SlideShare a Scribd company logo
ปริจเฉทที่ ๑
วาดวยชมพูทวีป

ในยุคกอนที่พระพุทธศาสนาจะบังเกิดขึ้น พระพุทธเจาเสด็จ
อุบัติขึ้นในโลกในดินแดนชมพูทวีป ซึ่งตั้งอยูทางทิศพายัพ
(ตะวันตกเฉียงของประเทศไทย)
งของประเทศไทย)
ชมพูทวีป
คือ...
ประเทศที่มีความเจริญ สมบูรณมากกวาประเทศอื่น มีกษัตริยเปน
พระเจาแผนดินปกครองเปนสวน ๆ เปนเอกราชมิไดรวมอยู
ในความปกครองเดียวกัน เชนแควนมคธและแควนโกศลเปนตน
ชมพูทวีป.. แบงออกเปน 2 สวน คือ...
1. มัชฌิมประเทศ.. หรือมัธยมประเทศ หมายถึง
ประเทศ..
ประเทศที่อยูทามกลาง มีอาณาเขตที่เจริญ มีคนอยูมาก
มีเศรษฐกิจดี เปนศูนยการคา เปนที่อยูของบัณฑิต...
2. ปจจันตประเทศ หมายถึง สวนของประเทศที่ยัง
ไมเจริญ ทุรกันดาร ตั้งอยูภายนอกเขตมัชฌิมประเทศ
ออกไป...
ออกไป...
ประชาชน...ในชมพู
ประชาชน...ในชมพูทวีป
สวนมากจะนับถือพราหมณ
เปนหลัก ยึดถือวรรณะอยาง
แรงกลา มีทิฏฐิ รังเกียจกัน
ดวยชาติและตระกูล มีความ
เห็นที่แตกตางกันออกไป...
ออกไป...

โดยแบงออกได เปน 2 พวก คือ...
1. สัสสตทิฏฐิ พวกที่เห็นวาตายแลวตองกับมาเกิดใหม คือมี
ความคิดวา จะประพฤติอยางไร ถึงจะไดไปเกิดในสวรรค
2. อุจเฉททิฏฐิ พวกที่เห็นวาตายแลวสูญนึกจะทําอะไรก็ทําอยางนั้น
เพราะไมตองกลัววา...ตายแลวจะไปเกิดในนรก
...ตายแล
กําเนิดศากยวงศ....และโกลิยวงศ (โดยยอ)
..และโกลิ
ชมพูทวีป...ในอดีตกาลปกครองดวยกษัตริย เรื่อยมาจนลุถึง
พระเจาตติยโอกกากราช ทรงปกครองสืบราชสมบัตในพระ
ิ
นครแหงหนึ่ง ซึ่งตั้งอยูทางทิศเหนือใกลสักกชนบท พระองค
ทรงมีพระโอรส พระราชธิดา รวม ๙ พระองค ซึ่งประสูติจาก
ครรภของพระมเหสี (พระชายาคนแรก)
พระชายาคนแรก)
- กาลตอมาเมื่อพระมเหสีทิวงคต พระองคจึงไดอภิเษกสมรสใหม
และไดพระราชโอรสใหมอีกพระองค พระนามวา ชันตุ
- ในวันประสูติพระโอรสองคใหม พระเจาตติยโอกกากราชได
พระราชทานพรแกพระมเหสีวา อยากไดสิ่งใด เราก็จะใหสิ่ง
นั้นๆ ตามความปรารถนา...
ตามความปรารถนา...
- พระมเหสีก็ไดทูลขอพระราชสมบัติ ใหแกพระโอรสของนาง
พระองคก็ไดประทานให ดวยทรงถือวากษัตริยตรัสแลวไมคน
ื
คํา จะเปนการเสียสัจจะ คําพูดของกษัตริย
- พระองคจึงไดใหพระราชโอรสและพระราชธิดาทั้ง 9 พระองค
พรอมดวยจตุรงคเสนา ชางฝมือ รวมทั้งพวกกสิกรรม สัตว
พาหนะ ปศุสัตวทุกชนิด ใหไปสรางพระนครที่อยูแหงใหม
- พระราชโอรสพระธิดาทั้ง ๙ พระองค ขาราชบริพารก็ไดออก
เดินทางไปตั้งพระนคร ณ ดงไมสักกะ ใกลภูเขาหิมพานต ซึ่งแต
เดิมเคยเปนที่อยูของกบิลดาบส เลยตั้งชื่อพระนครแหงใหมนี้วา
“กบิลพัสดุ” ตามชื่อของดาบส

