SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 31 
บทที่ 5 ปจจัยทางภูมิศาสตรที่มีอิทธิพลตอพัฒนาการของมนุษยในแหลงกําเนิดอารยธรรมโลก
: แมน้ําไทกรีส – ยูเฟรติสและแมน้ําไนล
: พัฒนาการของมนุษยและมรดกอารยธรรมอียิปต อารยธรรมกรีก อารยธรรมโรมัน
: เปรียบเทียบพัฒนาการของมนุษยและมรดกอารยธรรมโบราณ เมโสโปเตเมีย อียิปต กรีก
โรมัน
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
4. รูและเขาใจปจจัยทางภูมิศาสตรที่มีผลตอการสรางสรรคและพัฒนาการของมนุษยชาติใน
แหลงอารยธรรมตะวันออกและตะวันตก ตั้งแตอดีตจนปจจุบันได
5. วิเคราะหการสรางสรรคพัฒนาการของมนุษยชาติ ในแหลงอารยธรรมตะวันออกและ
ตะวันตก ที่มีผลตอพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงดานสังคม การเมืองและเศรษฐกิจ ตลอดจน
ผลกระทบที่เกิดจากการสรางสรรคพัฒนาการของมนุษยชาติในดานตาง ๆ ที่นําไปสูการพัฒนาและ
การเปลี่ยนแปลงโลก
จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายปจจัยที่ทําใหเกิดแหลงอารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปตได
2. เปรียบเทียบลักษณะการปกครองและผลกระทบของกรีกและโรมันได
ประเด็นคําถาม : ดินแดนเมโสโปเตเมีย และอียิปตมีลักษณะทางภูมิศาสตรอยางไรที่มีความสําคัญ
ตอการสรางสรรคความเจริญในดินแดนดังกลาว
: ทําไมหลักฐาน การบันทึกเรื่องราวตางๆของเมโสโปเตเมียจึงไดจากแผนดิน
เหนียว
ดินแดนเมโสโปเตเมียเปนดินแดนระหวางแมน้ําทั้งสอง คือแมน้ําไทกรีส และยูเฟรติส มีชน
หลายเผาอาศัยอยู ปจจุบันดินแดนสวนใหญอยูในประเทศอิรัก บางสวนอยูในประเทศซีเรียและ
ตุรกี พื้นที่ตอนเหนือเรียกแอสซีเรีย ตอนใตเรียกซูเมอร สมัยตอมาคือบาบิโลน
แผนที่เมโสโปเตเมีย จาก http//:go2worldpress.com
เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 32 
เมโสโปเตเมียมีแหลงน้ําที่ไดจากการละลายของหิมะจากเทือกเขาใกลทะเลดําไหลผาน
ทะเลทราย แมน้ํายูเฟรติสยาวและไหลเชี่ยว ทําใหเกิดน้ําทวมทุกป ระดับน้ําที่ไมแนนอนเมื่อน้ํา
ทวมสองฝงจึงแกปญหาโดยการขุดคลองระบายน้ําเขาสูทุงนา เปนการสรางระบบชลประทาน
บริเวณนี้มีอากาศรอนและแหงแลงในฤดูรอนหนาวในฤดูหนาว มีปริมาณน้ําฝนนอย
ดินแดนเมโสโปเตเมียมีชนหลายกลุมเขามาตั้งถิ่นฐาน ชนกลุมแรกคือชาวสุเมเรียนตั้งถิ่น
ฐานอยูใกลดินดอนสามเหลี่ยมปากแมน้ํา ประมาณ 3,500, - 1,900 ป กอนคริสตกาล เรียกดินแดน
ที่ตั้งถิ่นฐานวา “ซูเมอร” มีการสรางเมือง เออรุก(Uruk)โดยกษัตริยกิลกาเมช ชาวอักคาเดียนเขา
มาเมื่อ ประมาณ 2,334 – 2,150 ป กอนคริสตกาล ชาวบาบิโลนเขาเมื่อประมาณ 1,792 -539 ป
กอนคริสตกาล มีกษัตริยที่เดนคือพระเจาฮัมมูราบี ทรงสรางประมวลกฏหมาย ชาวอัสซีเรียนเขามา
ประมาณ 1,200 -612 ป กอนคริสตกาล เมโสโปเตเมียไมมีพรมแดนธรรมชาติที่ชัดเจน 2 ฝงแมน้ํา
เปนที่ราบทําใหมีการบุกรุกและยึดครองพื้นที่ในเมโสโปเตเมีย แตไมสามารถรวบรวมอาณาจักรให
เปนปกแผนไดตอเนื่อง
อักษรคูนิฟอรม ซิกกูแรท เมือง Ur
พัฒนาการของมนุษยและมรดกทางอารยธรรม
พัฒนาการดานตางๆของชาวสุเมเรียนปรากฏจากหลักฐานแผนดินเหนียวจารึกอักษรคูนิฟอรม
(อักษรรูปลิ่ม)ราวๆ 3,000 ป กอนคริสตกาล บันทึกเกี่ยวกับระบบการนับเปนหนวยๆละ 60 แบง
วงกลมเทากับผลคูณของเลข 60 คือ 360 องศา คิดคนระบบการนับเลขเปนหนวย สิบ รอย พัน
(ทศนิยม) การแบงวัน กลางวันมี12 ชั่วโมงเวลากลางคืน 12 ชั่วโมง ประดิษฐปฏิทินแบงเปน 12
เดือน นับเดือนระบบจันทรคติ และพบหลักฐานทางประวัติศสตรเปนแผนดินเหนียวบันทึกโนต
ดนตรีใชเลนกับพิณ ขลุย ฟลุต
ชาวสุเมเรียนเปนกลุมแรกที่อธิบายถึงทางชางเผือกโดยพระเปนผูสังเกตทองฟาเวลากลางคืน
และบันทึกตําแหนงดาวฤกษและดาวเคราะห ขางขึ้น ขางแรมเพราะเชื่อวาดาวฤกษและดาวเคราะห
เปนลางบอกเหตุลวงหนาแกคนบนโลก
การปกครองมีการจัดระบบการปกครองแบบนครรัฐ มี 12 นครรัฐ ประชากรประมาณ 20,000
– 250,000 คน ผูนําสุเมเรียนเปนผูนําทางศาสนาและทางทหารดวย มีการจัดทํากฏหมายจารึกบน
เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 33 
แผนดินเหนียวเผา หรือสลักบนแผนหินวางไวที่สาธารณะ เชนประมวลกฏหมายพระเจาฮัมมูราบี
ผูปกครองบาบิโลนตั้งแต 1,728 – 1,685 ป กอนคริสตกาล แกะสลักเปนอักษรรูปลิ่มบนเสาหินสีดํา
สูง 2.2 เมตร แบงกฏหมายเปนสวนๆเชนการคา ที่ดิน ครอบครัว
วรรณกรรมที่สําคัญและเกาแกที่สุดในโลกคือ มหากาพยกิลกาเมช (The Epic of
Gilgamesh) เปนเรื่องของพระเจากิลกาเมชและการแสวงหาชีวิตอมตะ ทําใหพบกับอัตนาพิชทิม
ผูรอดชีวิตจากน้ําทวมครั้งใหญโดยสรางเรือและขนสัตวทั้งหลายในโลก
ความเชื่อเรื่องเทพเจา นับถือเทพเจาหลายองค เชื่อวาเทพเจาเปนผูสรางมนุษย มีการ
สรางวิหารเพื่อบูชาเทพเจาและสรางซิกูแรทเพื่อใชทําพิธีกรรม
ดวยลักษณะภูมิประเทศดังกลาวทําใหมีการทําภาชนะดินเผามากมาย ตอมาทําเครื่องแกว
แจกันราว 1,600 ป กอนคริสตกาล นอกจากนี้ยังประดิษฐลอ ลอที่ประดิษฐครั้งแรกใชเปนเครื่งอ
มือทําเครื่องปนดินเผาเมื่อ 4,700 ป กอนคริสตกาล ตอมาพัฒนาเปนลอรถใชในการทําสงคราม
และขนสงทําจากไมตัน ตอกัน และลอซี่
อารยธรรมลุมแมน้ําไนล
แผนที่อารยธรรมลุมแมน้ําไนล หรืออารยธรรมอียิปต
ประเด็นคําถาม
1. ปจจัยทางภูมิศาสตรเรื่องใดที่มีผลตอพัฒนาการของอารยธรรมอียิปต
2. ความเจริญแถบลุมน้ําไนลที่ถายทอดมายังปจจุบันอยางไร
เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 34 
3. กุญแจที่ไขความลับของอียิปตคืออะไร
อียิปตตั้งอยูตอนบนของแอฟริกา ทางทิศตะวันตก และตะวันออกเปนทะเลทรายมีแมน้ํา
ไนลไหลจากทิศใตไปทางทิศเหนือลงสูทะเลเมดิเตอรเรเนียน
อารยธรรมอียิปตเริ่มจากสองฝงแมน้ําไนล “อียิปต” เปนชื่อที่ชาวกรีกเรียกบริเวณแมน้ํา
ไนลวาอียิปต ชาวอียิปตเรียกดินแดนตนเองวา “ดินแดนสีดํา”(black land) อียิปตมีดินที่อุดม
สมบูรณ ฤดูน้ําหลาก น้ําพัดพาตะกอนดินดํามาทับถมสองฝงและบริเวณปากแมน้ําเปนดินดอน
สามเหลี่ยม น้ําทวมเดือนกรกฏาคมเมื่อน้ําลดลงจะทิ้งโคลนตะกอนไวเปนปุยเหมาะในการ
เพาะปลูก
การตั้งอาณาจักรอียิปตมีความสัมพันธกับธรรมชาติ ที่ราบลุมแมน้ําไนลขนาบดวย
ทะเลทรายสะฮารา และทะเลทรายทางตะวันตก ทะเลแดง อาณาจักรเริ่มมีชุมชนเล็กๆเมื่อประมาณ
4,000 ป กอนคริสตกาล
อียิปตสมัยโบราณประกอบดวย
1. อียิปตบน(Upper Egypt) อยูทางทิศใตบริเวณที่แมน้ําไหลผานภูเขา หุบเขา เนินเขาที่
แหงแลง
2. อียิปตลาง (Lower Egypt) อยูบริเวณที่แมน้ําแตกสาขาเปนรูปพัด ไหลลงสูทะเลเมดิ
เตอรเรเนียน
ภาพแกะสลักกษัตริยนารเมอรมีชัยชนะเหนืออียิปตลาง จาก www.hitchins.net/AncEgypt.html
ประมาณ 3,000 ป กอนคริสตกาล กษัตริยนารเมอร(Narmer)หรือเมเนส(Menes) แหง
