SlideShare a Scribd company logo
ความเป็นมา
ปัจจัยส่งเสริมให้เกิดอารยธรรม
การหล่อหลอมอารยธรรมของชนชาติ
ต่างๆ
HOM
E
คณะผู้จัดทา
 “เมโสโปเตเมีย” เป็นชื่อเรียกดินแดนที่อยู่ระหว่างแม่น้า 2 สาย ใน
ตะวันออกกลาง คือ แม่น้าไทกริส(Tigris) และ
ยูเฟรทีส (Euphrates) ปัจจุบันคือดินแดนในประเทศอิรัก
 อารยธรรมเมโสโปเตเมียมีความหมายครอบคลุมความเจริญรุ่งเรืองที่
เกิดขึ้นในดินแดน เมโสโปเตเมียและบริเวณรอบๆ ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อประมาณ
ปี 3000 ก่อนคริสต์ศักราช หรือ 5000 ปีมาแล้ว กลุ่มชนที่มีส่วน
สร้างสรรค์อารยธรรมเมโสโปเตเมีย ได้แก่ พวกสุเมเรียน บาบิโลเนียน
แอลซีเรียน แคลเดียน ฮิตไทต์ ฟินีเชียน เปอร์เซีย และฮิบรู ซึ่งได้พลัด
เปลี่ยนกันเข้ามาปกครองดินแดนนี้ พวกเขารับความเจริญเดิมที่สืบทอด
มาและพัฒนาให้เจริญก้าวหน้าขึ้นพร้อมๆ กับคิดค้นความเจริญใหม่ๆ
ขึ้นมาด้วย อารยธรรมเมโสโปเตเมียจึงเจริญรุ่งเรืองต่อเนื่อง และเป็น
แบบอย่างที่ดินแดนอื่นๆ นาไปใช้สืบต่อมา
HOM
E
1. สภาพภูมิศาสตร์ของดินแดนเมโสโปเตเมีย ลักษณะที่ตั้งของดินแดนเมโสโปเตเมีย
และบริเวณใกล้เคียง มีภูมิอากาศร้อนแห้งแล้งและมีปริมาณน้าฝนน้อย อย่างไรก็ตาม
บริเวณนี้ก็มีเขตที่อุดมสมบูรณ์อยู่บ้างเรียกว่า “ดินแดนรูปดวงจันทร์เสี้ยวอันอุดม
สมบูรณ์” ซึ่งรวมถึงดินแดนเมโสโปเตเมียและบริเวณฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนหรือเขต
ประเทศซีเรีย เลบานอน ปาเลสไตน์และอิสรเอลในปัจจุบัน ดินแดนเมโสโปเตเมียได้รับ
ความอุดมสมบูรณ์จากแม่น้าไทกริสและยูเฟรทีสและน้าจากหิมะละลายบนเทือกเขาในเขต
อาร์เมเนียทางตอนเหนือ ซึ่งพัดพาโคลนตมมาทับถมบริเวณสองฝั่งแม่น้า กลายเป็นปุ๋ ย
ในการเพาะปลูก กลุ่มชนอื่นที่อยู่ใกล้เคียงจึงพยายามขยายอานาจเข้ามาครอบครอง
ดินแดนแห่งนี้ ขณะเดียวกันผู้ที่อยู่เดิมก็ต้องสร้างความมั่งคงและแข็งแกร่งเพื่อต่อต้าน
ศัตรูที่มารุกรานจึงมีการสร้างกาแพงเมืองและคิดค้นอาวุธยุทโธปกรณ์ในการทาศึก
สงคราม เช่น อาวุธ รถม้าศึก ฯลฯ
อนึ่ง ที่ตั้งของดินแดนเมโสโปเตเมียสามารถติดต่อกับดินแดนอื่นได้สะดวกทั้งทางด้าน
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและอ่าวเปอร์เซีย จึงมีการติดต่อค้าขายและแลกเปลี่ยนความเจริญ
กับดินแดนอื่นอยู่เสมอ ทาให้เกิดการผสมผสานและสืบทอดอารยธรรม
ภูมิปัญญาของกลุ่มชน อารย ธรรมเมโสโปเตเมียเกิดจากภูมิปัญญาของกลุ่มชนที่
อาศัยในดินแดนแห่งนี้ การคิดค้นและพัฒนาความเจริญเกิดจากความจาเป็นที่ต้อง
เอาชนะธรรมชาติเพื่อ ความอยู่รอด การจัดระเบียบในสังคมและความต้องการขยาย
อานาจการเอาชนะธรรมชาติ แม้ว่าดินแดนเมโสโปเตเมียจะได้รับความอุดมสมบูรณ์จาก
แม่น้าไทกริสและยูเฟรติส แต่ก็มีน้าท่วมเป็นประจาทุกปี ส่วนบริเวณที่ห่างฝั่งแม่น้ามัก
แห้งแล้ง ชาวสุเรียนจึงคิดค้นระบบชนประทานเป็นครั้งแรก ประกอบด้วยทานบป้ องกัน
น้าท่วม คลองส่งน้า และอ่างเก็บน้า วิธีนี้ช่วยให้การเพาะปลูกได้ผลดี อนึ่ง ในเขตที่อยู่
อาศัยของพวกสุเมเรียนไม่มีวัสดุก่อสร้างที่แข็งแรงคงทน เช่น หินชนิดต่างๆ ชาวสุเม
เรียนจึงคิดหาวิธีทาอิฐจากดินแดนและฟาง ซึ่งแม้จะมีน้าหนักเบากว่าหินแต่ก็มีความ
ทนทาน และใช้อิฐก่อสร้างสถานที่ต่างๆ รวมทั้งกาแพงเมือง
นอกจากนี้ยังใช้ดินเหนียวเป็นวัสดุสาคัญในการประดิษฐ์อักษรรูปลิ่มด้วย
การจัดระเบียบในสังคม เมื่อมีความเจริญเติบโตและมีสมาชิกเพิ่มมากขึ้น การอยู่กัน
เป็นชุมชนจึงจาเป็นต้องมีระเบียบและกฎเกณฑ์ของสังคม ได้แก่ การแบ่งกลุ่มชน
ชั้นในสังคมเพื่อกาหนดหน้าที่และสถานะ การจัดเก็บภาษีเพื่อนารายได้ไปใช้พัฒนา
ความเจริญให้แก่ชุมชน การออกกฎหมายเพื่อเป็นเครื่องมือในการปกครอง เช่น
ประมวลกฎหมายของพระเจ้าฮัมมูราบีแห่งบาบิโลเนีย ซึ่งได้รับยกย่องว่าเป็น
กฎหมายแม่บทของโลกตะวันตก
การขยายอานาจ ความยิ่งใหญ่ของชนชาติที่ปกครองดินแดนเมโสโปเตเมียส่วนหนึ่ง
เกิดจากการขยายอานาจเพื่อรุกรานและครอบครองดินแดนอื่น เช่น พวกแอสซีเรียน
สามารถสถาปนาจักรวรรดิแอสซีเรียนที่เข้มแข็งได้ เพราะมีเทคโนโลยีทางการทหาร