- เมื่อสรางพระนครเสร็จ พระราชโอรสและพระราชธิดาทั้งหมด
ยกเวนพระเชฏฐภคินี (คือพี่สาวคนโต ราชโอรส 4 ราชธิดา 5)
ก็ไดจับคูแตงงานกันเอง เพราะเกรงกลัววา ถาไปแตงงานกับ
ตระกูลอื่น บุตรธิดาที่เกิดมาจะไมสมบูรณดวยชาติ คือกลัววา
จะไปเลือกคนที่มีชาติตระกูลต่ํากวาตนเอง
- พระเจาโอกากราช ทรงทราบถึงความเปนไปของพระราชโอรส
พระราชธิดาของพระองค หลังจากที่สถาปนาพระนครใหมแลว
จึงตรัสชมเชยสรรเสริญวา เปนผูมีความสามารถองอาจ จึงได
ตั้งชื่อวงศกษัตริยใหใหมวา “ศากยวงศ”

- สวนพระเชฏฐภคินี (พี่สาวคนโต) ตอมาก็ไดอภิเษกสมรสกับ
าวคนโต)
พระเจากรุงเทวทหะ แลวไดตั้งวงศกษัตริยขึ้นมาอีกวงศหนึ่ง
คือ “โกลิยวงศ”
- ทั้งสองวงศตระกูลมีความเกี่ยวพันปรองดองรักใครกันมากและ
ปกครองบานเมืองดวยดีเสมอมา จนลุมาถึงสมัยของพระเจา
ชัยเสนะ พระองคทรงมีพระราชโอรส พระนามวา สีหหนุ มี
พระราชธิดาพระนามวา “ยโสธรา” ซึ่งตอมาก็ไดอภิเษกสมรส
ยโสธรา”
กับ เจาชายสิทธัตถะ
********************
มหาบริจาค 5
ประการ คือ
1. บริจาคทรัพยเปนทาน 2. บริจาคอวัยวะเปนทาน
3. บริจาคบุตรเปนทาน 4. บริจาคภรรยาเปนทาน
5. บริจาคชีวิตเปนทาน
พระพุทธเจาทรงบําเพ็ญบารมีไดครบถวนในชาติที่เปนพระเวสสันดร
ซึ่งเปนชาติสดทาย เมื่อสินอายุก็ไดไปเกิดบนสวรรคชั้นดุสิต
ุ
้
ทาวมหาพรหม...และเหลาเทวดามาอารธนาใหจุติ
วมหาพรหม...และเหล
เมื่อบารมีทั้ง 30 ทัศครบถวนแลว
ในภพที่เกิดเปนพระเวสสันดร พอ
สิ้นอายุ พระโพธิสัตว ไดบังเกิดใน
ดุสิตเทวโลก เปนเทพบุตรพระนาม
วา สันดุสิตเทวราช
เมื่อบารมีแกกลา สามารถจะบรรลุ
พระโพธิญาณแลว ทาวมหาพรหม
และเหลาเทวดา ไดพากันมากราบทูล
อาราธนาเพื่อไปจุติในครรภของพระ
องพระ
นางสิริมหามายา...
หามายา...
ทาวมหาพรหมและเหลาเทวดา
รูไดอยางไรวา เทพบุตร
สันดุสิตเทวราช จักไดตรัสรู
เปนพระสัมมาสัมพุทธเจา