อียิปตบนสามารถรวมอาณาจักรอียิปตบนและอียิปตลางเขาดวยกัน ตั้งเมืองหลวงที่ เมมฟส และตั้ง
ราชวงศแรกปกครองอียิปตตั้งแต 3,000 ป กอนคริสตกาลจนถึง 332 ป กอนคริสตกาล มีราชวงศ
ทั้งหมด 30 ราชวงศ แบงชวงเวลาออกเปน 3 สมัย
1. สมัยอาณาจักรเกา 3,100 – 2,050 ป กอนคริสตกาล นารเมอรตั้งตนเปนฟาโรหปกครองมี
อํานาจสูงสุดทรงเปนผูสืบเชื้อสายจากดวงอาทิตย การปกครองเรียกระบบเทวาธิปไตย สมัยนี้นิยม
เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 35 
สรางปรามิดๆที่สําคัญคือที่เมืองกิเซห ที่ใหญที่สุดคือปรามิดของฟาโรหคูฟู สรางเมื่อ 2500 ปกอน
คริสตกาลสูง 481 ฟุต คลุมพื้นที่ 32 ไรครึ่ง ปรามิดประมาณ 60 แหง เรียงรายอยูทางฝงตะวันตกใกล
แมน้ําไนล จากความเชื่อวาวิญญาณเปนอมตะและจะปกปกรักษาอาณาจักรอียิปตจึงมีการเก็บรักษา
ศพไมใหเนาเปอยโดยการทําเปนมัมมี่
2. สมัยอาณาจักรกลาง 2,050-1,560 ป กอนคริสตกาล หลังจากอาณาจักรเกาสิ้นสุดลงเกิดความ
ระส่ําระสาย กษัตริยราชวงศที่ 12 รวมอียิปตเปนปกแผนยายราชธานีมาอยูที่เมือง ธีบส(Thebes)
ทางอียิปตบน มีการขุดคลองเชื่อมแมน้ําไนล ตอมาถูกพวกฮิกซอสรุกรานและปกครองอียิปตเปน
เวลา 110 ป
3. สมัยอาณาจักรใหม (สมัยจักรวรรดิ) 1,560 -1087 ป กอนคริสตกาล เจาชายอาโมสขับไล
พวกฮิกซอสจากอียิปต ตั้งราชวงศที่ 18 ปกครอง สมัยนี้รุงเรืองสุดในสมัย ฟาโรหทัตโมสที่ 3 มีการ
ฝงศพตามหนาผาริมฝงแมน้ําไนล
332 - 30 ป กอนคริสตกาลตกอยูภายใตการครอบครองของกรีกและมาซิโดเนีย หลังจาก
30 ป กอนคริสตกาลตกอยูภายใตอาณาจักรโรมัน
พัฒนาการทางประวัติศาสตรที่แสดงถึงการสรางอารยธรรม
ปรามิดที่คูฟู
ศาสนาและความเชื่อ อียิปตนับถือเทพเจาหลายองคเทพเจาที่สําคัญคือเทพเจาเร หรือ รา
มีความเชื่อเรื่องชีวิตหลังความตายและการฟนคืนชีพจึงสรางปรามิดเพื่อใชเปนสุสานเก็บรักษาศพ
ดวยการทํามัมมีและเขียนคัมภีรของคนตาย (Book of the Dead) ใสไวในที่ฝงศพ เชื่อวาวิญญาณ
เปนอมตะ
ภาพเขียนเทพเจา
เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 36 
เมื่อ ราว 4,000 ป กอนคริสตกาล มีการประดิษฐอักษรฮีโรกลิฟ มีความหมายวา “อักษรอัน
ศักดิ์สิทธิ์” เพราะใชบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับศาสนา บันทึกเปนอักษรภาพแสดงความหมายสิ่งตางๆ
ใชภาพแทนเสียงและพยัญชนะ ตอมาดัดแปลงเปนอักษรหวัดเรียก อักษรฮีราติก บันทึกเรื่องราว
ทั่วไปของรัฐและพระ ใชทางธุรกิจ อักษรเดโมติก เปนตัวเขียนงายๆและสะดวกนิยมเขียนในหมู
ประชาชน
อักษรฮีโรกลิฟ
การทํากระดาษจากตนกก เรียกปาปรัส อียิปตทํากระดาษเปนชาติแรก “paper” มาจากคําวา
papyrus หมึกเขียนใชยางไมละลายน้ําผสมเขมา ปากกาทําจากกานตนออ
การบันทึกดวยอักษรฮีโรกลิฟเปนความลับตลอด 2,000 ป ไมมีผูใดใชหรือแปลความหมาย
ได ความลับดังกลาวถูกคนพบในค.ศ. 1799 ทหารฝรั่งเศสชื่อบูรชารด พบแผนหินชนวน จารึก
อักษรฮีโรกลีฟ อักษรเดโมติก และอักษรกรีกโบราณ ที่เมืองโรเชตตา ในประเทศอียิปต ใน ค.ศ.
1822 นักโบราณคดีชาวฝรั่งเศส ชื่อ ฟรองซัวส ชองโปลิยอง สามารถถอดขอความอักษรฮีโรกลีฟ
ไดโดยเทียบเคียงกับอักษรกรีกโบราณ
แผนหินโรเชตตา (Rosetta Stone)
อียิปตมีความเจริญดานวิทยาศาสตรการแพทย มีการศึกษาวาหัวใจเปนศูนยกลางของระบบ
หมุนเวียนโลหิต สมองควบคุมแขนขา มีการทํามัมมีเพื่อเก็บรักษาศพ ดาน คณิตศาสตร
เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 37 
เรขาคณิต มีการคํานวณหาปริมาตรของปรามิด วิหาร คิดคนระบบการนับเลข คํานวณคาบวก ลบ
และหาร คํานวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมผืนผา และพื้นที่รูปทรงกระบอก คิดคนปฎิทินทาง
สุริยคติปหนึ่งมี 12 เดือน เดือนหนึ่งมี 30 วันและเพิ่มอีก 5 วันเปนวันสําคัญในชวงเดือนสุดทาย
ปลายปรวมเปน 365 วัน ศึกษาตําแหนงดวงจันทร ดวงดาว
การปกครอง กษัตริยเปนผูนําทางศาสนาและกองทัพ ปกครองโดยใชพระราชอํานาจผาน
คณะขาราชการ มีตําแหนงวิเชียร (vizier) เปนผูปฏิบัติราชการควบคุมการบริหาร
กลาวไดวาความรูทางวิทยาการของชาวอียิปตทางปรัชญา คณิตศาสตร วิทยาศาสตร
การแพทย การชลประทาน สถาปตยกรรมมีอิทธิพลตออารยธรรมตะวันตกในสมัยตอมา
เอกสารอางอิง
คณะกรรมการบริหารวิชาบูรณาการ.(2545). มรดกอารยธรรมโลก. กรุงเทพฯ:สํานักพิมพ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.คณะอักษรศาสตร.(2533). อารยธรรมสมัยโบราณ – สมัยกลาง.
กรุงเทพฯ:สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
วีณา ศรีธัญรัตน.(2545).อารยธรรมตะวันออกและตะวันตก.กรุงเทพฯ:ศิลปาบรรณาคาร.
Chandler,Fiona. (2548).โลกยุคโบราณ.แปลโดย ลอองทิพย อัมรินทรรัตน.กรุงเทพฯ: ปาเจรา.
John Malam,Anita Ganeri ,John D.Clare.Colin Hynson. (2551).อารยธรรมโบราณ โลกตะวันตก.
แปลโดย เอมอร เอาฬาร.พิมพครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ:ปาเจรา.
Hart,Adam. Editorial. (2007).History: The Definitive Visual Guide. Singapore.Dorling Kindersley.
Hurdman,Charlotte. World History Encyclopedia.(1998).UK.:Miles Kelly Publishing.
“The Culture of Ancient Egypt”[Online].http://www.erikpenn.com/theme/index.htm
“Map of Ancient Egypt’[Online].http://www.geocities.com/Athens/Ithaca/4396/EgyptMap.htm
“Roman”[Online]www.bible-history.com/rome/Romerome00000148.htm
“ancientegypt” [Online] http://www.ancientegypt.co.uk/menu.html
“Narmer”[Online]http://www.hitchins.net/AncEgypt.html
เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 38 
อารยธรรมกรีก – โรมัน ถือวาเปนตนแบบอารยธรรมตะวันตก เรียกวา Classic
ประเด็นคําถาม : ความเจริญของโลกในปจจุบันเกี่ยวของกับอารยธรรมกรีกและโรมันอยางไร
คําสําคัญ : คลาสิก ดราโกเนียน ออสตรกา
อารยธรรมกรีก
ปจจัยทางภูมิศาสตรกับการอาณาจักร อารยธรรมกรีกเดิมตั้งอยูบนชายฝงทะเลอีเจียนตอนใต
ติดทะเลเมดิเตอรเรเนียน และทะเลดํามีภูมิอากาศแบเมดิเตอรเรเนียน พื้นที่เปนภูเขาเปนอุปสรรค
ในการติดตอกันระหวางนครรัฐทําใหมีการปกครองตนเองเปนอิสระไมขึ้นตอกันและพื้นที่ไม
เหมาะในการทําการเกษตร จากที่มีอาณาเขตติดทะเลทําใหมีความเจริญทางการคา กรีกเรียกตนเอง
วา “ เฮเลน” เรียกดินแดนวา “ เฮลัส”หรือกรีซ (Greek) เรียกอารยธ รรมวา “เฮเลนิค” อารยธรรม
กรีกเริ่ม ประมาณ 1000 - คริสตศตวรรษที่ 4 กอนคริสตกาล
แผนที่อาณาจักรไมนวน ไมชีเนียนและกรีกโบราณ
บริเวณแถบคาบสมุทรเพลลอปปอนเนซุสเปนที่อยูของชนหลายกลุม ประชาชนเปนชนชาติ