ที่ก้าวหน้าและน่าเกรงขาม โดยประดิษฐ์คิดค้นอาวุธสงครามและเครื่องมือต่างๆ
รวมทั้งยุทธวิธีในการทาสงคราม เช่น ดาบเหล็ก หอกยาว ธนู เครื่องกระทุ้ง
สาหรับทาลายกาแพงและประตูเมือง รถศึก เสื้อเกราะ โล่ หมวกเหล็ก ฯลฯ ซึ่งต่อมา
ถูกนาไปใช้แพร่หลายในทวีปยุโรป
HOM
E
อารยธรรม ในดินแดนเมโสโปเตเมียไม่ได้เกิดขึ้นโดยการสร้างสรรค์
ของชนชาติใดชาติหนึ่ง โดยเฉพาะดังเช่นอารยธรรมอื่น หากแต่มีชน
ชาติต่างๆ ผลัดเปลี่ยนกันเข้ามาครอบครองและสร้างความเจริญ
แล้วหล่อหลอมรวมเป็นอารญธรรมเมโสโปเตเมีย
1.สุเมเรียน
2.อมอไรต์
3.ฮิตไทต์
4.แอลซีเรียน
5.แคลเดียน
7.ฟีนิเชียน
8.ฮิบรู
6.เปอร์เซีย
HOM
E
สุเมเรียน (Sumerian) สุเมเรียนเป็นชื่อเรียกกลุ่มคนที่อพยพเข้ามาอยู่ในเขตซู
เมอร์ (Sumer) หรือบริเวณตอนใต้สุดของแม่น้าไทกริสและยูเฟรทีส ซึ่งติดกับ
ปากอ่าวเปอร์เซียเมื่อประมาณ 5000 ปีมาแล้ว พวกสุเมเรียนได้พัฒนาความ
เจริญรุ่งเรืองที่ก้าวหน้าทัดเทียมกับอารยธรรมอียิปต์ เช่น รู้จักประดิษฐ์ตัวอักษรคูนิ
ฟอร์มหรืออักษรลิ่มบนแผ่นดินเหนียวแล้วนาไปเผาไฟ การคานวณ การพัฒนามาตรา
ชั่ง ตวง วัด การทาปฏิทิน การใช้แร่โลหะ การคิดค้นระบบชลประทานเพื่อส่งเสริมการ
กสิกรรม และการก่อสร้างสถานที่ศักดิ์สิทธิ์เพื่อเป็นที่ประทับของเทพเจ้า ฯลฯ ทาให้นัก
ประวัติศาสตร์บางกลุ่มเชื่อว่าอารยธรรมโลกเริ่มต้นที่เขตซูเมอร์ชาวสุเมเรียนอยู่
รวมกันเป็นนครรัฐเล็กๆ หลายแห่ง เช่น เมืองเออร์ (Ur) เมืองอูรุก (Uruk)
เมืองคิช (Kish) และเมืองนิปเปอร์ (Nippur) แต่ละแห่งไม่มีกษัตริย์หรือเจ้าผู้
ครองนคร เพราะพวกสุเมเรียนเชื่อว่าพวกเขามีเทพเจ้าคุ้มครอง จึงมีเพียงพระหรือ
นักบวชเป็นผู้ทาพิธีบูชาเทพเจ้าและจัดการปกครองในเขตของตน อย่างไรก็ตาม การที่
นครรัฐต่างๆ ล้วนเป็นอิสระต่อกันทาให้ไม่สามารถรวมกันเป็นปึกแผ่นได้ ดินแดนของ
พวกสุเมเรียนจึงถูกรุกรานจากชนกลุ่มอื่น คือพวกแอคคัดและอมอไรต์
HOM
E กลุ่ม
อมอไรท์ (Amorties) พวกอมอไรท์หรือบาบิโลเนียน เป็นชนเผ่าเซมิติกซึ่งมีถิ่น
กาเนิดในแถบตะวันออกกลาง ได้ขยายอิทธิพลในดินแดนเมโสโปเตเมียและสร้าง
จักรวรรดิบาบิโลนที่เจริญ รุ่งเรืองในช่วงประมาณปี 1800-1600 ก่อน
คริสต์ศักราช ผู้นาสาคัญคือกษัติรย์ฮัมมูราบีผู้ยิ่งใหญ่ ซึ่งได้สร้างความเข้มแข็ง
ให้แก่จักรวรรดิบาบิโลน โดยการทาสงครามขยายดินแดนและจัดทาประมวล
กฎหมายของพระเจ้าฮัมมูราบีเพื่อเป็น หลักฐานในการปกครองและจัดระเบียบ
สังคม นอกจากนี้ชาวบิโลเนียนยังสืบทอดความเจริญต่างๆ ของพวกสุเมเรียนไว้
เช่น ความเชื่อทางศาสนาซึ่งได้แก่การบูชาเทพเจ้า การแบ่งกลุ่มชนชั้นในสังคมเพื่อ
แบ่งแยกหน้าที่และความสะดวกในการปกครอง การผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและ
การค้าขายกับดินแดนอื่นๆ เช่น อียิปต์และอินเดียซึ่งนาความมั่งคั่งให้แก่จักวรรดิ
บาบิโลน
จักรวรรดิบาบิโลนค่อยๆเสื่อมอานาจลง เมื่อมีชนชาติอื่นขยายอิทธิพลเข้ามาใน
ดินแดนเมโสโปเตเมียและสลายลงไปโดยถูกพวกแอลซีเรียนโจมตี
HOM
E กลุ่ม
ฮิตไทต์ (Hittites) พวกฮิตไทต์เป็นพวกอินโด-ยูโรเปียน ที่อพยพ
มาจากทางเหนือของทะเลดาเมื่อประมาณปี 2300 ก่อน
คริสต์ศักราช ต่อมาได้ขยายอิทธิพลเข้าไปในเขตจักรวรรดิบาบิโลน
และเข้าครอบครองดินแดน ซีเรียในปัจจุบันพวกฮิตไทต์สามารถนา
เหล็กมาใช้ประดิษฐ์อาวุธแบบต่างๆ และจัดทาประมวลกฎหมายเพื่อ
ใช้ควบคุมสังคม โดยเน้นการใช้ความรุนแรงตอบโต้ผู้ที่กระทา
ความผิด เช่น ให้จ่ายค่าปรับแทนการลงโทษที่รุงแรง อาณาจักรฮิต
ไทต์เสื่อมอานาจลงในราวปี 1200 ก่อนคริสต์ศักราช
HOM
E กลุ่ม
แอลซีเรียน (Assyrians) พวกแอลซีเรียนมีถิ่นฐานอยู่ทางตอนเหนือของเมโสโปเต
เมีย เป็นชนชาตินักรบที่มีความสารถและโหดร้าย จึงเป็นที่คร้ามเกรงของชนชาติอื่น
พวกแอลซีเรียนได้ขยายอานาจครอบครองดินแดนของพวกบาบิโลเนียน ซีเรีย และ
ดินแดนบางส่วนของจักรววรดิอียิปต์ จักรวรรดิแอลซีเรียนมีความเจริญรุ่งเรืองในช่วง
ปี 900-612 ก่อนคริสต์ศักราช อนึ่ง การที่แอลซีเรียนเป็นชนชาตินักรบจึงได้มอบ
อารยธรรมสาคัญให้แก่ชาวโลกคือการ สร้างระบอบปกครองจักวรรดิที่เข้มแข็ง มีการ