เพราะนิมิต ๕ อยาง บังเกิดแกเทพบุตร คือ...
1. ทิพยภูษา(ดอกไมทิพย)ที่ประดับพระวรกายเหี่ยวแหง
า(
2. ผาทิพย ที่ทรงพระวรกายเศราหมอง
3. พระเสโท (เหงื่อ) ไหลออกจากชองพระกัจฉะ (ใตวงแขน)
งแขน)
4. พระสรีรกายมีอาการปรากฏชราภาพ
5. พระทัยกระสับกระสายเปนทุกขเบื่อหนายเทวโลก
นิมิตทั้ง ๕ ประการ จะ
บังเกิดแกเทพบุตรเหมือน
กันหมดทุกๆองค
แตตางตรงที.... (ความกลัว)
่
1. พวกเทพบุตรที่เกิดดวยบุญเล็กนอยจะเกิดความกลัววา เราจะไปเกิด
ที่ไหนตอและไดเกิดเปนอะไร
2. สวนพระโพธิสัตวทุกๆพระองค (นิมิตทั้ง 5 จะเกิดแกพระโพธิสัตว
ทุกพระองค) เมื่อเห็นบุพพนิมิตแลวจะไมทรงกลัว ดวยทรงทราบวา
เราจักไดตรัสรูเปนพระพุทธเจาเมื่อลงไปจุติบนโลกมนุษย
(มีจิตเบื่อหนาย คือ ไมรูสึกยินดีในที่นั่งที่นอน และสมบัติอันเปนทิพยของตนเอง)
องตนเอง)
กอนลงมาจุติตองพิจารณา มหาวิโลกนะ ๕ คือ..
1. กาล คือ อายุมนุษยตองอยูใน

ระหวาง 100 ป ถึง 1 แสนป
(ไมสั้นกวารอยป และไมยาว
เกินแสนป)
2. จะเลือกมาเกิดแตในชมพูทวีป
เทานั้นไมเลือกที่อื่น
3. ดินแดนที่จะมาอุบัติ ตองเปน
มัธยมประเทศ จึงไดทรงเลือก
เมืองกบิลพัสดุเปนที่บังเกิด
4. เลือกเกิดในตระกูลขัตติยะหรือพราหมณ แตเวลานั้นกษัตริยเปนใหญ
จึงเลือกเกิดในตระกูลของกษัตริย คือ ศากยวงศ
5. พระมารดา จะตองมีศีล 5 ที่
บริสุทธ ไมโลเลในบุรุษและได
บําเพ็ญบารมีมาตลอดแสนกับป
จึงเลือก พระนางสิริมหามายา
เปนพระพุทธมารดา...
ธมารดา...
เสด็จจุติ...ลงสูพระครรภ....พระมารดาทรงพระสุบิน
.ลงสู
..พระมารดาทรงพระสุ

เมื่อไดรับอารธนาแลว พระโพธิสัตวก็ไดเสด็จจุติในพระครรภของพระ
นางสิรมหามายา ในขณะนั้น ในพระนครมีพิธีนักขัตฤกษ พระนางสิรมหา
ิ
ิ
มายาก็ไดทําบุญทําทาน สมาทานอุโบสถ แลวเสด็จบรรทมในเวลาใกลอรุณก็ได
ทรงพระสุบินวา “มีทาวมหาราชทั้งสี่มายกนางไปและมีเทพธิดาพาไปสรงน้ํา
และมีชางชูงวงถือดอกบัวขาวไดทําประทักษิณพระนาง ๓ รอบ”
รอบ”
พราหมณทํานาย
พระสุบิน
ของพระมเหสี
พอรุงเชา พระนางก็ไดกราบทูลใหพระราชสวามีทรงทราบพระเจา
สุทโธทนมหาราช จึงรับสั่งใหพวกพราหณมาทํานายพระสุบินของพระ
ราชเทวี พวกพรามณไดตรวจดูพระสุบินแลวไดกราบทูลวา “พระราช
โอรสของพระองคเปนผูมีบุญอานุภาพมาก ถาอยูในเพศฆราวาสจักเปน
จอมจักรพรรดิ ถาไดออกบวช จักไดตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา”
พระโพธิสัตว....ประสูติ
..ประสู
พระนางสิริมหามายา
เสด็จไปสู
เมืองเทวทหะ
เมื่อพระโพธิสัตวไดจุตในพระครรภครบ 10 เดือนแลว พระมารดาก็
ิ
ปรารถนาจะไปยังเมืองเทวทหะ ซึ่งเปนชาติภูมิของพระองค จึงไดไป
กราบทูลลาพระราชสวามี พระเจาสุทโธทนะก็ไดอนุญาต พระนางไดเสด็จ
ไปบนเสลี่ยงทองคํา มุงหนาไปสูเทวทหะนคร