อินโดยูโรเปยน ประวัติศาสตรในดินแดนนี้เริ่มจากไดรับอิทธิพลจากอารยธรรมไมนวนจาก
เกาะครีต 3,000 – 1,500 ป กอนคริสตกาล ตอมาเปนชวงอารยธรรมไมซีเนียน ที่เจริญชวง
ประมาณ 1,700 - 1,100 ปกอนคริสตกาล ชาวไมซีเนียนมีความเจริญ รูจักประดิษฐอักษรที่เรียกวา
ลิเนียร บี (Linear B)เขียนลงบนแผนดินเหนียว ทําการคาและเปนนักรบ ชวง 1,100 - 850 ป กอน
คริสตกาลพวกดอเรียนสรุกรานเปนชวงกรีกเขาสูยุคมืด ประชาชนยากลําบากไมสนใจความรูที่มี
มาแตเดิมเชน การชาง การเขียน เมื่อประมาณ 850 – 480 ปกอนคริสตกาลความเจริญที่เคยมี
ฟนฟูขึ้นใหม มีการปกครองแบบนครรัฐ (polis) และตอมาเริ่มมีการคาขาย เกิดนครรัฐตางๆ
บริเวณทะเลเมดิเตอรเรเนียน ทะเลดํา เชนสปารตาและเอเธนส ยุคคลาสสิก(Classical Period) ชวง
480 – 323 ป กอนคริสตกาลในชวงนี้มีมหากาพยของโฮเมอรเขียนเรื่องราวของสงครามทรอย
อีเลียดและโอเดสซี เปนที่มาของขนบธรรมเนียมและบรรทัดฐานทางสังคม คุณธรรมสูงสุดคือ
ความเสียสละ ความกลาหาญ รักเกียรติยศและเสรีภาพทั้งการบูชาเทพเจา ตอมาเปอรเชียรุกราน
เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 39 
กรีกเมื่อ 490 ป กอนคริสตกาลมีการสูรบที่เมืองมาราธอน กรีกมีชัยชนะ มีนักวิ่งเพื่อไปแจงขาวชัย
ชนะแกชาวเอเธนสโดยวิ่งในระยะทาง 26 ไมลเมื่อแจงขาวก็เสียชีวิต เฮโรโดตัส ไดเขียนหนังสือ
เกี่ยวกับสงครามเปอรเซีย เปนบันทึกทางประวัติศาสตร มีการอางอิงหลักฐานและอธิบายเหตุผล
เรื่องราวนั้น
กรีกมีหลายนครรัฐๆที่มีความเขมแข็งคือนครรัฐเอเธนส และนครรัฐสปารตา ตางแกงแยง
กันเปนผูนําของสมาพันธรัฐเพื่อตอตานการรุกรานจากเปอรเซีย นครรัฐเอเธนสไดรับเลือกเปนผูนํา
สมาพันธรัฐทําใหเอเธนสเริ่มมีอิทธิพลมากขึ้น ชวง 431 – 404 กอนคริสตกาลมีการสูรบกัน
ระหวางนครรัฐทั้งสองโดยมีนครรัฐตางๆสนับสนุนเรียกวาสงคราม เพลอปปอนนิเชียน
( Peloponnesian war) สูรบนาน 27 ป เอเธนสเปนฝายพายแพ ขณะที่ทั้งสองฝายเสียหาย ออนลา
จากการทําสงคราม นครรัฐมาซิโดเนียเริ่มมีความเขมแข็งตอมาป 338 กอนคริสตกาลพระเจาฟลลิป
ที่ 2 แหงมาซิโดเนียยึดครองกรีก 323 – 146 ป กอนคริสตกาลพระเจาอเล็กซานเดอรมหาราชแหง
มาซิโดเนียครองราชยตอไดขยายอํานาจไปถึงแอฟริกาและเอเชียใต อารยธรรมยุคที่พระเจาอเล็ก
ซานเดอรมหาราชปกครองเรียกอารยธรรมสมัยเฮเลนิสติค (Hellenistic)
มรดกทางอารยธรรม
การปกครอง 621 ป กอนคริสตกาล ดราโกนํากฏหมายที่มีบทลงโทษรุนแรงมาใช
ประมาณ 508 ปกอนคริสตกาล เอเธนสเริ่มระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยทางตรง เริ่มโดย
เพลิคลิส (Pericles) เปนผูนําเอเธนสทําใหประชาชนมีอํานาจปกครองตนเอง
แทนแบบเดิมที่ขุนนางปกครอง(คณาธิปไตย)และการปกครองโดยชนชั้นสูง
ที่มั่งคั่ง (อภิชนาธิปไตย) รวมทั้งแบบคนเดียวปกครอง(ทรราชย) โดยให
พลเมืองที่มีสิทธิออกเสียงในสภาเปนพลเมืองชาย อายุ 21 ปบริบูรณสามารถ
แสดงความคิดเห็นในการบริหารนครรัฐ อภิปรายเกี่ยวกับกฏหมายใหม แต
รูปปนเพลิคลิส ผูหญิงและทาสไมไดรับสิทธินี้
รูปแบบการปกครองแบบประชาธิปไตยของเอเธนส
1. สภาราษฏร สมาชิกคือผูที่มีสิทธิลงคะแนนเสียงทั้งหมด ทําหนาที่พิจารณารางกฏหมาย
2. สภาหารอย หรือสภาสูง เลือกมาจากเผาตางๆ 10 เผาๆ 50 คนอยูในวาระๆ 1 ป ทําหนาที่นิติ
บัญญัติ บริหาร และที่ปรึกษา
3. ตุลาการ การพิจารณาคดีโดยศาลประชาชนเรียกวา เฮลิอากา ประกอบดวยลูกขุน 6,000 คน
มาจากพลเมืองชาวเอเธนสแบงเปน 10 คณะๆ 500 คน สํารอง 1,000 คน ทําหนาที่ตัดสินคดี
ระบบออสตราซิซึม(Ostracism) คือการออกเสียงขับไลนักการเมืองเพื่อปองกันนักการเมือง
ที่ประพฤติตัวไมดี ใชอํานาจในทางที่ผิด ประชาชนเขียนชื่อนักการเมืองผูนั้นลงบนแผนอิฐเผา
เรียกวา ออสตรากา(ostraka) หากนับได 60,000 เสียงผูนั้นตองถูกเนรเทศเปนเวลา 10 ป
เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 40 
นครรัฐสปารตาเปนรัฐทหารปกครองโดยกลุม
ผูนําสามถึง4 คนเนนความเด็ดขาด ประชาชนตองมี
คุณภาพ แข็งแรง ชายทุกคนตองเปนทหาร
ศิลปกรรม นิยมความงามของสรีระมนุษย
ปฏิมากรรมหินออนที่เหมือนจริง สถาปตยกรรม
หัวเสาแบบตางๆรองรับหลังคาวิหาร เนนที่หัวเสามี 3 แบบคือ
ดอริค ไอโอนิค คอรินเธียน
วิหารที่สรางขึ้นมาเพื่อใชบูชาเทพเจาหัวเสาแบบคอรินเธียน วิหารเทพอพอลโล หัวเสาแบบดอริก
โรงละครกลางแจง
วิทยาการแนวคิด กรีกสนใจโลกนอกตัวมนุษย อยากรูอยากเห็น เนนการตั้งคําถาม และ
แสวงหาคําตอบอยางมีเหตุผล หาขอสรุปจากความคิดสรางสรรค นักปรัชญาที่มีชื่อเสียงคือ เพลโต
(กลุมจิตนิยม) ศึกษาความจริงเรื่อง “แบบ” ถือวาผูปกครองที่ดีตองเปนนักปราชญรอบรู โสเครติส
ถือวา เนนหลักจริยธรรม “ความรูคือคุณธรรม”(knowledge is virtue)สอนใหมนุษยพิจารณาตัวเอง
เสมอ ยึดถือการรูจักตนเอง ใชการถาม-ตอบเพื่อแสวงหาคําตอบ ศิษยของโสเครติสคืออริสโตเติล
มีแนวคิดวา “ปญญาเปนความสุขสูงสุด” เปดโรงเรียนชื่อ The Academy อารคิเมดิสแหงไซราคิวส
คนพบความถวงจําเพาะ ปโตเลมี เสนอทฤษฎีการหักเหของแสง พีทากอรัส คิดสูตรคณิตศาสตรวา
ดวยมุมที่ถูกตองของสามเหลี่ยม ฮิปโปคราติส บิดาทางการแพทยคิดระบบการวินิจฉัยโรคโดย
การเฝาสังเกตอาการ
เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 41 
ศาสนา กรีกนับถือเทพเจาหลายองค มีการแขงขันกีฬาโอลิมปกเพื่อถวายแดเทพซูส ที่ยอด
เขาโอลิมปส เมืองโอลิมเปย
คําถามทายบท
1. มรดกอารยธรรมที่กรีกถายทอดมายังปจจุบันมีอะไรบาง
2. เพราะเหตุใดเฮโรโดตัสจึงไดรับยกยองเปนบิดาแหงประวัติศาสตร
พัฒนาการของมนุษยและมรดกอารยธรรมโรมัน
จุดประสงคการเรียนรู
เปรียบเทียบการปกครองและผลกระทบของกรีกและโรมันได
ประเด็นคําถาม : เพราะเหตุใดโรมันจึงมีกองทัพที่แข็งแกรง
ปจจัยทางภูมิศาสตร อาณาจักรโรมันตั้งอยูบนคาบสมุทรอิตาลี ในทะเลเมดิเตอรเรเนียน
มีที่ราบลุมแมน้ําไทเบอรและที่ราบชายฝงทะเล มีภูเขาสลับ กรุงโรมตั้งอยูบนฝงแมน้ําไทเบอร
บนเนินเขาทางตอนกลางของอิตาลี ลักษณะภูมิประเทศสามารถปองกันภัยรุกรานไดดี บริเวณ
คาบสมุทรอิตาลีเปนที่อยูของกลุมชนชาวกรีก โรมันและอีทรัสกัน
แผนที่จักรวรรดิ์โรมันสมัย (96 A.D. - 180 A.D.)
การกอตั้งกรุงโรม ประมาณศตวรรษที่ 8 กอนคริสตกาล ตามตํานานเริ่มเมื่อพวกลาตินมาตั้ง
ถิ่นฐานบริเวณลุมน้ําไทเบอรเรียกที่ราบลาติอุมโดยกษัตริย นูมิเตอร ตั้งถิ่นฐาน ตอมาถูกอมูเลียส ผู
เปนนองชิงราชสมบัติ และจับหลานคือ โรมิวลุสและเรมุสใสตะกราลอยน้ําไทเบอรแมสุนัขปาพบ
เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 42 
และเลี้ยงดู เมื่อโตขึ้นจึงชิงราชสมบัติคืนตั้งอาณาจักรขึ้นเมื่อ 753 ปกอนคริสตกาลตั้งชื่ออาณาจักร