ควบคุมดินแดนที่อยู่ใต้การปกครองอย่างใกล้ชิด โดยสร้างถนนเชื่อมติดต่อกับดินแดน
เหล่านั้นจานวนมากเพื่อความสะดวกในการเดิน ทัพและติดต่อสื่อสาร นอกจากนี้ยังมี
ความก้าวหน้าในเทคโนโลยีทางการทหารและการรบ โดยเฉพาะการพัฒนาอาวุธ
ยุทโธปกรณ์และการใช้ทหารรับจ้างที่มีประสิทธิภาพสูง อย่างไรก็ตาม แอลซีเรียนมิได้
พัฒนาความเจริญด้านอื่นๆ มากนัก ส่วนใหญ่เป็นการสืบทอดความเจริญที่มีอยู่เดิมใน
ดินแดนที่ตนเข้าไปครอบครอง เช่น ความเชื่อทางศาสนา ศิลปกรรม และวรรณกรรม
ความยิ่งใหญ่ของจักรวรรดิแอสซีเรียนเกิดจากการรุกรานดินแดนของชนชาติอื่น ดังนั้น
จึงมีศัตรูมากและถูกศัตรูทาลายในที่สุด
HOM
E
กลุ่ม
แคลเดียน (Chaldeans) พวกแคลเดียนได้ร่วมกับชนชาติอื่นทาลายอานาจ
ของแอลซีเรียนเมื่อปี 612 ก่อนคริสต์ศักราช หลังจากนั้นก็ได้ครอบครอง
ดินแดนส่วนใหญ่ของจักรวรรดิแอสซีเรีย ผู้นาที่ยิ่งใหญ่ของแคลเดียนคือกษัตริย์
เนบูคัดเนซซาร์ ซึ่งสถาปนาจักรวรรดิบาบิโลนขึ้นใหม่และรื้อฟื้นความเจริญต่างๆ
ในอดีต เช่น การก่อสร้างอาคารที่สวยงามโดยเฉพาะการสร้าง “สวนลอยแห่งบา
บิโลน” ซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็น 1 ใน 7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก การรื้อฟื้น
ประมวลกฎหมายและวรรณกรรมของชาวบาบิโลเนียนรวมทั้งระบบเศรษฐกิจ
และการค้า ดังนั้นนักประวัติศาสตร์จึงเรียกจักวรรดิของพวกแคลเดียนว่า
“จักวรรดิบาบิโลนใหม่” อย่างไรก็ตาม พวกแคลเดียนก็ได้สร้างมรดกที่สาคัญคือ
การศึกษาทางด้านดาราศาสตร์และโหราศาสตร์
จักรวรรดิแคลเดียนมีอานาจในช่วงสั้นๆ และสิ้นสลายเมื่อปี 534 ก่อน
คริสต์ศักราช
HOM
E
กลุ่ม
เปอร์เซีย (Persia) พวกเปอร์เซียเป็นชนเผ่าอินโด-ยูโรเปียนที่อพยพมาจากทาง
เหนือของเทือกเขาคอเคซัส เมื่อราว 1800 ปีก่อนคริสต์ศักราชและตั้งถิ่นฐานอยู่
ในดินแดนเปอร์เซียหรือประเทศอิหร่อน ปัจจุบัน ต่อมาได้ร่วมมือกับพวกแคลเดียน
โค่นล้มจักรวรรดิแอลซีเรียนและสถาปนา จักรวรรดิเปอร์เซียเมื่อประมาณ 550 ปี
ก่อนคริสต์ซักราช จากนั้นได้ขยายอานาจเข้ายึดตครองจักรวรรดิบาบิโลนของพวก
แคลเดียน ดินแดนเมโสโปเตเมีย เอเชียไมเนอร์และอียิปต์ ในสมัยพระเจ้าดาริอุสหรื
อเดอไรอัสมหาราช (Darius the Great) เปอร์เซียได้ขยายอิทธิพลเข้าไปใน
ดินแดนตะวันออกถึงลุ่มแม่น้าสินธุของ อินเดียและทางตะวันตกถึงตอนใต้ของยุโรป
แม้ว่าเปอร์เซียไม่ประสบความสาเร็จในการทาสงครามเพื่อยึดครองนครรัฐกรีก แต่
จักวรรดิเปอร์เซียในขณะนั้นก็มีอานาจยิ่งใหญ่ที่สุด
เปอร์เซียเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่ครอบคลุมดินแดนของชนชาติต่างๆ จานวนมาก
จึงต้องจัดการปกครองให้มีประสิทธิภาพ ผู้ปกครองใช้หลักความยุติธรรมใน
การจัดเก็บภาษีและการศาล รวมทั้งการกระจายอานาจการปกครองให้แก่
ท้องถิ่นและดินแดนต่างๆ โดยรับวิธีควบคุมอานาจปกครองตามแบบพวกแอส
ซีเรียน ซึ่งได้แก่ การสร้างถนนเชื่อมดินแดนต่างๆ เพื่อรองรับการเดินทัพ
การสื่อสาร และไปรษณีย์ ถนนสายสาคัญ ได้แก่ เส้นทางหลวงเชื่อมเมืองซาร์
ดิส (Sardis) ในเอเชยไมเนอร์ (ปัจจุบันอยู่ในประเทศตุรกี) และนครซูซา
(Susa) ซึ่งเป็นเมืองหลวงแห่งหนึ่งของจักรวรรดิเปอร์เซีย ถนนสายนี้ไม่
เพียงแต่มีความสาคัญด้านยุทธศาสตร์ หากยังมีความสาคัญต่อการค้า
ระหว่างดินแดนต่างๆ ภายในจักรวรรดิ และเป็นเส้นทางสาคัญในการติดต่อ
ระหว่างตะวันออกและตะวันตก
เปอร์เซียเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่ครอบคลุมดินแดนของชนชาติต่างๆ จานวนมาก จึง
ต้องจัดการปกครองให้มีประสิทธิภาพ ผู้ปกครองใช้หลักความยุติธรรมในการ
จัดเก็บภาษีและการศาล รวมทั้งการกระจายอานาจการปกครองให้แก่ท้องถิ่นและ
ดินแดนต่างๆ โดยรับวิธีควบคุมอานาจปกครองตามแบบพวกแอสซีเรียน ซึ่งได้แก่
การสร้างถนนเชื่อมดินแดนต่างๆ เพื่อรองรับการเดินทัพ การสื่อสาร และไปรษณีย์
ถนนสายสาคัญ ได้แก่ เส้นทางหลวงเชื่อมเมืองซาร์ดิส (Sardis) ในเอเชยไม
เนอร์ (ปัจจุบันอยู่ในประเทศตุรกี) และนครซูซา (Susa) ซึ่งเป็นเมืองหลวงแห่ง