ครั้นเสด็จถึงสวนลุมพินีวัน
ซึ่งตังอยู ในระหวางเมือง
้
กบิลพัสดุและเมืองเทวทหะ
พระนางก็ไดบังเกิดลมกัมม
ชวาต พวกขาราชบริพารก็
จัดแจงผูกมาน พระนางก็
ไดไปประทับยืนพิงตนสาละ
จับกิ่งสาละ ดวยพระหัตถ
ขางขวา ผินพระพักตรไป
ทางทิศบูรพาและไดประสูติ
พระราชโอรส
หลังจากประสูติจากพระครรถของพระมารดาแลว พระราชกุมารก็ได
ทอดพระเนตรไปโดยรอบ แลวผินพระพักตรไปยังทิศอุดร เสด็จกาว
พระบาทไปได ๗ กาว แลวเปลงพระสุรเสียงไพเราะกองกังวาลดุจเสียง
ของพรหมวา “เราเปนผูเลิศ ประเสริฐในโลก ชาตินี้เปนชาติสดทาย
ุ
ภพใหมของเรา ไมมีอีกแลว”
เมื่อประสูติทรงเปลงเสียง (พูดได) มีอยู ๓ ชาติคือ
1. ชาติที่เกิดเปนพระมโหสถบัณฑิต
2. ชาติที่เกิดเปนพระเวสสันดร
3. ชาติที่เกิดเปนเจาชายสิทธัตถะราชกุมาร
สหชาติ ๗ ประการ (บังเกิดพรอมกับวันประสูติ)
1. พระนางยโสธรา
5. มากัณฐกะ
2. พระอานนท
6. ตนมหาโพธิ์
3. พระกาฬุทายี
7. ขุมทรัพย ๔ ทิศ
4. นายฉันนะ
เมื่อประสูติ ทรงเปลงวาจาไดนั้น มีอยู ๓ ชาติ คือ (แตกตางกันที่คําพูด)

1. ชาติที่เกิดเปนพระมโหสถบัณฑิต
ในชาตินี้ พอประสูติทาวสักกะเทวราชก็เสด็จมาวางแกนจันทรไวที่พระหัตถ ให
พระโพธิสัตวถือจันทรแดงออกมา พอพระมารดาถามวา ลูกเอย เจาถืออะไรมา
ก็ตอบวา ถือยามาแม ดวยเหตุที่ถือแทงยามานี้ จึงไดชื่อวา มโหสถกุมาร

2. ชาติที่เกิดเปนพระเวสสันดร
ในชาตินี้ พอประสูติออกมาก็เหยียดพระหัตถขวาถามพระมารดาวา “พระมารดามี
ทรัพยอะไรบาง ลูกอยากใหทาน มารดาก็ตอบวา “ลูกเอย เจาเกิดมาในตระกูลมี
ทรัพยมาก แลวก็วางทรัพยพันหนึ่งไวที่พระหัตถ”