วา โรม จนถึง 509 ปกอนคริสตกาล ชาวอีทรัสกัน อพยพมาจากเอเชียไมเนอรมีอิทธิพลชวง
ศตวรรษที่ 7-6 กอนคริสตกาลปกครองชาวโรมันมีการถายทอดอารยธรรมของอีทัสกัน เชน
ศิลปกรรมการสรางหลังคาทรงโดม การแตงกาย การใชอาวุธมัดหวายมีขวานสอด (ฟาสซิส)
ประมาณ 510 ปกอนคริสตกาล ชาวอีทรัสกันถูกชาวโรมันโคนลมอํานาจขับไลออกไปจาก
อาณาจักร โรมันขยายอํานาจปกครองทั่วคาบสมุทรอิตาลีและเริ่มปกครองตนเองแบบสาธารณรัฐ
เมื่อ 509 ปกอนคริสตกาล ชวงที่ขยายอาณาเขตไปในยุโรปและแอฟริกาตอนเหนือคือ 246 -146 ป
ไดทําสงครามกับนครคารเธจเรียกสงครามปวนิค (Punic Wars) มีการรบ 3 ครั้ง
218 – 201 ปกอนคริสตกาลเกิดสงครามปวนิคครั้งที่ 2 ผูนํานครคารเธจชื่อฮันนิบาลยกทัพ
มายังโรมันดวยกองทัพชาง จากสเปนผานฝรั่งเศสและขามภูเขาแอลปสไปอิตาลี สุดทายโรมันมีชัย
ชนะเมื่อ146 ปกอนคริสตกาล และขยายอาณาเขตไปรอบทะเลเมดิเตอรเรเนียนยึดครองกรีกเมื่อ
100 ปกอนคริสตกาล โรมันมีกองทัพที่เขมแข็งมีระเบียบวินัยมีความสามารถในการรบ กองทัพ
สามารถเคลื่อนกําลังไดรวดเร็วเพราะมีการสรางถนนเชื่อมโยงเปนเครือขายถนนตัดตรงใชระบบนํา
หินผิวเรียบมาวางพื้นถนน ถนนสายแรกคือสายแอมเปยน (Appian) ในกรุงโรม โรมันรับเอา
อารยธรรมของอีทรัสกันมาคือการตอสูเรียกวากลาดิเอเตอร (gladiator) สูในสนามกีฬาที่สรางดวย
หินที่เรียกวา แอมฟเธียเตอร(amphitheatres) กีฬาที่ไดรับการนิยมมากคือการแขงรถศึก จัดใน
สนามแขงเรียก เซอรคัส (circus)
คอลอสเซียม ถนนสายแรก Appian
เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 43 
การลมสลายของจักรวรรดิ์โรมัน ในค.ศ. 476 โรมมันเสื่อมถูกยึดครองโดยอนารยชนเผา
เยอรมันตางๆมีพวกแวนดัล ออสโตกอท วิทิกอทรุกรานนําโดยโอโดเอเซอรตั้งตนเองเปนกษัตริย
ปกครอง โรมันยายศูนยกลางไปที่ไบเซ็นไทน เรียกวาโรมันตะวันออก มีเมืองหลวงอยูที่กรุง
คอนแสตนติโนเปล
มรดกทางอารยธรรม
การปกครอง โรมันแบงสมัยการปกครองเปน 2 ระยะ คือ สมัยสาธารณรัฐ เริ่มเมื่อ 509 -27 ป
กอนคริสตกาล และสมัยจักรวรรดิเริ่มเมื่อ 27 ปกอนคริสตกาลถึง ค.ศ. 476 จักรพรรดิองคแรกที่
ปกครองคือ ออกุสตุส
1. การปกครองแบบสาธารณรัฐ
กงสุล มีจํานวน 2 คน มีอํานาจเทากัน เลือกจากชนชั้นสูงคือพวกแพทริเชียน อยูในตําแหนงครั้ง
ละ 1 ปทําหนาที่เปนประมุขในการบริหาร การทหาร นิติบัญัญติ และตุลาการ
สภาเซเนท ประกอบดวยสมาชิก 300 คนเรียก เชเนเตอร เลือกจากพวกแพทริเซียนโดยกงศุล
เปนผูแตงตั้ง อยูในตําแหนงตลอดชีวิต ทําหนาที่ควบคุมการคลัง ตางประเทศ ตัดสินคดี ประกาศ
สงคราม บัญญัติกฎหมาย
สภาราษฎร(สภาสามัญ Assembly) ประกอบดวยประชาชนชาวโรมมันทั้งพวกแพทริเชียนและ
เพลเบียน เรียกวาโคมิตาคิวริเอตา มีหนาที่แตงตั้งกงศุลและเจาหนาที่บริหาร ใหความยินยอมหรือ
ปฏิเสธกฏหมายที่กงศุลและสภาซีเนทนําเสนอ
พวกเพลเบียนมักถูกกรีดกันจากตําแหนงทางกงศุล และสภาซีเนท ในป 450 กอนคริสตกาล ได
มีรางกฎหมายเปนลายลักษณอักษรฉบับแรก เรียก “กฏหมายสิบสองโตะ” (Law of the Twelve
Tables) ระบุสิทธิและหนาที่ของชนทั้งสอง ใหสิทธิเพลเบียนออกกฎหมายรวมกับแพทริเชียน
และมีสภาของตนเองเรียก ไทรเบิล ทําหนาที่ออกกฎหมายและแตงตั้งผูแทนของตน เรียก ทรีบูน
จํานวน 10 คน และมีบทลงโทษที่รุนแรง
ตอนปลายจูเลียส ซีซาร ดํารงตําแหนงกงศุล เกิดการขัดแยงกันในสภาเซเนท ซีซารจึงรวบ
อํานาจนํากองทัพรีเจนทที่ชนะศึกจากแควนโกล ยกทัพเขาสูกรุงโรมตั้งตนเปนกษัตริยในป 49
กอนคริสตกาล ตอมาไดถูกสมาชิกสภาเซเนทลอบสังหารในป 44 กอนคริสตกาล
2. สมัยจักรรรดิ
การปกครองแบบสาธารณรัฐของโรมเหมาะสมกับสภาพแวดลอมและดินแดนในขณะนั้น
ตอมามีการแผขยายอาณาจักรรูปแบบการปกครองจึงเปลี่ยนเปนจักรวรรดิ มีจักรพรรดิเปนประมุข
สูงสุด อํานาจการปกครองอยูที่จักรพรรดิเพียงผูเดียวรูปแบบการปกครองดินแดนตางๆแตกตางกัน
เชนใหกรีกปกครองแบบนครรัฐ การปกครองมีที่งโยงอํานาจสูสวนกลางและการกระจายอํานาจ
เริ่มในสมัยป 27 กอนคริสตกาล จักรพรรดิคนแรกคือ ออกุสตุส สภาพการเมืองมีการแยงชิงอํานาจ
เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 44 
ชวง ค.ศ. 96 – 180 เปนสมัยสันติภาพโรมัน (Pax Romana) ประชาชนทุกคนเสมอภาคกันอยูภายใต
กฏหมายสิบสองโตะ จนถึง ค.ศ. 476 โอโดเอเซอร แมทัพเผาเยอรมันบุกยึดกรุงโรม ปลดจักรพรรดิ
โรมิวลุส ออกุสตุส
ความเจริญยายไปที่อาณาจักรไบแซนไทน( โรมันตะวันออก) จักรพรรดิ์คอนแสตนตินสราง
เมืองหลวงที่ไบเซ็นตอุม ตอมาเปลี่ยนชื่อเปนคอนสแตนติโนเปล
วิทยาการ และแนวคิด
โรมันเปนนักปฏิบัติรับการถายทอดอารยธรรมจากอีทรัสกัน และอารยธรรมกรีกนํามา
พัฒนาเนนการใชประโยชนทางปฏิบัติ
ระบบสาธารณสุขเนนสุขภาพอนามัย มีการสรางสวมที่เปนของชุมชน นําน้ําสมสายชูมา
ใชทําความสะอาดฆาเชื้อโรคในหองสวม มีที่อาบน้ําสาธารณะ มีการสรางระบบการขนสงน้ํา
ขนาดใหญเรียก อะควีดักต (Aqueduct) สรางเพื่อลําเลียงน้ําจากแมน้ําสูตัวเมือง ที่สาธารณะ และมี
ทอระบายน้ําเสียจากตัวอาคารฝงไวใตดิน กรแพทย ผาตัดเอาเด็กออกทางหนาทองแบบซีซาร
การใชอิฐ หินจากลาวา ในการกอสรางงานขนาดใหญเชน วิหาร และคอลอสเซียม ใชหัว
เสาแบบ ดอริค ไอโอนิคและคอรินเธียน อาคารสรางแบบประตูโคง (Arch) หลังคาทรงโดม
การสรางถนนอัดหินและทรายเปนชั้นๆ ปูทับดวยแผนหิน
ทอสงน้ําที่เมืองเชโกเวีย สมัยจักรพรรดิทราจัน
ความเชื่อในเทพเจา รับอิทธิพลมาจากกรีก นักปรัชญาเมธีที่สําคัญเชน ซิเซโร นําเอากฎ
ธรรมชาติมาผนวกเขากับแนวคิดรัฐ โลกความยุติธรรมตามธรรมชาติ
นักกวีที่เดนคือเวอรจิล (70 - 43 ปกอนคริสตกาล)เขียนมหากาพยเรื่อง เอเนียด เพื่อเชิดชู
เกียรติของจักรพรรดิ ออกุสตุส
เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 45 
เอกสารอางอิง
คณะกรรมการบริหารวิชาบูรณาการ.(2545). มรดกอารยธรรมโลก. กรุงเทพมหานคร:สํานักพิมพ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.คณะอักษรศาสตร. (2533).อารยธรรมสมัยโบราณ – สมัยกลาง.
กรุงเทพมหานคร:สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
Chandler,Fiona.(2548).โลกยุคโบราณ.แปลโดย ลอองทิพย อัมรินทรรัตน.กรุงเทพมหานคร: ปาเจรา.
Hart,Adam. Editorial.(2007). History: The Definitive Visual Guide.Singapore.Dorling
Kindersley.
Hurdman,Charlotte. (1998).World History Encyclopedia.UK.:Miles Kelly Publishing.
“The Culture of Ancient Egypt”[Online].http://www.erikpenn.com/theme/index.htm
”Map of Ancient Egypt’[Online].http://www.geocities.com/Athens/Ithaca/4396/EgyptMap.htm
“Roman”[Online]www.bible-history.com/rome/Romerome00000148.htm

