกลายเปนนครที่
งดงาม โดยการสราง สวนลอยบาบิโลน ขึ้น ฮิบรูว เปนพวกเรรอนไปในที่
ตางๆ สุดทายก็เดินทางมายังดินแดนของพระเจาหรือคานาอัน
(ปาเลสไตน)
เริ่มตั้งแตเมื่อชนชาวสุเมเรียนประดิษฐตัวอักษรรูปลิ่ม หรือตัวอักษรคู
นิฟอรม ขึ้นใชเมื่อประมาณ 3,500 ปกอนคริสตรศักราช และสิ้นสุดลงเมื่อ
จักรวรรดิโรมันลมสลาย เพราะถูกรุกรานโดยพวกอารยชนเผาเยอรมัน
สุเมเรียน เปนชนกลุมแรกที่เขามาสรางอารยธรรมในดินแดนนี้
- ไดจัดตั้งอาณาจักรบาบิโลเนีย ผลงานสําคัญไดแก ประมวล
กฎหมายฮัมมูราบี
- อัสซีเรียเปนนักรบที่กลาหาญ ผลงานที่สําคัญ ไดแก การสลักภาพ
นูนต่ํา มีการรวบรวมที่หองสมุดนิเน-เวห
- ชาวคาลเดียมีความรูดานดาราศาสตร นําความรูดาราศาสตรมา
ทํานายชะตาชีวิต
อารยธรรมอียิปต (EGYPT) หรืออารยธรรมลุมแมน้ําไนล
ดานการปกครอง มีฟาโรหเปนผูปกครอง มีสถานะเปนกึ่ง
เทพเจา มีอํานาจเด็ดขาดทั้งปวง
ดานศาสนา มีความเชื่อเรื่องโลกหลังความตายและการมี
วิญญาณที่เปมอมตะ
ดานวิทยาการ ชาวอียิปตสั่งสมความเจริญทางดานวิทยาการ
ใหโลก หลายแขนง ทั้งดาราศาสตร คณิตศาสตร การแพทย และ
อักษรศาสตร ประดิษฐอักษร “ไฮโรกลิฟก” เปนอักษรภาพ คนพบวิธี
ทํากระดาษจากตนปาปรุส และเริ่มบันทึกลงกระดาษ
ดานสถาปตยกรรม มีการสราง พีระมิด เปนสุสานฝงพระศพ
ของ ฟาโรห รูจักการเก็บรักษาศพไมใหเนาเปอยที่เรียกวา “มัมมี่”
ดานชลประทาน มีการขุดคูสงน้ําเพื่อการเกษตรกรรม เวลา
ขึ้นลงของแมน้ําไนลไดนําไปสูการคิดเรื่องการสรางปฏิทิน
อารยธรรมกรีก (GREEK)
คําวา “กรีก” เปนคําที่ชาวโรมันเรียกชาวกรีกและเปนที่รูจักกัน
อยางแพรหลาย แตชาวกรีกเรียกตัวเองวา “เฮเลน” และเรียกชื่อ
ประเทศของตัวเองวา “เฮลาส” ดํารงชีพดวยการลาสัตวและกสิกรรม
ดวยตัวเอง ไมไดอาศัยความรวมมือหรือความชวยเหลือจากรัฐมากนัก
ดังนั้นชาวกรีกจึงมีความเปนอิสระ แข็งแรง กลาหาญ และรักเสรีภาพ
มาก
ดานการปกครอง ปกครองแบบนครรัฐ คือ นครรัฐเอเธนส เปน
ตนแบบรัฐประชาธิปไตย นครรัฐสปารตา มีการปกครองแบบทหารนิยม
ดานศาสนา มีการนับถือเทพเจาหลายองค มีซีอุสเปนเทพเจาสูงสุด
ดานปรัชญา มีนักปราชญที่มีชื่อเสียงหลายทาน เชน โซเครติส สอน
แนวคิดการใชเหตุผลและสติปญญา อริสโตเติล เปนบิดาวิชาการรัฐศาสตร
ดานการแพทย "ฮิปโปกราติส" บิดาการแพทย พบวาโรคตางๆ มี
สาเหตุมากจากธรรมชาติไมใชพระเจาลงโทษ
ดานวิทยาศาสตร พีทากอรัส เปนผูสรางทฤษฎีสามเหลี่ยม อารคิมี
ดีสพบแรงลอยตัว ยูคลิดพบตัวหาร หรม.
มหากาพย ที่สําคัญ ไดแก มหากาพยอีเลียด และโอดิสซียของกวี
โฮเมอร
สงคราม สงครามเพโลพอนเนเชียน เปนการตอสูระหวางชาวกรีก
ดวยกันเอง คือฝานเอเธนส (ผูนําการรบทางเรือ) และฝายสปาตาร (ผูนํา
การรบทางบก)
สถาปตยกรรม วิหารที่มีชื่อเสียงสุด คือ “วิหารพารเธนอน” สราง
เพื่อถวายเทพีอะธีนา มีความสวยงามโดดเดนดานประติมากรรม
อารยธรรมโรมัน (ROMAN)
มีชาวโรมันกลุมหนึ่งที่เรียกวา“ลาติน ”ไดสรางกรุงโรมขึ้นและทํา
สงครามขับไลชนพื้นเมืองชาวอีทรัสกัน ออกไปไดสําเร็จ โดยความ
เจริญทางอารยธรรม