3. ชาติที่เกิดเปนเจาชายสิทธัตถะราชกุมาร
ในชาตินี้ คือ ชาติที่บารมีเต็มเปยมแลวพอประสูติ ก็เดินได ๗ กาว แลวเปลงเสียงวา
“เราเปนผูเลิศ ประเสริฐในโลกชาตินี้เปนชาติสุดทาย ภพใหมไมมีอีกแลว”
ฝายกาฬเทวิลดาบส ซึ่งคุนเคยกับ
ราชตระกูล พอทราบขาวก็ไดเขาเฝา
เพื่อขอชมบารมีของพระราชกุมาร
พอไดเห็นพระโอรส ดาบสก็รูไดวา
เปนผูเลิศ มีบุญอานุภาพมากตอจาก
นั้นก็ยิ้มแยมแจมใสและรองให
ยิ้มแยมแจมใสเพราะพระโอรสมีบุญ
อานุภาพมาก ตอไปจักตรัสรูเปน
พระพุทธเจา สวนที่รองใหเพราะจะไม
มีโอกาสไดฟงธรรม (หมดอายุ)
ทํานายพระลักษณะ
และขนานพระนาม

เมื่อประสูติมาได ๕ วัน พระราชบิดารับสั่งใหพราหณทั้ง ๘ คน
ที่ไดคัดเลือกมาทํานายพระลักษณะ พราหมณทั้ง ๗ ไดตรวจดู
พระลักษณะตางทํานายและไดชูนิ้วขึน ๒ นิ้ว โดยไดทํานายเปน
้
๒ คติ วา “ถาครองเพศเปนฆราวาส ตอไปจักไดเปนพระเจา
จักรพรรดิ แตถาออกผนวช จักไดตรัสรูเปนพระพุทธเจา”
ในพราหมณทั้ง ๘ ทานนั้น มีพราหมณอยู ๑ ทาน ชื่อวา
โกณฑัญญพราหมณ ทีชูนิ้วขึ้นนิ้วเดียวแลวทํานายวา “พระราช
่
กุมารจักเสด็จออกผนวช จักไดตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา
อยางแนนอน” จากนั้นพราหมณทั้ง ๘ ทาน ไดขนานพระนาม
อน”
พระราชโอรสวา สิทธัตถราชกุมาร
พระมารดาทรงทิวงคต (สิ้นพระชนม)
เมื่อประสูติสิทธัตถะราชกุมารได
๗ วัน พระนางสิริมหามายาก็ได
เสด็จทิวงคต พระเจาสุทโธทนะ
จึงไดมอบให พระนางปชาบดี
โคตรมี ซึ่งเปนพระนานางนําไป
เลี้ยง ซึ่งพระนางก็ไดดูแลเลี้ยง
ดูอยางดี ตอมาพระนางปชาบดี
โคตรมี ก็ทรงประสูติพระโอรส
พระธิดา ๒ พระองคดวยกัน
คือนันทกุมารและรูปนันทากุมารี
บรรลุปฐมฌาน
เมื่อพระโอรสเติบโต มีพระชนมายุได
๗ พรรษา พระราชารับสั่งใหมีพิธีวัป
ปมงคลแรกนาขวัญ แลวไดเสด็จไป
ยังมณฑลพิธีพรอมพระราชโอรส เมื่อ
ไปถึงก็ใหพระโอรสไปพักใตตนหวา
ใหญ สวนพระองคก็เสด็จไป ณ
สถานที่ทําพิธี สวนพระราชกุมารเห็น
วาเงียบสงบ จึงไดเจริญ
อานาปานสติกัมมัฏฐาน จนเกิด
สมาธิไดบรรลุปฐมฌาน...
ฐมฌาน...
ใหติดในกาม..และใหแตงงาน
ในกาม..และให
พระเจาสุทโธทนะ ไมอยากใหออกบวช
อยากใหเปนกษัตริย พอพระชนมมายุ
ได ๗ พรรษาทรงใหสรางสระโบกขรณี
๓ สระ พอพระชนมมายุได ๑๖ พรรษา
ทรงใหสรางปราสาท ๓ ฤดู
ตอมา... ไดจดพิธีอภิเษกสมรสกับพระ
มา... ั
นางยโสธราหรือพระนางพิมพา ผูเปน
ราชธิดาของพระเจาสุปปพุทธะ แหง
เมืองเทวทหนคร
นับตั้งแตบัดนั้นมา เจาชายสิทธัตถะ ก็ใชชีวิตอยาง
สุขเกษมสําราญเรื่อยมา จนถึงพระชนมายุ ๒๙ ป