More Related Content

Similar to กรีก โรม

Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1krunoree.wordpress.com
 
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
 คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ  คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ Islamic Invitation
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
Military power
Military powerMilitary power
Military powerTeeranan
 
พื้นฐานชีวิต 22.pptx
พื้นฐานชีวิต 22.pptxพื้นฐานชีวิต 22.pptx
พื้นฐานชีวิต 22.pptxSunnyStrong
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet apeemai12
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าTeeranan
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกHeritagecivil Kasetsart
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Arom Chumchoengkarn
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลางอิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลางOmm Suwannavisut
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นsumanan vanict
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
อารยธรรมโลกสมัยโบราณ เมโสโปเตเมีย
อารยธรรมโลกสมัยโบราณ เมโสโปเตเมียอารยธรรมโลกสมัยโบราณ เมโสโปเตเมีย
อารยธรรมโลกสมัยโบราณ เมโสโปเตเมียPIMNAPA NARAJARUPA
 

Similar to กรีก โรม (20)

Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
 
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
 คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ  คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
Greek roman
Greek romanGreek roman
Greek roman
 
Military power
Military powerMilitary power
Military power
 
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรมUnit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
 
พื้นฐานชีวิต 22.pptx
พื้นฐานชีวิต 22.pptxพื้นฐานชีวิต 22.pptx
พื้นฐานชีวิต 22.pptx
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet a
 
Tutor social science
Tutor social scienceTutor social science
Tutor social science
 
ข้อสอบ
ข้อสอบข้อสอบ
ข้อสอบ
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลางอิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
อารยธรรมโลกสมัยโบราณ เมโสโปเตเมีย
อารยธรรมโลกสมัยโบราณ เมโสโปเตเมียอารยธรรมโลกสมัยโบราณ เมโสโปเตเมีย
อารยธรรมโลกสมัยโบราณ เมโสโปเตเมีย
 