หนึ่งของจักรวรรดิเปอร์เซีย ถนนสายนี้ไม่เพียงแต่มีความสาคัญด้านยุทธศาสตร์
หากยังมีความสาคัญต่อการค้าระหว่างดินแดนต่างๆ ภายในจักรวรรดิ และเป็น
เส้นทางสาคัญในการติดต่อระหว่างตะวันออกและตะวันตก
HOM
E
กลุ่ม
ฟินิเชียน (Phoenicians) ระหว่างปี 1000-700 ปีก่อนคริสต์ศักราช พวกฟีนิ
เชียนอาศัยอยู่ในดินแดนฟินิเชียซึ่งเป็นที่ตั้งของประเทศเลบานอนปัจจุบัน และมีการ
ปกครองแบบนครรัฐ ลักษณะที่ตั้งมีเทือกเขาสลับซับซ้อนกั้นระหว่างที่ราบแคบๆ ซึ่งขนาน
กับชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับดินแดนอื่นๆ ทาให้พวกฟีนิเชียนไม่สามารถขยาย
ดินแดนของตนออกไปได้ จึงดารงชีวิตด้วยการเดินเรือและค้าขายทางทะเล
นอกจากมีชื่อเสียงในด้านการค้าแล้ว ชาวฟีนิเชียนยังมีชื่อเสียงในด้านอุตสาหกรรมต่อเรือ
ซึ่งทาจากไม้ซีดาร์ที่มี อยู่มากบนเทือกเขาในเลบานอนและการทาอุตสาหกรรมเครื่องใช้จาก
แร่โลหะต่างๆ เช่น ทองคา ทองแดง ทองเหลือง แร่เงิน และเครื่องแก้ว นอกจากนี้ยังริเริ่ม
การทอผ้าขนสัตว์และย้อมผ้า รวมทั้งได้จับจองอาณานิคมในเขตทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
จานวนมาก เพื่อเป็นศูนย์กลางการค้าของตน เช่น เกาะซิซีลี ซาร์ดิเนีย และมอลตา อนึ่ง
ชาวฟีนิเชียนจาเป็นต้องใช้เอกสารและหลักฐานในการติดต่อค้าขายจึงได้พัฒนาตัว อักษร
ขึ้นจากโบราณของอียิปต์จานวนรวม 22 ตัว อักษรฟีนิเชียนเป็นมรดกทางอารยธรรมที่
สาคัญของโลกตะวันตก เนื่องจากชาวกรีกและโรมันได้นาไปใช้และสืบทอดต่อมาจนถึง
ปัจจุบัน
HOM
E กลุ่ม
ฮิบรู (Hebrews) ชาวฮิบรูหรือชาวยิว เป็นชนเผ่าเซมิติกที่เร่ร่อนอยู่ในดินแดน
ต่างๆ เคยอาศัยอยู่ในเขตซูเมอร์ก่อนที่จะอพยพเข้าไปอยู่ดินแดนคานาอัน (Canaan)
หรือปาเลสไตน์ (Palestine) ในปัจจุบัน ชาวฮิบรูเป็นชนชาติที่เฉลียวฉลาดและบันทึก
เรื่องราวของพวกตนในคัมภีร์ศาสนา (Old Testament) ทาให้มีข้อมูลเกี่ยวกับ
บรรพบุรุษของชาวยิวอย่างละเอียด บันทึกชาวฮิบรูกล่าวว่า เดิมบรรพบุรุษเคยอยู่ทาง
ตอนเหนือของเมโสโปเตเมียต่อมาได้ตกเป็นทาสของอียิปต์ เมื่ออียิปต์เสื่อมอานาจ ชาว
ฮิบรูจึงพ้นจากความเป็นทาสโดยผู้นาคือโมเสส (Moses) ได้นาชาวฮิบรูเดินทาง
เร่ร่อนเพื่อหาที่ตั้งหลักแหล่งทามาหากิน ในที่สุดมาถึงดินแดนคานาอัน หรือภายหลัง
เรียกว่า “ปาเลสไตน์” และสร้างอาณาจักรอิสราเอล มีกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่คือ กษัตริย์เดวิด
(David) ซึ่งสถาปนานครเยรูซาเลมเป็นเมืองหลวง ต่อมาอาณาจักรอิสราเอล ได้
แตกแยกเป็น 2 ส่วน หลักจากกษัตริย์โซโลมอนสิ้นพระชนม์ เมื่อปี 922 ก่อน
คริสต์ศักราช และถูกชนนชาติที่เข้มแข็งกว่าคือแอลซีเรียนและแคลเดียนเข้ายึดครอง
ชาวยิวส่วนใหญ่ถูฏจับไปเป็นทาสในดินแดนอื่น แต่ได้กลับคืนดินแดนปาเลสไตน์อีกครั้ง
เมื่อจักรวรรดิเปอร์เซียเข้ามาครอบครองดินแดนนี้
อย่างไรก็ตาม พวกเขาได้ละทิ้งดินแดนของตนไปในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 1
หลังจากพวกโรมันเข้ายึดครองปาเลสไตน์และทาลายเมืองของชาวยิว
ชาวยิวมีกฎหมาย วรรณกรรม และศานาของตนเอง ประมวลกฎหมายเรียกว่า
“กฎหมายโมเสส” วรรณกรรมที่สาคัญคือคัมภีร์ไบเบิล ซึ่งประมวลกฎหมาย
เรื่องราวตั้งแต่การกาเนิดของโลกมนุษย์ จนกระทั่งถึงพัฒนาการทาง
ประวัติศาสตร์ของชนชาติยิว คัมภีร์ไบเบิลฉบับบนี้เป็นหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ที่สาคัญและเป็นภาคพระ คัมภีร์เก่า (Old Testament) ใน
คัมภีร์ไบเบิลของศาสนาคริสต์ด้วย
ความเจริญรุ่งเรืองที่ชนชาติต่างๆ ในดินแดนเมโสโปเตเมียคิดค้น หล่อหลอม และ
สืบทอดต่อกันมา ส่วนใหญ่กลายเป็นรากฐานของอารยธรรมตะวันตกที่ชาวยุโรป
รับและพัฒนาต่อเนื่องเป็นอารยธรรมของมนุษยชาติในปัจจุบัน
HOM
E
กลุ่ม
นายพูนทรัพย์ จันต๊ะ เลขที่3
นายธวัชชัย บุญทรง เลขที่10
นายวีรวุฒิ ใจวังดี เลขที่15
นางสาวกวิสรา สารกุมาร เลขที่18
นางสาวจุฬาลักษณ์ กาวินัน เลขที่20
นางสาวธมลวรรณ ธิปันแก้ว เลขที่24
นางสาวนฤทัย ปุกคา เลขที่ 25
นางสาววริษฐา ขันทะสอน เลขที่29
นางสาวศุภากร ทวีราช เลขที่30
HOM
E