จบปริจเฉท...ที่ 1
เฉท...ที

More Related Content

What's hot

กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1page
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1pageกรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1page
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
บทที่ 2 วิราคะ
บทที่ 2 วิราคะบทที่ 2 วิราคะ
บทที่ 2 วิราคะOnpa Akaradech
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
Padvee Academy
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒Jiraprapa Noinoo
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
Padvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
Padvee Academy
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
พัน พัน
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
Thanawut Rattanadon
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

What's hot (20)

กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1page
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1pageกรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1page
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1page
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
บทที่ 2 วิราคะ
บทที่ 2 วิราคะบทที่ 2 วิราคะ
บทที่ 2 วิราคะ
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdfแบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 

Similar to พุทธานุพุทธประวัติ

Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัยsangworn
 
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
niralai
 
พุทธประวัติ
พุทธประวัติพุทธประวัติ
พุทธประวัติgueste13f2b
 
9789740333685
97897403336859789740333685
9789740333685
CUPress
 
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรPanda Jing
 
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง มSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดกใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
อรอุมา เขียวสวัสดิ์
 
๑๑ มาคัณฑิยสูตร มจร.pdf
๑๑ มาคัณฑิยสูตร มจร.pdf๑๑ มาคัณฑิยสูตร มจร.pdf
๑๑ มาคัณฑิยสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
Benjawan Hengkrathok
 
รัชกาลที่ 2
รัชกาลที่ 2รัชกาลที่ 2
รัชกาลที่ 2Kunnai- เบ้
 

Similar to พุทธานุพุทธประวัติ (20)

test
testtest
test
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
 
Tripoom
TripoomTripoom
Tripoom
 
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
 
พุทธประวัติ
พุทธประวัติพุทธประวัติ
พุทธประวัติ
 
9789740333685
97897403336859789740333685
9789740333685
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
Sukhothai
SukhothaiSukhothai
Sukhothai
 
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
 
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดกใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
 
๑๑ มาคัณฑิยสูตร มจร.pdf
๑๑ มาคัณฑิยสูตร มจร.pdf๑๑ มาคัณฑิยสูตร มจร.pdf
๑๑ มาคัณฑิยสูตร มจร.pdf
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
 
รัชกาลที่ 2
รัชกาลที่ 2รัชกาลที่ 2
รัชกาลที่ 2
 
Learn good
Learn goodLearn good
Learn good
 

More from Onpa Akaradech

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Onpa Akaradech
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานOnpa Akaradech
 
บทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติบทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติOnpa Akaradech
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิOnpa Akaradech
 
บทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติบทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติOnpa Akaradech
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาOnpa Akaradech
 
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยOnpa Akaradech
 
ห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeOnpa Akaradech
 
ห้องอาหาร
ห้องอาหารห้องอาหาร
ห้องอาหารOnpa Akaradech
 

More from Onpa Akaradech (10)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 
บทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติบทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติ
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิ
 
บทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติบทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติ
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทา
 
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
 
นิสัย
นิสัยนิสัย
นิสัย
 
ห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeห้องทำงานEee
ห้องทำงานEee
 
ห้องอาหาร
ห้องอาหารห้องอาหาร
ห้องอาหาร
 

พุทธานุพุทธประวัติ