กรีก โรม

  • 1. เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 31  บทที่ 5 ปจจัยทางภูมิศาสตรที่มีอิทธิพลตอพัฒนาการของมนุษยในแหลงกําเนิดอารยธรรมโลก : แมน้ําไทกรีส – ยูเฟรติสและแมน้ําไนล : พัฒนาการของมนุษยและมรดกอารยธรรมอียิปต อารยธรรมกรีก อารยธรรมโรมัน : เปรียบเทียบพัฒนาการของมนุษยและมรดกอารยธรรมโบราณ เมโสโปเตเมีย อียิปต กรีก โรมัน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 4. รูและเขาใจปจจัยทางภูมิศาสตรที่มีผลตอการสรางสรรคและพัฒนาการของมนุษยชาติใน แหลงอารยธรรมตะวันออกและตะวันตก ตั้งแตอดีตจนปจจุบันได 5. วิเคราะหการสรางสรรคพัฒนาการของมนุษยชาติ ในแหลงอารยธรรมตะวันออกและ ตะวันตก ที่มีผลตอพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงดานสังคม การเมืองและเศรษฐกิจ ตลอดจน ผลกระทบที่เกิดจากการสรางสรรคพัฒนาการของมนุษยชาติในดานตาง ๆ ที่นําไปสูการพัฒนาและ การเปลี่ยนแปลงโลก จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายปจจัยที่ทําใหเกิดแหลงอารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปตได 2. เปรียบเทียบลักษณะการปกครองและผลกระทบของกรีกและโรมันได ประเด็นคําถาม : ดินแดนเมโสโปเตเมีย และอียิปตมีลักษณะทางภูมิศาสตรอยางไรที่มีความสําคัญ ตอการสรางสรรคความเจริญในดินแดนดังกลาว : ทําไมหลักฐาน การบันทึกเรื่องราวตางๆของเมโสโปเตเมียจึงไดจากแผนดิน เหนียว ดินแดนเมโสโปเตเมียเปนดินแดนระหวางแมน้ําทั้งสอง คือแมน้ําไทกรีส และยูเฟรติส มีชน หลายเผาอาศัยอยู ปจจุบันดินแดนสวนใหญอยูในประเทศอิรัก บางสวนอยูในประเทศซีเรียและ ตุรกี พื้นที่ตอนเหนือเรียกแอสซีเรีย ตอนใตเรียกซูเมอร สมัยตอมาคือบาบิโลน แผนที่เมโสโปเตเมีย จาก http//:go2worldpress.com
  • 2. เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 32  เมโสโปเตเมียมีแหลงน้ําที่ไดจากการละลายของหิมะจากเทือกเขาใกลทะเลดําไหลผาน ทะเลทราย แมน้ํายูเฟรติสยาวและไหลเชี่ยว ทําใหเกิดน้ําทวมทุกป ระดับน้ําที่ไมแนนอนเมื่อน้ํา ทวมสองฝงจึงแกปญหาโดยการขุดคลองระบายน้ําเขาสูทุงนา เปนการสรางระบบชลประทาน บริเวณนี้มีอากาศรอนและแหงแลงในฤดูรอนหนาวในฤดูหนาว มีปริมาณน้ําฝนนอย ดินแดนเมโสโปเตเมียมีชนหลายกลุมเขามาตั้งถิ่นฐาน ชนกลุมแรกคือชาวสุเมเรียนตั้งถิ่น ฐานอยูใกลดินดอนสามเหลี่ยมปากแมน้ํา ประมาณ 3,500, - 1,900 ป กอนคริสตกาล เรียกดินแดน ที่ตั้งถิ่นฐานวา “ซูเมอร” มีการสรางเมือง เออรุก(Uruk)โดยกษัตริยกิลกาเมช ชาวอักคาเดียนเขา มาเมื่อ ประมาณ 2,334 – 2,150 ป กอนคริสตกาล ชาวบาบิโลนเขาเมื่อประมาณ 1,792 -539 ป กอนคริสตกาล มีกษัตริยที่เดนคือพระเจาฮัมมูราบี ทรงสรางประมวลกฏหมาย ชาวอัสซีเรียนเขามา ประมาณ 1,200 -612 ป กอนคริสตกาล เมโสโปเตเมียไมมีพรมแดนธรรมชาติที่ชัดเจน 2 ฝงแมน้ํา เปนที่ราบทําใหมีการบุกรุกและยึดครองพื้นที่ในเมโสโปเตเมีย แตไมสามารถรวบรวมอาณาจักรให เปนปกแผนไดตอเนื่อง อักษรคูนิฟอรม ซิกกูแรท เมือง Ur พัฒนาการของมนุษยและมรดกทางอารยธรรม พัฒนาการดานตางๆของชาวสุเมเรียนปรากฏจากหลักฐานแผนดินเหนียวจารึกอักษรคูนิฟอรม (อักษรรูปลิ่ม)ราวๆ 3,000 ป กอนคริสตกาล บันทึกเกี่ยวกับระบบการนับเปนหนวยๆละ 60 แบง วงกลมเทากับผลคูณของเลข 60 คือ 360 องศา คิดคนระบบการนับเลขเปนหนวย สิบ รอย พัน (ทศนิยม) การแบงวัน กลางวันมี12 ชั่วโมงเวลากลางคืน 12 ชั่วโมง ประดิษฐปฏิทินแบงเปน 12 เดือน นับเดือนระบบจันทรคติ และพบหลักฐานทางประวัติศสตรเปนแผนดินเหนียวบันทึกโนต ดนตรีใชเลนกับพิณ ขลุย ฟลุต ชาวสุเมเรียนเปนกลุมแรกที่อธิบายถึงทางชางเผือกโดยพระเปนผูสังเกตทองฟาเวลากลางคืน และบันทึกตําแหนงดาวฤกษและดาวเคราะห ขางขึ้น ขางแรมเพราะเชื่อวาดาวฤกษและดาวเคราะห เปนลางบอกเหตุลวงหนาแกคนบนโลก การปกครองมีการจัดระบบการปกครองแบบนครรัฐ มี 12 นครรัฐ ประชากรประมาณ 20,000 – 250,000 คน ผูนําสุเมเรียนเปนผูนําทางศาสนาและทางทหารดวย มีการจัดทํากฏหมายจารึกบน
  • 3. เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 33  แผนดินเหนียวเผา หรือสลักบนแผนหินวางไวที่สาธารณะ เชนประมวลกฏหมายพระเจาฮัมมูราบี ผูปกครองบาบิโลนตั้งแต 1,728 – 1,685 ป กอนคริสตกาล แกะสลักเปนอักษรรูปลิ่มบนเสาหินสีดํา สูง 2.2 เมตร แบงกฏหมายเปนสวนๆเชนการคา ที่ดิน ครอบครัว วรรณกรรมที่สําคัญและเกาแกที่สุดในโลกคือ มหากาพยกิลกาเมช (The Epic of Gilgamesh) เปนเรื่องของพระเจากิลกาเมชและการแสวงหาชีวิตอมตะ ทําใหพบกับอัตนาพิชทิม ผูรอดชีวิตจากน้ําทวมครั้งใหญโดยสรางเรือและขนสัตวทั้งหลายในโลก ความเชื่อเรื่องเทพเจา นับถือเทพเจาหลายองค เชื่อวาเทพเจาเปนผูสรางมนุษย มีการ สรางวิหารเพื่อบูชาเทพเจาและสรางซิกูแรทเพื่อใชทําพิธีกรรม ดวยลักษณะภูมิประเทศดังกลาวทําใหมีการทําภาชนะดินเผามากมาย ตอมาทําเครื่องแกว แจกันราว 1,600 ป กอนคริสตกาล นอกจากนี้ยังประดิษฐลอ ลอที่ประดิษฐครั้งแรกใชเปนเครื่งอ มือทําเครื่องปนดินเผาเมื่อ 4,700 ป กอนคริสตกาล ตอมาพัฒนาเปนลอรถใชในการทําสงคราม และขนสงทําจากไมตัน ตอกัน และลอซี่ อารยธรรมลุมแมน้ําไนล แผนที่อารยธรรมลุมแมน้ําไนล หรืออารยธรรมอียิปต ประเด็นคําถาม 1. ปจจัยทางภูมิศาสตรเรื่องใดที่มีผลตอพัฒนาการของอารยธรรมอียิปต 2. ความเจริญแถบลุมน้ําไนลที่ถายทอดมายังปจจุบันอยางไร
  • 4. เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 34  3. กุญแจที่ไขความลับของอียิปตคืออะไร อียิปตตั้งอยูตอนบนของแอฟริกา ทางทิศตะวันตก และตะวันออกเปนทะเลทรายมีแมน้ํา ไนลไหลจากทิศใตไปทางทิศเหนือลงสูทะเลเมดิเตอรเรเนียน อารยธรรมอียิปตเริ่มจากสองฝงแมน้ําไนล “อียิปต” เปนชื่อที่ชาวกรีกเรียกบริเวณแมน้ํา ไนลวาอียิปต ชาวอียิปตเรียกดินแดนตนเองวา “ดินแดนสีดํา”(black land) อียิปตมีดินที่อุดม สมบูรณ ฤดูน้ําหลาก น้ําพัดพาตะกอนดินดํามาทับถมสองฝงและบริเวณปากแมน้ําเปนดินดอน สามเหลี่ยม น้ําทวมเดือนกรกฏาคมเมื่อน้ําลดลงจะทิ้งโคลนตะกอนไวเปนปุยเหมาะในการ เพาะปลูก การตั้งอาณาจักรอียิปตมีความสัมพันธกับธรรมชาติ ที่ราบลุมแมน้ําไนลขนาบดวย ทะเลทรายสะฮารา และทะเลทรายทางตะวันตก ทะเลแดง อาณาจักรเริ่มมีชุมชนเล็กๆเมื่อประมาณ 4,000 ป กอนคริสตกาล อียิปตสมัยโบราณประกอบดวย 1. อียิปตบน(Upper Egypt) อยูทางทิศใตบริเวณที่แมน้ําไหลผานภูเขา หุบเขา เนินเขาที่ แหงแลง 2. อียิปตลาง (Lower Egypt) อยูบริเวณที่แมน้ําแตกสาขาเปนรูปพัด ไหลลงสูทะเลเมดิ เตอรเรเนียน ภาพแกะสลักกษัตริยนารเมอรมีชัยชนะเหนืออียิปตลาง จาก www.hitchins.net/AncEgypt.html ประมาณ 3,000 ป กอนคริสตกาล กษัตริยนารเมอร(Narmer)หรือเมเนส(Menes) แหง อียิปตบนสามารถรวมอาณาจักรอียิปตบนและอียิปตลางเขาดวยกัน ตั้งเมืองหลวงที่ เมมฟส และตั้ง ราชวงศแรกปกครองอียิปตตั้งแต 3,000 ป กอนคริสตกาลจนถึง 332 ป กอนคริสตกาล มีราชวงศ ทั้งหมด 30 ราชวงศ แบงชวงเวลาออกเปน 3 สมัย 1. สมัยอาณาจักรเกา 3,100 – 2,050 ป กอนคริสตกาล นารเมอรตั้งตนเปนฟาโรหปกครองมี อํานาจสูงสุดทรงเปนผูสืบเชื้อสายจากดวงอาทิตย การปกครองเรียกระบบเทวาธิปไตย สมัยนี้นิยม
  • 5. เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 35  สรางปรามิดๆที่สําคัญคือที่เมืองกิเซห ที่ใหญที่สุดคือปรามิดของฟาโรหคูฟู สรางเมื่อ 2500 ปกอน คริสตกาลสูง 481 ฟุต คลุมพื้นที่ 32 ไรครึ่ง ปรามิดประมาณ 60 แหง เรียงรายอยูทางฝงตะวันตกใกล แมน้ําไนล จากความเชื่อวาวิญญาณเปนอมตะและจะปกปกรักษาอาณาจักรอียิปตจึงมีการเก็บรักษา ศพไมใหเนาเปอยโดยการทําเปนมัมมี่ 2. สมัยอาณาจักรกลาง 2,050-1,560 ป กอนคริสตกาล หลังจากอาณาจักรเกาสิ้นสุดลงเกิดความ ระส่ําระสาย กษัตริยราชวงศที่ 12 รวมอียิปตเปนปกแผนยายราชธานีมาอยูที่เมือง ธีบส(Thebes) ทางอียิปตบน มีการขุดคลองเชื่อมแมน้ําไนล ตอมาถูกพวกฮิกซอสรุกรานและปกครองอียิปตเปน เวลา 110 ป 3. สมัยอาณาจักรใหม (สมัยจักรวรรดิ) 1,560 -1087 ป กอนคริสตกาล เจาชายอาโมสขับไล พวกฮิกซอสจากอียิปต ตั้งราชวงศที่ 18 ปกครอง สมัยนี้รุงเรืองสุดในสมัย ฟาโรหทัตโมสที่ 3 มีการ ฝงศพตามหนาผาริมฝงแมน้ําไนล 332 - 30 ป กอนคริสตกาลตกอยูภายใตการครอบครองของกรีกและมาซิโดเนีย หลังจาก 30 ป กอนคริสตกาลตกอยูภายใตอาณาจักรโรมัน พัฒนาการทางประวัติศาสตรที่แสดงถึงการสรางอารยธรรม ปรามิดที่คูฟู ศาสนาและความเชื่อ อียิปตนับถือเทพเจาหลายองคเทพเจาที่สําคัญคือเทพเจาเร หรือ รา มีความเชื่อเรื่องชีวิตหลังความตายและการฟนคืนชีพจึงสรางปรามิดเพื่อใชเปนสุสานเก็บรักษาศพ ดวยการทํามัมมีและเขียนคัมภีรของคนตาย (Book of the Dead) ใสไวในที่ฝงศพ เชื่อวาวิญญาณ เปนอมตะ ภาพเขียนเทพเจา