More Related Content

What's hot

ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2
ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2
ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2
เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
6091429
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
SAKANAN ANANTASOOK
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
หรร 'ษๅ
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
Supicha Ploy
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
Yosiri
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6teerachon
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
timtubtimmm
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
wittawat_name
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
wittawat_name
 
แบบทดสอบวัดความรู้เรื่อง อาเซียน
แบบทดสอบวัดความรู้เรื่อง  อาเซียนแบบทดสอบวัดความรู้เรื่อง  อาเซียน
แบบทดสอบวัดความรู้เรื่อง อาเซียน
Khanatsanan Jitnum
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
Padvee Academy
 

What's hot (20)

การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1
การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1
การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1
 
ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2
ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2
ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
ใบงานยุโรป 1
ใบงานยุโรป 1ใบงานยุโรป 1
ใบงานยุโรป 1
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
 
แบบทดสอบวัดความรู้เรื่อง อาเซียน
แบบทดสอบวัดความรู้เรื่อง  อาเซียนแบบทดสอบวัดความรู้เรื่อง  อาเซียน
แบบทดสอบวัดความรู้เรื่อง อาเซียน
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 

Similar to อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
Kran Sirikran
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
Omm Suwannavisut
 
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียhmiw
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
Chanapa Youngmang
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
Chanapa Youngmang
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
Chanapa Youngmang
 
บทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียน
บทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียนบทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียน
บทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียน
Padvee Academy
 

Similar to อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2 (7)

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
 
บทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียน
บทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียนบทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียน
บทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียน
 

Recently uploaded

bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้องสอบถามไฟฟ้า ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3.pdf
ข้องสอบถามไฟฟ้า ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3.pdfข้องสอบถามไฟฟ้า ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3.pdf
ข้องสอบถามไฟฟ้า ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3.pdf
ssuser7bccc8
 
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
NuttavutThongjor1
 

Recently uploaded (6)

bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
 
ข้องสอบถามไฟฟ้า ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3.pdf
ข้องสอบถามไฟฟ้า ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3.pdfข้องสอบถามไฟฟ้า ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3.pdf
ข้องสอบถามไฟฟ้า ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3.pdf
 