ดานการปกครอง ปกครองแบบจักรวรรดิ รวมอํานาจไวที่ซีซาร
(กษัตริย) ภายหลังการขับไลกษัตริยโรมลงสุดทายออกไป จึงมีการ
สถาปนา “กฎหมาย 12 โตะ” ซึ่งเปนแมแบบกฎหมายของโลก
ตะวันตกปจจุบัน
ดานการแพทย ริเริ่มทําคลอดหนาทอง และการใชยาสลบกอนผาตัด
สถาปตยกรรม เนนความใหญโตแข็งแรง ดัดแปลงสถาปตยกรรมแบบ
กรีก
ประติมากรรม ดัดแปลงมาจากรีก เนนความสมจริง
วิศวกรรม สรางถนนคอนกรีต และสะพานสงน้ําเพื่อขนสงน้ําวันละ 300
ลานแกลลอนจากภูเขาไปยังเมือง
สงคราม สงครามพิวนิก (โรมันรบกับคารเทจ) โรมันรบชนะ ไดครอง
ดินแดนอิตาลี และทะเลเม
ภาษา โรมันพัฒนา “ภาษาละติน” จากกรีก มี 23 พยัญชนะ เปนราก
ของภาษายุโรปดิเตอเรเนียน
ยุคกลาง
การเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครอง เปนยุคมืด ปกครองระบบฟวดัลหรือ
ศักดินาสวามิภักดิ์ เปนยุคแหงความแตกแยกทางสังคม ระบบการ
ปกครอง มีการปกครองแบบกระจายอํานาจ อํานาจอยูที่ขุนนาง
กษัตริยไมสามารถรวมอํานาจได
เศรษฐกิจ เปนแบบแมนเนอร (manor) ขุนนางเปนเจาของ
ที่ดิน มีศูนยกลางอยูที่ปราสาท ประชาชนสวนใหญเปนขาติดที่ดิน
และประกอบอาชีพในที่ดินขุนนาง
สงครามครูเสด ระหวางคริสต กับ อิสลาม แยงเยรูซาเล็ม รบ
กันสองรอยป สุดทายมุสลิมยึดครองเยรูซาเล็มได ทําใหการคา
ขยายตัวและเกิดเมืองใหม
ศิลปวัฒนธรรม
ไดรับอิทธิพลจากหลักคําสอนศาสนาคริสต เนนรับใชศาสนา
ถือวาเปน "อูอารยธรรมยุโรป" มี ศิลปะไบแซนไทน (คริสเตียนผสาน
ตะวันออก) ศิลปะโกธิค (สูงเปนพิเศษและอาภรณที่พลิ้วไหว) และ
ศิลปะโรมาเนสก (แนนหนา เทอะทะ แข็งแรง)
การศึกษา
เกิดมหาวิทยาลัย เชน มหวิทยาลัยปารีส มหาวิทยาลัย
โบโลญญาในอิตาลี มหาวิทยาลัยเคมบริดจในอังกฤษ
มหาวิทยาลัยออกซฟอรดในอเมริกา
วรรณกรรม
วรรณกรรม จะเปนประเภทเพอฝน
ยุคฟนฟูศิลปะวิทยาการ
คําวา “Renaissance” หรือ “Rebirth” แปลตามตัววา
“การเกิดใหม” ซึ่งหมายความวา การฟนฟูแนวคิดมนุษยนิยม ธรรม
ชาตินิยม และประชาธิปไตยนิยมของกรีกและโรมันโบราณใหกลับคืน
มา
แบงออกไดเปน
1. ยุคของมนุษยนิยมที่เนนความงดงามสรีระรางกาย
2. สนใจดานความเปนอยูในปจจุบันมากกวาในภพหนา
3. มีบทบาทของชนชั้นกลางมากขึ้น
สาเหตุของการฟนฟูศิลปะวิทยาการ
1. ความเสื่อมศรัทธาตอศาสนาคริสต ทําใหชาวยุโรปเบื่อหนาย
2. การลมสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน หรือโรมันตะวันออก ทําใหชาว
ยุโรปเดินทางอพยพกลับยุโรปตะวันตกและนําเอาศิลปะวิทยาการตางๆของ
กรีกและโรมันตางๆกลับคืนมายุโรปตะวันตกดวย
3. สงครามครูเสด ซึ่งเปนการเปดหูเปดตาชาวยุโรปใหไดเห็นและเปดรับเอา
วิทยาการสมัยใหมของโลกตะวันออก
4. การฟนตัวทางเศรษฐกิจ เกิดการคาระหวางดินแดนตางๆมากขึ้น
ใหความสําคัญดานวัตถุเพื่อสรางความมั่นคงใหตนเอง การคา
ขายมีลักษณะดังนี้
1.สํารวจและคนพบดินแดนใหม คนพบทวีปอเมริกา เปนจุดเริ่มตน
2.ปฏิวัติวิทยาศาสตร
3.เกิดของยุคภูมิธรรม เปนยุคที่ประชาชนเรียกรองความเทาเทียม
กัน
4.ปฏิวัติอุตสาหกรรม หันมาใชเครื่องจักรกล
5.การลาอาณานิคม เสาะแสวงหาแหลงวัตถุดิบเพื่อมาผลิตสินคา