  • 6. เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 36  เมื่อ ราว 4,000 ป กอนคริสตกาล มีการประดิษฐอักษรฮีโรกลิฟ มีความหมายวา “อักษรอัน ศักดิ์สิทธิ์” เพราะใชบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับศาสนา บันทึกเปนอักษรภาพแสดงความหมายสิ่งตางๆ ใชภาพแทนเสียงและพยัญชนะ ตอมาดัดแปลงเปนอักษรหวัดเรียก อักษรฮีราติก บันทึกเรื่องราว ทั่วไปของรัฐและพระ ใชทางธุรกิจ อักษรเดโมติก เปนตัวเขียนงายๆและสะดวกนิยมเขียนในหมู ประชาชน อักษรฮีโรกลิฟ การทํากระดาษจากตนกก เรียกปาปรัส อียิปตทํากระดาษเปนชาติแรก “paper” มาจากคําวา papyrus หมึกเขียนใชยางไมละลายน้ําผสมเขมา ปากกาทําจากกานตนออ การบันทึกดวยอักษรฮีโรกลิฟเปนความลับตลอด 2,000 ป ไมมีผูใดใชหรือแปลความหมาย ได ความลับดังกลาวถูกคนพบในค.ศ. 1799 ทหารฝรั่งเศสชื่อบูรชารด พบแผนหินชนวน จารึก อักษรฮีโรกลีฟ อักษรเดโมติก และอักษรกรีกโบราณ ที่เมืองโรเชตตา ในประเทศอียิปต ใน ค.ศ. 1822 นักโบราณคดีชาวฝรั่งเศส ชื่อ ฟรองซัวส ชองโปลิยอง สามารถถอดขอความอักษรฮีโรกลีฟ ไดโดยเทียบเคียงกับอักษรกรีกโบราณ แผนหินโรเชตตา (Rosetta Stone) อียิปตมีความเจริญดานวิทยาศาสตรการแพทย มีการศึกษาวาหัวใจเปนศูนยกลางของระบบ หมุนเวียนโลหิต สมองควบคุมแขนขา มีการทํามัมมีเพื่อเก็บรักษาศพ ดาน คณิตศาสตร
  • 7. เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 37  เรขาคณิต มีการคํานวณหาปริมาตรของปรามิด วิหาร คิดคนระบบการนับเลข คํานวณคาบวก ลบ และหาร คํานวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมผืนผา และพื้นที่รูปทรงกระบอก คิดคนปฎิทินทาง สุริยคติปหนึ่งมี 12 เดือน เดือนหนึ่งมี 30 วันและเพิ่มอีก 5 วันเปนวันสําคัญในชวงเดือนสุดทาย ปลายปรวมเปน 365 วัน ศึกษาตําแหนงดวงจันทร ดวงดาว การปกครอง กษัตริยเปนผูนําทางศาสนาและกองทัพ ปกครองโดยใชพระราชอํานาจผาน คณะขาราชการ มีตําแหนงวิเชียร (vizier) เปนผูปฏิบัติราชการควบคุมการบริหาร กลาวไดวาความรูทางวิทยาการของชาวอียิปตทางปรัชญา คณิตศาสตร วิทยาศาสตร การแพทย การชลประทาน สถาปตยกรรมมีอิทธิพลตออารยธรรมตะวันตกในสมัยตอมา เอกสารอางอิง คณะกรรมการบริหารวิชาบูรณาการ.(2545). มรดกอารยธรรมโลก. กรุงเทพฯ:สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.คณะอักษรศาสตร.(2533). อารยธรรมสมัยโบราณ – สมัยกลาง. กรุงเทพฯ:สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วีณา ศรีธัญรัตน.(2545).อารยธรรมตะวันออกและตะวันตก.กรุงเทพฯ:ศิลปาบรรณาคาร. Chandler,Fiona. (2548).โลกยุคโบราณ.แปลโดย ลอองทิพย อัมรินทรรัตน.กรุงเทพฯ: ปาเจรา. John Malam,Anita Ganeri ,John D.Clare.Colin Hynson. (2551).อารยธรรมโบราณ โลกตะวันตก. แปลโดย เอมอร เอาฬาร.พิมพครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ:ปาเจรา. Hart,Adam. Editorial. (2007).History: The Definitive Visual Guide. Singapore.Dorling Kindersley. Hurdman,Charlotte. World History Encyclopedia.(1998).UK.:Miles Kelly Publishing. “The Culture of Ancient Egypt”[Online].http://www.erikpenn.com/theme/index.htm “Map of Ancient Egypt’[Online].http://www.geocities.com/Athens/Ithaca/4396/EgyptMap.htm “Roman”[Online]www.bible-history.com/rome/Romerome00000148.htm “ancientegypt” [Online] http://www.ancientegypt.co.uk/menu.html “Narmer”[Online]http://www.hitchins.net/AncEgypt.html
  • 8. เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 38  อารยธรรมกรีก – โรมัน ถือวาเปนตนแบบอารยธรรมตะวันตก เรียกวา Classic ประเด็นคําถาม : ความเจริญของโลกในปจจุบันเกี่ยวของกับอารยธรรมกรีกและโรมันอยางไร คําสําคัญ : คลาสิก ดราโกเนียน ออสตรกา อารยธรรมกรีก ปจจัยทางภูมิศาสตรกับการอาณาจักร อารยธรรมกรีกเดิมตั้งอยูบนชายฝงทะเลอีเจียนตอนใต ติดทะเลเมดิเตอรเรเนียน และทะเลดํามีภูมิอากาศแบเมดิเตอรเรเนียน พื้นที่เปนภูเขาเปนอุปสรรค ในการติดตอกันระหวางนครรัฐทําใหมีการปกครองตนเองเปนอิสระไมขึ้นตอกันและพื้นที่ไม เหมาะในการทําการเกษตร จากที่มีอาณาเขตติดทะเลทําใหมีความเจริญทางการคา กรีกเรียกตนเอง วา “ เฮเลน” เรียกดินแดนวา “ เฮลัส”หรือกรีซ (Greek) เรียกอารยธ รรมวา “เฮเลนิค” อารยธรรม กรีกเริ่ม ประมาณ 1000 - คริสตศตวรรษที่ 4 กอนคริสตกาล แผนที่อาณาจักรไมนวน ไมชีเนียนและกรีกโบราณ บริเวณแถบคาบสมุทรเพลลอปปอนเนซุสเปนที่อยูของชนหลายกลุม ประชาชนเปนชนชาติ อินโดยูโรเปยน ประวัติศาสตรในดินแดนนี้เริ่มจากไดรับอิทธิพลจากอารยธรรมไมนวนจาก เกาะครีต 3,000 – 1,500 ป กอนคริสตกาล ตอมาเปนชวงอารยธรรมไมซีเนียน ที่เจริญชวง ประมาณ 1,700 - 1,100 ปกอนคริสตกาล ชาวไมซีเนียนมีความเจริญ รูจักประดิษฐอักษรที่เรียกวา ลิเนียร บี (Linear B)เขียนลงบนแผนดินเหนียว ทําการคาและเปนนักรบ ชวง 1,100 - 850 ป กอน คริสตกาลพวกดอเรียนสรุกรานเปนชวงกรีกเขาสูยุคมืด ประชาชนยากลําบากไมสนใจความรูที่มี มาแตเดิมเชน การชาง การเขียน เมื่อประมาณ 850 – 480 ปกอนคริสตกาลความเจริญที่เคยมี ฟนฟูขึ้นใหม มีการปกครองแบบนครรัฐ (polis) และตอมาเริ่มมีการคาขาย เกิดนครรัฐตางๆ บริเวณทะเลเมดิเตอรเรเนียน ทะเลดํา เชนสปารตาและเอเธนส ยุคคลาสสิก(Classical Period) ชวง 480 – 323 ป กอนคริสตกาลในชวงนี้มีมหากาพยของโฮเมอรเขียนเรื่องราวของสงครามทรอย อีเลียดและโอเดสซี เปนที่มาของขนบธรรมเนียมและบรรทัดฐานทางสังคม คุณธรรมสูงสุดคือ ความเสียสละ ความกลาหาญ รักเกียรติยศและเสรีภาพทั้งการบูชาเทพเจา ตอมาเปอรเชียรุกราน
  • 9. เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 39  กรีกเมื่อ 490 ป กอนคริสตกาลมีการสูรบที่เมืองมาราธอน กรีกมีชัยชนะ มีนักวิ่งเพื่อไปแจงขาวชัย ชนะแกชาวเอเธนสโดยวิ่งในระยะทาง 26 ไมลเมื่อแจงขาวก็เสียชีวิต เฮโรโดตัส ไดเขียนหนังสือ เกี่ยวกับสงครามเปอรเซีย เปนบันทึกทางประวัติศาสตร มีการอางอิงหลักฐานและอธิบายเหตุผล เรื่องราวนั้น กรีกมีหลายนครรัฐๆที่มีความเขมแข็งคือนครรัฐเอเธนส และนครรัฐสปารตา ตางแกงแยง กันเปนผูนําของสมาพันธรัฐเพื่อตอตานการรุกรานจากเปอรเซีย นครรัฐเอเธนสไดรับเลือกเปนผูนํา สมาพันธรัฐทําใหเอเธนสเริ่มมีอิทธิพลมากขึ้น ชวง 431 – 404 กอนคริสตกาลมีการสูรบกัน ระหวางนครรัฐทั้งสองโดยมีนครรัฐตางๆสนับสนุนเรียกวาสงคราม เพลอปปอนนิเชียน ( Peloponnesian war) สูรบนาน 27 ป เอเธนสเปนฝายพายแพ ขณะที่ทั้งสองฝายเสียหาย ออนลา จากการทําสงคราม นครรัฐมาซิโดเนียเริ่มมีความเขมแข็งตอมาป 338 กอนคริสตกาลพระเจาฟลลิป ที่ 2 แหงมาซิโดเนียยึดครองกรีก 323 – 146 ป กอนคริสตกาลพระเจาอเล็กซานเดอรมหาราชแหง มาซิโดเนียครองราชยตอไดขยายอํานาจไปถึงแอฟริกาและเอเชียใต อารยธรรมยุคที่พระเจาอเล็ก ซานเดอรมหาราชปกครองเรียกอารยธรรมสมัยเฮเลนิสติค (Hellenistic) มรดกทางอารยธรรม การปกครอง 621 ป กอนคริสตกาล ดราโกนํากฏหมายที่มีบทลงโทษรุนแรงมาใช ประมาณ 508 ปกอนคริสตกาล เอเธนสเริ่มระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยทางตรง เริ่มโดย เพลิคลิส (Pericles) เปนผูนําเอเธนสทําใหประชาชนมีอํานาจปกครองตนเอง แทนแบบเดิมที่ขุนนางปกครอง(คณาธิปไตย)และการปกครองโดยชนชั้นสูง ที่มั่งคั่ง (อภิชนาธิปไตย) รวมทั้งแบบคนเดียวปกครอง(ทรราชย) โดยให พลเมืองที่มีสิทธิออกเสียงในสภาเปนพลเมืองชาย อายุ 21 ปบริบูรณสามารถ แสดงความคิดเห็นในการบริหารนครรัฐ อภิปรายเกี่ยวกับกฏหมายใหม แต รูปปนเพลิคลิส ผูหญิงและทาสไมไดรับสิทธินี้ รูปแบบการปกครองแบบประชาธิปไตยของเอเธนส 1. สภาราษฏร สมาชิกคือผูที่มีสิทธิลงคะแนนเสียงทั้งหมด ทําหนาที่พิจารณารางกฏหมาย 2. สภาหารอย หรือสภาสูง เลือกมาจากเผาตางๆ 10 เผาๆ 50 คนอยูในวาระๆ 1 ป ทําหนาที่นิติ บัญญัติ บริหาร และที่ปรึกษา 3. ตุลาการ การพิจารณาคดีโดยศาลประชาชนเรียกวา เฮลิอากา ประกอบดวยลูกขุน 6,000 คน มาจากพลเมืองชาวเอเธนสแบงเปน 10 คณะๆ 500 คน สํารอง 1,000 คน ทําหนาที่ตัดสินคดี ระบบออสตราซิซึม(Ostracism) คือการออกเสียงขับไลนักการเมืองเพื่อปองกันนักการเมือง ที่ประพฤติตัวไมดี ใชอํานาจในทางที่ผิด ประชาชนเขียนชื่อนักการเมืองผูนั้นลงบนแผนอิฐเผา เรียกวา ออสตรากา(ostraka) หากนับได 60,000 เสียงผูนั้นตองถูกเนรเทศเปนเวลา 10 ป