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
 

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2

  • 1.
  • 3.  “เมโสโปเตเมีย” เป็นชื่อเรียกดินแดนที่อยู่ระหว่างแม่น้า 2 สาย ใน ตะวันออกกลาง คือ แม่น้าไทกริส(Tigris) และ ยูเฟรทีส (Euphrates) ปัจจุบันคือดินแดนในประเทศอิรัก  อารยธรรมเมโสโปเตเมียมีความหมายครอบคลุมความเจริญรุ่งเรืองที่ เกิดขึ้นในดินแดน เมโสโปเตเมียและบริเวณรอบๆ ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อประมาณ ปี 3000 ก่อนคริสต์ศักราช หรือ 5000 ปีมาแล้ว กลุ่มชนที่มีส่วน สร้างสรรค์อารยธรรมเมโสโปเตเมีย ได้แก่ พวกสุเมเรียน บาบิโลเนียน แอลซีเรียน แคลเดียน ฮิตไทต์ ฟินีเชียน เปอร์เซีย และฮิบรู ซึ่งได้พลัด เปลี่ยนกันเข้ามาปกครองดินแดนนี้ พวกเขารับความเจริญเดิมที่สืบทอด มาและพัฒนาให้เจริญก้าวหน้าขึ้นพร้อมๆ กับคิดค้นความเจริญใหม่ๆ ขึ้นมาด้วย อารยธรรมเมโสโปเตเมียจึงเจริญรุ่งเรืองต่อเนื่อง และเป็น แบบอย่างที่ดินแดนอื่นๆ นาไปใช้สืบต่อมา HOM E
  • 4. 1. สภาพภูมิศาสตร์ของดินแดนเมโสโปเตเมีย ลักษณะที่ตั้งของดินแดนเมโสโปเตเมีย และบริเวณใกล้เคียง มีภูมิอากาศร้อนแห้งแล้งและมีปริมาณน้าฝนน้อย อย่างไรก็ตาม บริเวณนี้ก็มีเขตที่อุดมสมบูรณ์อยู่บ้างเรียกว่า “ดินแดนรูปดวงจันทร์เสี้ยวอันอุดม สมบูรณ์” ซึ่งรวมถึงดินแดนเมโสโปเตเมียและบริเวณฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนหรือเขต ประเทศซีเรีย เลบานอน ปาเลสไตน์และอิสรเอลในปัจจุบัน ดินแดนเมโสโปเตเมียได้รับ ความอุดมสมบูรณ์จากแม่น้าไทกริสและยูเฟรทีสและน้าจากหิมะละลายบนเทือกเขาในเขต อาร์เมเนียทางตอนเหนือ ซึ่งพัดพาโคลนตมมาทับถมบริเวณสองฝั่งแม่น้า กลายเป็นปุ๋ ย ในการเพาะปลูก กลุ่มชนอื่นที่อยู่ใกล้เคียงจึงพยายามขยายอานาจเข้ามาครอบครอง ดินแดนแห่งนี้ ขณะเดียวกันผู้ที่อยู่เดิมก็ต้องสร้างความมั่งคงและแข็งแกร่งเพื่อต่อต้าน ศัตรูที่มารุกรานจึงมีการสร้างกาแพงเมืองและคิดค้นอาวุธยุทโธปกรณ์ในการทาศึก สงคราม เช่น อาวุธ รถม้าศึก ฯลฯ อนึ่ง ที่ตั้งของดินแดนเมโสโปเตเมียสามารถติดต่อกับดินแดนอื่นได้สะดวกทั้งทางด้าน ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและอ่าวเปอร์เซีย จึงมีการติดต่อค้าขายและแลกเปลี่ยนความเจริญ กับดินแดนอื่นอยู่เสมอ ทาให้เกิดการผสมผสานและสืบทอดอารยธรรม
  • 5. ภูมิปัญญาของกลุ่มชน อารย ธรรมเมโสโปเตเมียเกิดจากภูมิปัญญาของกลุ่มชนที่ อาศัยในดินแดนแห่งนี้ การคิดค้นและพัฒนาความเจริญเกิดจากความจาเป็นที่ต้อง เอาชนะธรรมชาติเพื่อ ความอยู่รอด การจัดระเบียบในสังคมและความต้องการขยาย อานาจการเอาชนะธรรมชาติ แม้ว่าดินแดนเมโสโปเตเมียจะได้รับความอุดมสมบูรณ์จาก แม่น้าไทกริสและยูเฟรติส แต่ก็มีน้าท่วมเป็นประจาทุกปี ส่วนบริเวณที่ห่างฝั่งแม่น้ามัก แห้งแล้ง ชาวสุเรียนจึงคิดค้นระบบชนประทานเป็นครั้งแรก ประกอบด้วยทานบป้ องกัน น้าท่วม คลองส่งน้า และอ่างเก็บน้า วิธีนี้ช่วยให้การเพาะปลูกได้ผลดี อนึ่ง ในเขตที่อยู่ อาศัยของพวกสุเมเรียนไม่มีวัสดุก่อสร้างที่แข็งแรงคงทน เช่น หินชนิดต่างๆ ชาวสุเม เรียนจึงคิดหาวิธีทาอิฐจากดินแดนและฟาง ซึ่งแม้จะมีน้าหนักเบากว่าหินแต่ก็มีความ ทนทาน และใช้อิฐก่อสร้างสถานที่ต่างๆ รวมทั้งกาแพงเมือง
  • 6. นอกจากนี้ยังใช้ดินเหนียวเป็นวัสดุสาคัญในการประดิษฐ์อักษรรูปลิ่มด้วย การจัดระเบียบในสังคม เมื่อมีความเจริญเติบโตและมีสมาชิกเพิ่มมากขึ้น การอยู่กัน เป็นชุมชนจึงจาเป็นต้องมีระเบียบและกฎเกณฑ์ของสังคม ได้แก่ การแบ่งกลุ่มชน ชั้นในสังคมเพื่อกาหนดหน้าที่และสถานะ การจัดเก็บภาษีเพื่อนารายได้ไปใช้พัฒนา ความเจริญให้แก่ชุมชน การออกกฎหมายเพื่อเป็นเครื่องมือในการปกครอง เช่น ประมวลกฎหมายของพระเจ้าฮัมมูราบีแห่งบาบิโลเนีย ซึ่งได้รับยกย่องว่าเป็น กฎหมายแม่บทของโลกตะวันตก การขยายอานาจ ความยิ่งใหญ่ของชนชาติที่ปกครองดินแดนเมโสโปเตเมียส่วนหนึ่ง เกิดจากการขยายอานาจเพื่อรุกรานและครอบครองดินแดนอื่น เช่น พวกแอสซีเรียน สามารถสถาปนาจักรวรรดิแอสซีเรียนที่เข้มแข็งได้ เพราะมีเทคโนโลยีทางการทหาร ที่ก้าวหน้าและน่าเกรงขาม โดยประดิษฐ์คิดค้นอาวุธสงครามและเครื่องมือต่างๆ รวมทั้งยุทธวิธีในการทาสงคราม เช่น ดาบเหล็ก หอกยาว ธนู เครื่องกระทุ้ง สาหรับทาลายกาแพงและประตูเมือง รถศึก เสื้อเกราะ โล่ หมวกเหล็ก ฯลฯ ซึ่งต่อมา ถูกนาไปใช้แพร่หลายในทวีปยุโรป HOM E
  • 7. อารยธรรม ในดินแดนเมโสโปเตเมียไม่ได้เกิดขึ้นโดยการสร้างสรรค์ ของชนชาติใดชาติหนึ่ง โดยเฉพาะดังเช่นอารยธรรมอื่น หากแต่มีชน ชาติต่างๆ ผลัดเปลี่ยนกันเข้ามาครอบครองและสร้างความเจริญ แล้วหล่อหลอมรวมเป็นอารญธรรมเมโสโปเตเมีย 1.สุเมเรียน 2.อมอไรต์ 3.ฮิตไทต์ 4.แอลซีเรียน 5.แคลเดียน 7.ฟีนิเชียน 8.ฮิบรู 6.เปอร์เซีย HOM E
  • 8. สุเมเรียน (Sumerian) สุเมเรียนเป็นชื่อเรียกกลุ่มคนที่อพยพเข้ามาอยู่ในเขตซู เมอร์ (Sumer) หรือบริเวณตอนใต้สุดของแม่น้าไทกริสและยูเฟรทีส ซึ่งติดกับ ปากอ่าวเปอร์เซียเมื่อประมาณ 5000 ปีมาแล้ว พวกสุเมเรียนได้พัฒนาความ เจริญรุ่งเรืองที่ก้าวหน้าทัดเทียมกับอารยธรรมอียิปต์ เช่น รู้จักประดิษฐ์ตัวอักษรคูนิ ฟอร์มหรืออักษรลิ่มบนแผ่นดินเหนียวแล้วนาไปเผาไฟ การคานวณ การพัฒนามาตรา ชั่ง ตวง วัด การทาปฏิทิน การใช้แร่โลหะ การคิดค้นระบบชลประทานเพื่อส่งเสริมการ กสิกรรม และการก่อสร้างสถานที่ศักดิ์สิทธิ์เพื่อเป็นที่ประทับของเทพเจ้า ฯลฯ ทาให้นัก ประวัติศาสตร์บางกลุ่มเชื่อว่าอารยธรรมโลกเริ่มต้นที่เขตซูเมอร์ชาวสุเมเรียนอยู่ รวมกันเป็นนครรัฐเล็กๆ หลายแห่ง เช่น เมืองเออร์ (Ur) เมืองอูรุก (Uruk) เมืองคิช (Kish) และเมืองนิปเปอร์ (Nippur) แต่ละแห่งไม่มีกษัตริย์หรือเจ้าผู้ ครองนคร เพราะพวกสุเมเรียนเชื่อว่าพวกเขามีเทพเจ้าคุ้มครอง จึงมีเพียงพระหรือ นักบวชเป็นผู้ทาพิธีบูชาเทพเจ้าและจัดการปกครองในเขตของตน อย่างไรก็ตาม การที่ นครรัฐต่างๆ ล้วนเป็นอิสระต่อกันทาให้ไม่สามารถรวมกันเป็นปึกแผ่นได้ ดินแดนของ พวกสุเมเรียนจึงถูกรุกรานจากชนกลุ่มอื่น คือพวกแอคคัดและอมอไรต์