More Related Content

What's hot

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียPannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
พัน พัน
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
Sompak3111
 
เมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียbew lertwassana
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
6091429
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
Infinity FonFn
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
Kran Sirikran
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย Kran Sirikran
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
Mesopotamia Civilization
Mesopotamia CivilizationMesopotamia Civilization
Mesopotamia Civilization
timtubtimmm
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
6091429
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
Kittayaporn Changpan
 

What's hot (17)

เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
เมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมีย
 
Greek roman
Greek romanGreek roman
Greek roman
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
 
Mesopotamia Civilization
Mesopotamia CivilizationMesopotamia Civilization
Mesopotamia Civilization
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
 

Similar to อารยธรรมตะวันตก

ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียhmiw
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
6091429
 
บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ
บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณบทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ
บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ
Padvee Academy
 
อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)Me'e Mildd
 
พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ Onpa Akaradech
 
มนุษย์
มนุษย์มนุษย์
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาmocxx
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
Ning Rommanee
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2
itsadaphon
 
ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ยุโรป  วารสาร v1.2 [37 หน้า]ยุโรป  วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ssuserd22157
 
บาลี 25 80
บาลี 25 80บาลี 25 80
บาลี 25 80Rose Banioki
 
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓Tongsamut vorasan
 
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓Tongsamut vorasan
 
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)
Nakhon Pathom Rajabhat University
 

Similar to อารยธรรมตะวันตก (20)

ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ
บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณบทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ
บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)
 
พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ
 
มนุษย์
มนุษย์มนุษย์
มนุษย์
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
Phi yim
Phi yimPhi yim
Phi yim
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2
 
ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ยุโรป  วารสาร v1.2 [37 หน้า]ยุโรป  วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]
 
บาลี 25 80
บาลี 25 80บาลี 25 80
บาลี 25 80
 
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
 
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
 
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)
 
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรมUnit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 

อารยธรรมตะวันตก