  • 10. เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 40  นครรัฐสปารตาเปนรัฐทหารปกครองโดยกลุม ผูนําสามถึง4 คนเนนความเด็ดขาด ประชาชนตองมี คุณภาพ แข็งแรง ชายทุกคนตองเปนทหาร ศิลปกรรม นิยมความงามของสรีระมนุษย ปฏิมากรรมหินออนที่เหมือนจริง สถาปตยกรรม หัวเสาแบบตางๆรองรับหลังคาวิหาร เนนที่หัวเสามี 3 แบบคือ ดอริค ไอโอนิค คอรินเธียน วิหารที่สรางขึ้นมาเพื่อใชบูชาเทพเจาหัวเสาแบบคอรินเธียน วิหารเทพอพอลโล หัวเสาแบบดอริก โรงละครกลางแจง วิทยาการแนวคิด กรีกสนใจโลกนอกตัวมนุษย อยากรูอยากเห็น เนนการตั้งคําถาม และ แสวงหาคําตอบอยางมีเหตุผล หาขอสรุปจากความคิดสรางสรรค นักปรัชญาที่มีชื่อเสียงคือ เพลโต (กลุมจิตนิยม) ศึกษาความจริงเรื่อง “แบบ” ถือวาผูปกครองที่ดีตองเปนนักปราชญรอบรู โสเครติส ถือวา เนนหลักจริยธรรม “ความรูคือคุณธรรม”(knowledge is virtue)สอนใหมนุษยพิจารณาตัวเอง เสมอ ยึดถือการรูจักตนเอง ใชการถาม-ตอบเพื่อแสวงหาคําตอบ ศิษยของโสเครติสคืออริสโตเติล มีแนวคิดวา “ปญญาเปนความสุขสูงสุด” เปดโรงเรียนชื่อ The Academy อารคิเมดิสแหงไซราคิวส คนพบความถวงจําเพาะ ปโตเลมี เสนอทฤษฎีการหักเหของแสง พีทากอรัส คิดสูตรคณิตศาสตรวา ดวยมุมที่ถูกตองของสามเหลี่ยม ฮิปโปคราติส บิดาทางการแพทยคิดระบบการวินิจฉัยโรคโดย การเฝาสังเกตอาการ
  • 11. เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 41  ศาสนา กรีกนับถือเทพเจาหลายองค มีการแขงขันกีฬาโอลิมปกเพื่อถวายแดเทพซูส ที่ยอด เขาโอลิมปส เมืองโอลิมเปย คําถามทายบท 1. มรดกอารยธรรมที่กรีกถายทอดมายังปจจุบันมีอะไรบาง 2. เพราะเหตุใดเฮโรโดตัสจึงไดรับยกยองเปนบิดาแหงประวัติศาสตร พัฒนาการของมนุษยและมรดกอารยธรรมโรมัน จุดประสงคการเรียนรู เปรียบเทียบการปกครองและผลกระทบของกรีกและโรมันได ประเด็นคําถาม : เพราะเหตุใดโรมันจึงมีกองทัพที่แข็งแกรง ปจจัยทางภูมิศาสตร อาณาจักรโรมันตั้งอยูบนคาบสมุทรอิตาลี ในทะเลเมดิเตอรเรเนียน มีที่ราบลุมแมน้ําไทเบอรและที่ราบชายฝงทะเล มีภูเขาสลับ กรุงโรมตั้งอยูบนฝงแมน้ําไทเบอร บนเนินเขาทางตอนกลางของอิตาลี ลักษณะภูมิประเทศสามารถปองกันภัยรุกรานไดดี บริเวณ คาบสมุทรอิตาลีเปนที่อยูของกลุมชนชาวกรีก โรมันและอีทรัสกัน แผนที่จักรวรรดิ์โรมันสมัย (96 A.D. - 180 A.D.) การกอตั้งกรุงโรม ประมาณศตวรรษที่ 8 กอนคริสตกาล ตามตํานานเริ่มเมื่อพวกลาตินมาตั้ง ถิ่นฐานบริเวณลุมน้ําไทเบอรเรียกที่ราบลาติอุมโดยกษัตริย นูมิเตอร ตั้งถิ่นฐาน ตอมาถูกอมูเลียส ผู เปนนองชิงราชสมบัติ และจับหลานคือ โรมิวลุสและเรมุสใสตะกราลอยน้ําไทเบอรแมสุนัขปาพบ
  • 12. เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 42  และเลี้ยงดู เมื่อโตขึ้นจึงชิงราชสมบัติคืนตั้งอาณาจักรขึ้นเมื่อ 753 ปกอนคริสตกาลตั้งชื่ออาณาจักร วา โรม จนถึง 509 ปกอนคริสตกาล ชาวอีทรัสกัน อพยพมาจากเอเชียไมเนอรมีอิทธิพลชวง ศตวรรษที่ 7-6 กอนคริสตกาลปกครองชาวโรมันมีการถายทอดอารยธรรมของอีทัสกัน เชน ศิลปกรรมการสรางหลังคาทรงโดม การแตงกาย การใชอาวุธมัดหวายมีขวานสอด (ฟาสซิส) ประมาณ 510 ปกอนคริสตกาล ชาวอีทรัสกันถูกชาวโรมันโคนลมอํานาจขับไลออกไปจาก อาณาจักร โรมันขยายอํานาจปกครองทั่วคาบสมุทรอิตาลีและเริ่มปกครองตนเองแบบสาธารณรัฐ เมื่อ 509 ปกอนคริสตกาล ชวงที่ขยายอาณาเขตไปในยุโรปและแอฟริกาตอนเหนือคือ 246 -146 ป ไดทําสงครามกับนครคารเธจเรียกสงครามปวนิค (Punic Wars) มีการรบ 3 ครั้ง 218 – 201 ปกอนคริสตกาลเกิดสงครามปวนิคครั้งที่ 2 ผูนํานครคารเธจชื่อฮันนิบาลยกทัพ มายังโรมันดวยกองทัพชาง จากสเปนผานฝรั่งเศสและขามภูเขาแอลปสไปอิตาลี สุดทายโรมันมีชัย ชนะเมื่อ146 ปกอนคริสตกาล และขยายอาณาเขตไปรอบทะเลเมดิเตอรเรเนียนยึดครองกรีกเมื่อ 100 ปกอนคริสตกาล โรมันมีกองทัพที่เขมแข็งมีระเบียบวินัยมีความสามารถในการรบ กองทัพ สามารถเคลื่อนกําลังไดรวดเร็วเพราะมีการสรางถนนเชื่อมโยงเปนเครือขายถนนตัดตรงใชระบบนํา หินผิวเรียบมาวางพื้นถนน ถนนสายแรกคือสายแอมเปยน (Appian) ในกรุงโรม โรมันรับเอา อารยธรรมของอีทรัสกันมาคือการตอสูเรียกวากลาดิเอเตอร (gladiator) สูในสนามกีฬาที่สรางดวย หินที่เรียกวา แอมฟเธียเตอร(amphitheatres) กีฬาที่ไดรับการนิยมมากคือการแขงรถศึก จัดใน สนามแขงเรียก เซอรคัส (circus) คอลอสเซียม ถนนสายแรก Appian
  • 13. เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 43  การลมสลายของจักรวรรดิ์โรมัน ในค.ศ. 476 โรมมันเสื่อมถูกยึดครองโดยอนารยชนเผา เยอรมันตางๆมีพวกแวนดัล ออสโตกอท วิทิกอทรุกรานนําโดยโอโดเอเซอรตั้งตนเองเปนกษัตริย ปกครอง โรมันยายศูนยกลางไปที่ไบเซ็นไทน เรียกวาโรมันตะวันออก มีเมืองหลวงอยูที่กรุง คอนแสตนติโนเปล มรดกทางอารยธรรม การปกครอง โรมันแบงสมัยการปกครองเปน 2 ระยะ คือ สมัยสาธารณรัฐ เริ่มเมื่อ 509 -27 ป กอนคริสตกาล และสมัยจักรวรรดิเริ่มเมื่อ 27 ปกอนคริสตกาลถึง ค.ศ. 476 จักรพรรดิองคแรกที่ ปกครองคือ ออกุสตุส 1. การปกครองแบบสาธารณรัฐ กงสุล มีจํานวน 2 คน มีอํานาจเทากัน เลือกจากชนชั้นสูงคือพวกแพทริเชียน อยูในตําแหนงครั้ง ละ 1 ปทําหนาที่เปนประมุขในการบริหาร การทหาร นิติบัญัญติ และตุลาการ สภาเซเนท ประกอบดวยสมาชิก 300 คนเรียก เชเนเตอร เลือกจากพวกแพทริเซียนโดยกงศุล เปนผูแตงตั้ง อยูในตําแหนงตลอดชีวิต ทําหนาที่ควบคุมการคลัง ตางประเทศ ตัดสินคดี ประกาศ สงคราม บัญญัติกฎหมาย สภาราษฎร(สภาสามัญ Assembly) ประกอบดวยประชาชนชาวโรมมันทั้งพวกแพทริเชียนและ เพลเบียน เรียกวาโคมิตาคิวริเอตา มีหนาที่แตงตั้งกงศุลและเจาหนาที่บริหาร ใหความยินยอมหรือ ปฏิเสธกฏหมายที่กงศุลและสภาซีเนทนําเสนอ พวกเพลเบียนมักถูกกรีดกันจากตําแหนงทางกงศุล และสภาซีเนท ในป 450 กอนคริสตกาล ได มีรางกฎหมายเปนลายลักษณอักษรฉบับแรก เรียก “กฏหมายสิบสองโตะ” (Law of the Twelve Tables) ระบุสิทธิและหนาที่ของชนทั้งสอง ใหสิทธิเพลเบียนออกกฎหมายรวมกับแพทริเชียน และมีสภาของตนเองเรียก ไทรเบิล ทําหนาที่ออกกฎหมายและแตงตั้งผูแทนของตน เรียก ทรีบูน จํานวน 10 คน และมีบทลงโทษที่รุนแรง ตอนปลายจูเลียส ซีซาร ดํารงตําแหนงกงศุล เกิดการขัดแยงกันในสภาเซเนท ซีซารจึงรวบ อํานาจนํากองทัพรีเจนทที่ชนะศึกจากแควนโกล ยกทัพเขาสูกรุงโรมตั้งตนเปนกษัตริยในป 49 กอนคริสตกาล ตอมาไดถูกสมาชิกสภาเซเนทลอบสังหารในป 44 กอนคริสตกาล 2. สมัยจักรรรดิ การปกครองแบบสาธารณรัฐของโรมเหมาะสมกับสภาพแวดลอมและดินแดนในขณะนั้น ตอมามีการแผขยายอาณาจักรรูปแบบการปกครองจึงเปลี่ยนเปนจักรวรรดิ มีจักรพรรดิเปนประมุข สูงสุด อํานาจการปกครองอยูที่จักรพรรดิเพียงผูเดียวรูปแบบการปกครองดินแดนตางๆแตกตางกัน เชนใหกรีกปกครองแบบนครรัฐ การปกครองมีที่งโยงอํานาจสูสวนกลางและการกระจายอํานาจ เริ่มในสมัยป 27 กอนคริสตกาล จักรพรรดิคนแรกคือ ออกุสตุส สภาพการเมืองมีการแยงชิงอํานาจ
  • 14. เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 44  ชวง ค.ศ. 96 – 180 เปนสมัยสันติภาพโรมัน (Pax Romana) ประชาชนทุกคนเสมอภาคกันอยูภายใต กฏหมายสิบสองโตะ จนถึง ค.ศ. 476 โอโดเอเซอร แมทัพเผาเยอรมันบุกยึดกรุงโรม ปลดจักรพรรดิ โรมิวลุส ออกุสตุส ความเจริญยายไปที่อาณาจักรไบแซนไทน( โรมันตะวันออก) จักรพรรดิ์คอนแสตนตินสราง เมืองหลวงที่ไบเซ็นตอุม ตอมาเปลี่ยนชื่อเปนคอนสแตนติโนเปล วิทยาการ และแนวคิด โรมันเปนนักปฏิบัติรับการถายทอดอารยธรรมจากอีทรัสกัน และอารยธรรมกรีกนํามา พัฒนาเนนการใชประโยชนทางปฏิบัติ ระบบสาธารณสุขเนนสุขภาพอนามัย มีการสรางสวมที่เปนของชุมชน นําน้ําสมสายชูมา ใชทําความสะอาดฆาเชื้อโรคในหองสวม มีที่อาบน้ําสาธารณะ มีการสรางระบบการขนสงน้ํา ขนาดใหญเรียก อะควีดักต (Aqueduct) สรางเพื่อลําเลียงน้ําจากแมน้ําสูตัวเมือง ที่สาธารณะ และมี ทอระบายน้ําเสียจากตัวอาคารฝงไวใตดิน กรแพทย ผาตัดเอาเด็กออกทางหนาทองแบบซีซาร การใชอิฐ หินจากลาวา ในการกอสรางงานขนาดใหญเชน วิหาร และคอลอสเซียม ใชหัว เสาแบบ ดอริค ไอโอนิคและคอรินเธียน อาคารสรางแบบประตูโคง (Arch) หลังคาทรงโดม การสรางถนนอัดหินและทรายเปนชั้นๆ ปูทับดวยแผนหิน ทอสงน้ําที่เมืองเชโกเวีย สมัยจักรพรรดิทราจัน ความเชื่อในเทพเจา รับอิทธิพลมาจากกรีก นักปรัชญาเมธีที่สําคัญเชน ซิเซโร นําเอากฎ ธรรมชาติมาผนวกเขากับแนวคิดรัฐ โลกความยุติธรรมตามธรรมชาติ นักกวีที่เดนคือเวอรจิล (70 - 43 ปกอนคริสตกาล)เขียนมหากาพยเรื่อง เอเนียด เพื่อเชิดชู เกียรติของจักรพรรดิ ออกุสตุส
  • 15. เอกสารประกอบการเรียนวิชา ส40105:อารยธรรมโลก หนา 45  เอกสารอางอิง คณะกรรมการบริหารวิชาบูรณาการ.(2545). มรดกอารยธรรมโลก. กรุงเทพมหานคร:สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.คณะอักษรศาสตร. (2533).อารยธรรมสมัยโบราณ – สมัยกลาง. กรุงเทพมหานคร:สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. Chandler,Fiona.(2548).โลกยุคโบราณ.แปลโดย ลอองทิพย อัมรินทรรัตน.กรุงเทพมหานคร: ปาเจรา. Hart,Adam. Editorial.(2007). History: The Definitive Visual Guide.Singapore.Dorling Kindersley. Hurdman,Charlotte. (1998).World History Encyclopedia.UK.:Miles Kelly Publishing. “The Culture of Ancient Egypt”[Online].http://www.erikpenn.com/theme/index.htm ”Map of Ancient Egypt’[Online].http://www.geocities.com/Athens/Ithaca/4396/EgyptMap.htm “Roman”[Online]www.bible-history.com/rome/Romerome00000148.htm