  • 10. อมอไรท์ (Amorties) พวกอมอไรท์หรือบาบิโลเนียน เป็นชนเผ่าเซมิติกซึ่งมีถิ่น กาเนิดในแถบตะวันออกกลาง ได้ขยายอิทธิพลในดินแดนเมโสโปเตเมียและสร้าง จักรวรรดิบาบิโลนที่เจริญ รุ่งเรืองในช่วงประมาณปี 1800-1600 ก่อน คริสต์ศักราช ผู้นาสาคัญคือกษัติรย์ฮัมมูราบีผู้ยิ่งใหญ่ ซึ่งได้สร้างความเข้มแข็ง ให้แก่จักรวรรดิบาบิโลน โดยการทาสงครามขยายดินแดนและจัดทาประมวล กฎหมายของพระเจ้าฮัมมูราบีเพื่อเป็น หลักฐานในการปกครองและจัดระเบียบ สังคม นอกจากนี้ชาวบิโลเนียนยังสืบทอดความเจริญต่างๆ ของพวกสุเมเรียนไว้ เช่น ความเชื่อทางศาสนาซึ่งได้แก่การบูชาเทพเจ้า การแบ่งกลุ่มชนชั้นในสังคมเพื่อ แบ่งแยกหน้าที่และความสะดวกในการปกครอง การผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและ การค้าขายกับดินแดนอื่นๆ เช่น อียิปต์และอินเดียซึ่งนาความมั่งคั่งให้แก่จักวรรดิ บาบิโลน จักรวรรดิบาบิโลนค่อยๆเสื่อมอานาจลง เมื่อมีชนชาติอื่นขยายอิทธิพลเข้ามาใน ดินแดนเมโสโปเตเมียและสลายลงไปโดยถูกพวกแอลซีเรียนโจมตี
  • 12. ฮิตไทต์ (Hittites) พวกฮิตไทต์เป็นพวกอินโด-ยูโรเปียน ที่อพยพ มาจากทางเหนือของทะเลดาเมื่อประมาณปี 2300 ก่อน คริสต์ศักราช ต่อมาได้ขยายอิทธิพลเข้าไปในเขตจักรวรรดิบาบิโลน และเข้าครอบครองดินแดน ซีเรียในปัจจุบันพวกฮิตไทต์สามารถนา เหล็กมาใช้ประดิษฐ์อาวุธแบบต่างๆ และจัดทาประมวลกฎหมายเพื่อ ใช้ควบคุมสังคม โดยเน้นการใช้ความรุนแรงตอบโต้ผู้ที่กระทา ความผิด เช่น ให้จ่ายค่าปรับแทนการลงโทษที่รุงแรง อาณาจักรฮิต ไทต์เสื่อมอานาจลงในราวปี 1200 ก่อนคริสต์ศักราช HOM E กลุ่ม
  • 13. แอลซีเรียน (Assyrians) พวกแอลซีเรียนมีถิ่นฐานอยู่ทางตอนเหนือของเมโสโปเต เมีย เป็นชนชาตินักรบที่มีความสารถและโหดร้าย จึงเป็นที่คร้ามเกรงของชนชาติอื่น พวกแอลซีเรียนได้ขยายอานาจครอบครองดินแดนของพวกบาบิโลเนียน ซีเรีย และ ดินแดนบางส่วนของจักรววรดิอียิปต์ จักรวรรดิแอลซีเรียนมีความเจริญรุ่งเรืองในช่วง ปี 900-612 ก่อนคริสต์ศักราช อนึ่ง การที่แอลซีเรียนเป็นชนชาตินักรบจึงได้มอบ อารยธรรมสาคัญให้แก่ชาวโลกคือการ สร้างระบอบปกครองจักวรรดิที่เข้มแข็ง มีการ ควบคุมดินแดนที่อยู่ใต้การปกครองอย่างใกล้ชิด โดยสร้างถนนเชื่อมติดต่อกับดินแดน เหล่านั้นจานวนมากเพื่อความสะดวกในการเดิน ทัพและติดต่อสื่อสาร นอกจากนี้ยังมี ความก้าวหน้าในเทคโนโลยีทางการทหารและการรบ โดยเฉพาะการพัฒนาอาวุธ ยุทโธปกรณ์และการใช้ทหารรับจ้างที่มีประสิทธิภาพสูง อย่างไรก็ตาม แอลซีเรียนมิได้ พัฒนาความเจริญด้านอื่นๆ มากนัก ส่วนใหญ่เป็นการสืบทอดความเจริญที่มีอยู่เดิมใน ดินแดนที่ตนเข้าไปครอบครอง เช่น ความเชื่อทางศาสนา ศิลปกรรม และวรรณกรรม ความยิ่งใหญ่ของจักรวรรดิแอสซีเรียนเกิดจากการรุกรานดินแดนของชนชาติอื่น ดังนั้น จึงมีศัตรูมากและถูกศัตรูทาลายในที่สุด HOM E กลุ่ม
  • 14. แคลเดียน (Chaldeans) พวกแคลเดียนได้ร่วมกับชนชาติอื่นทาลายอานาจ ของแอลซีเรียนเมื่อปี 612 ก่อนคริสต์ศักราช หลังจากนั้นก็ได้ครอบครอง ดินแดนส่วนใหญ่ของจักรวรรดิแอสซีเรีย ผู้นาที่ยิ่งใหญ่ของแคลเดียนคือกษัตริย์ เนบูคัดเนซซาร์ ซึ่งสถาปนาจักรวรรดิบาบิโลนขึ้นใหม่และรื้อฟื้นความเจริญต่างๆ ในอดีต เช่น การก่อสร้างอาคารที่สวยงามโดยเฉพาะการสร้าง “สวนลอยแห่งบา บิโลน” ซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็น 1 ใน 7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก การรื้อฟื้น ประมวลกฎหมายและวรรณกรรมของชาวบาบิโลเนียนรวมทั้งระบบเศรษฐกิจ และการค้า ดังนั้นนักประวัติศาสตร์จึงเรียกจักวรรดิของพวกแคลเดียนว่า “จักวรรดิบาบิโลนใหม่” อย่างไรก็ตาม พวกแคลเดียนก็ได้สร้างมรดกที่สาคัญคือ การศึกษาทางด้านดาราศาสตร์และโหราศาสตร์ จักรวรรดิแคลเดียนมีอานาจในช่วงสั้นๆ และสิ้นสลายเมื่อปี 534 ก่อน คริสต์ศักราช
  • 16. เปอร์เซีย (Persia) พวกเปอร์เซียเป็นชนเผ่าอินโด-ยูโรเปียนที่อพยพมาจากทาง เหนือของเทือกเขาคอเคซัส เมื่อราว 1800 ปีก่อนคริสต์ศักราชและตั้งถิ่นฐานอยู่ ในดินแดนเปอร์เซียหรือประเทศอิหร่อน ปัจจุบัน ต่อมาได้ร่วมมือกับพวกแคลเดียน โค่นล้มจักรวรรดิแอลซีเรียนและสถาปนา จักรวรรดิเปอร์เซียเมื่อประมาณ 550 ปี ก่อนคริสต์ซักราช จากนั้นได้ขยายอานาจเข้ายึดตครองจักรวรรดิบาบิโลนของพวก แคลเดียน ดินแดนเมโสโปเตเมีย เอเชียไมเนอร์และอียิปต์ ในสมัยพระเจ้าดาริอุสหรื อเดอไรอัสมหาราช (Darius the Great) เปอร์เซียได้ขยายอิทธิพลเข้าไปใน ดินแดนตะวันออกถึงลุ่มแม่น้าสินธุของ อินเดียและทางตะวันตกถึงตอนใต้ของยุโรป แม้ว่าเปอร์เซียไม่ประสบความสาเร็จในการทาสงครามเพื่อยึดครองนครรัฐกรีก แต่ จักวรรดิเปอร์เซียในขณะนั้นก็มีอานาจยิ่งใหญ่ที่สุด
  • 17. เปอร์เซียเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่ครอบคลุมดินแดนของชนชาติต่างๆ จานวนมาก จึงต้องจัดการปกครองให้มีประสิทธิภาพ ผู้ปกครองใช้หลักความยุติธรรมใน การจัดเก็บภาษีและการศาล รวมทั้งการกระจายอานาจการปกครองให้แก่ ท้องถิ่นและดินแดนต่างๆ โดยรับวิธีควบคุมอานาจปกครองตามแบบพวกแอส ซีเรียน ซึ่งได้แก่ การสร้างถนนเชื่อมดินแดนต่างๆ เพื่อรองรับการเดินทัพ การสื่อสาร และไปรษณีย์ ถนนสายสาคัญ ได้แก่ เส้นทางหลวงเชื่อมเมืองซาร์ ดิส (Sardis) ในเอเชยไมเนอร์ (ปัจจุบันอยู่ในประเทศตุรกี) และนครซูซา (Susa) ซึ่งเป็นเมืองหลวงแห่งหนึ่งของจักรวรรดิเปอร์เซีย ถนนสายนี้ไม่ เพียงแต่มีความสาคัญด้านยุทธศาสตร์ หากยังมีความสาคัญต่อการค้า ระหว่างดินแดนต่างๆ ภายในจักรวรรดิ และเป็นเส้นทางสาคัญในการติดต่อ ระหว่างตะวันออกและตะวันตก
  • 18. เปอร์เซียเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่ครอบคลุมดินแดนของชนชาติต่างๆ จานวนมาก จึง ต้องจัดการปกครองให้มีประสิทธิภาพ ผู้ปกครองใช้หลักความยุติธรรมในการ จัดเก็บภาษีและการศาล รวมทั้งการกระจายอานาจการปกครองให้แก่ท้องถิ่นและ ดินแดนต่างๆ โดยรับวิธีควบคุมอานาจปกครองตามแบบพวกแอสซีเรียน ซึ่งได้แก่ การสร้างถนนเชื่อมดินแดนต่างๆ เพื่อรองรับการเดินทัพ การสื่อสาร และไปรษณีย์ ถนนสายสาคัญ ได้แก่ เส้นทางหลวงเชื่อมเมืองซาร์ดิส (Sardis) ในเอเชยไม เนอร์ (ปัจจุบันอยู่ในประเทศตุรกี) และนครซูซา (Susa) ซึ่งเป็นเมืองหลวงแห่ง หนึ่งของจักรวรรดิเปอร์เซีย ถนนสายนี้ไม่เพียงแต่มีความสาคัญด้านยุทธศาสตร์ หากยังมีความสาคัญต่อการค้าระหว่างดินแดนต่างๆ ภายในจักรวรรดิ และเป็น เส้นทางสาคัญในการติดต่อระหว่างตะวันออกและตะวันตก
  • 20. ฟินิเชียน (Phoenicians) ระหว่างปี 1000-700 ปีก่อนคริสต์ศักราช พวกฟีนิ เชียนอาศัยอยู่ในดินแดนฟินิเชียซึ่งเป็นที่ตั้งของประเทศเลบานอนปัจจุบัน และมีการ ปกครองแบบนครรัฐ ลักษณะที่ตั้งมีเทือกเขาสลับซับซ้อนกั้นระหว่างที่ราบแคบๆ ซึ่งขนาน กับชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับดินแดนอื่นๆ ทาให้พวกฟีนิเชียนไม่สามารถขยาย ดินแดนของตนออกไปได้ จึงดารงชีวิตด้วยการเดินเรือและค้าขายทางทะเล นอกจากมีชื่อเสียงในด้านการค้าแล้ว ชาวฟีนิเชียนยังมีชื่อเสียงในด้านอุตสาหกรรมต่อเรือ ซึ่งทาจากไม้ซีดาร์ที่มี อยู่มากบนเทือกเขาในเลบานอนและการทาอุตสาหกรรมเครื่องใช้จาก แร่โลหะต่างๆ เช่น ทองคา ทองแดง ทองเหลือง แร่เงิน และเครื่องแก้ว นอกจากนี้ยังริเริ่ม การทอผ้าขนสัตว์และย้อมผ้า รวมทั้งได้จับจองอาณานิคมในเขตทะเลเมดิเตอร์เรเนียน จานวนมาก เพื่อเป็นศูนย์กลางการค้าของตน เช่น เกาะซิซีลี ซาร์ดิเนีย และมอลตา อนึ่ง ชาวฟีนิเชียนจาเป็นต้องใช้เอกสารและหลักฐานในการติดต่อค้าขายจึงได้พัฒนาตัว อักษร ขึ้นจากโบราณของอียิปต์จานวนรวม 22 ตัว อักษรฟีนิเชียนเป็นมรดกทางอารยธรรมที่ สาคัญของโลกตะวันตก เนื่องจากชาวกรีกและโรมันได้นาไปใช้และสืบทอดต่อมาจนถึง ปัจจุบัน
  • 22. ฮิบรู (Hebrews) ชาวฮิบรูหรือชาวยิว เป็นชนเผ่าเซมิติกที่เร่ร่อนอยู่ในดินแดน ต่างๆ เคยอาศัยอยู่ในเขตซูเมอร์ก่อนที่จะอพยพเข้าไปอยู่ดินแดนคานาอัน (Canaan) หรือปาเลสไตน์ (Palestine) ในปัจจุบัน ชาวฮิบรูเป็นชนชาติที่เฉลียวฉลาดและบันทึก เรื่องราวของพวกตนในคัมภีร์ศาสนา (Old Testament) ทาให้มีข้อมูลเกี่ยวกับ บรรพบุรุษของชาวยิวอย่างละเอียด บันทึกชาวฮิบรูกล่าวว่า เดิมบรรพบุรุษเคยอยู่ทาง ตอนเหนือของเมโสโปเตเมียต่อมาได้ตกเป็นทาสของอียิปต์ เมื่ออียิปต์เสื่อมอานาจ ชาว ฮิบรูจึงพ้นจากความเป็นทาสโดยผู้นาคือโมเสส (Moses) ได้นาชาวฮิบรูเดินทาง เร่ร่อนเพื่อหาที่ตั้งหลักแหล่งทามาหากิน ในที่สุดมาถึงดินแดนคานาอัน หรือภายหลัง เรียกว่า “ปาเลสไตน์” และสร้างอาณาจักรอิสราเอล มีกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่คือ กษัตริย์เดวิด (David) ซึ่งสถาปนานครเยรูซาเลมเป็นเมืองหลวง ต่อมาอาณาจักรอิสราเอล ได้ แตกแยกเป็น 2 ส่วน หลักจากกษัตริย์โซโลมอนสิ้นพระชนม์ เมื่อปี 922 ก่อน คริสต์ศักราช และถูกชนนชาติที่เข้มแข็งกว่าคือแอลซีเรียนและแคลเดียนเข้ายึดครอง ชาวยิวส่วนใหญ่ถูฏจับไปเป็นทาสในดินแดนอื่น แต่ได้กลับคืนดินแดนปาเลสไตน์อีกครั้ง เมื่อจักรวรรดิเปอร์เซียเข้ามาครอบครองดินแดนนี้
  • 23. อย่างไรก็ตาม พวกเขาได้ละทิ้งดินแดนของตนไปในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 1 หลังจากพวกโรมันเข้ายึดครองปาเลสไตน์และทาลายเมืองของชาวยิว ชาวยิวมีกฎหมาย วรรณกรรม และศานาของตนเอง ประมวลกฎหมายเรียกว่า “กฎหมายโมเสส” วรรณกรรมที่สาคัญคือคัมภีร์ไบเบิล ซึ่งประมวลกฎหมาย เรื่องราวตั้งแต่การกาเนิดของโลกมนุษย์ จนกระทั่งถึงพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ของชนชาติยิว คัมภีร์ไบเบิลฉบับบนี้เป็นหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ที่สาคัญและเป็นภาคพระ คัมภีร์เก่า (Old Testament) ใน คัมภีร์ไบเบิลของศาสนาคริสต์ด้วย ความเจริญรุ่งเรืองที่ชนชาติต่างๆ ในดินแดนเมโสโปเตเมียคิดค้น หล่อหลอม และ สืบทอดต่อกันมา ส่วนใหญ่กลายเป็นรากฐานของอารยธรรมตะวันตกที่ชาวยุโรป รับและพัฒนาต่อเนื่องเป็นอารยธรรมของมนุษยชาติในปัจจุบัน
  • 25. นายพูนทรัพย์ จันต๊ะ เลขที่3 นายธวัชชัย บุญทรง เลขที่10 นายวีรวุฒิ ใจวังดี เลขที่15 นางสาวกวิสรา สารกุมาร เลขที่18 นางสาวจุฬาลักษณ์ กาวินัน เลขที่20 นางสาวธมลวรรณ ธิปันแก้ว เลขที่24 นางสาวนฤทัย ปุกคา เลขที่ 25 นางสาววริษฐา ขันทะสอน เลขที่29 นางสาวศุภากร ทวีราช เลขที่30 HOM E