SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
สรุปผลการดำเนินงาน<br />การศึกษาตามโครงงาน สืบสานสายสัมพันธุ์โนนธาตุโนนแท่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ <br /> ศึกษาความสำคัญของโบราณสถานโนนแท่น ความสัมพันธ์ระหว่างชาวบ้านกับชาวบ้าน       ความเชื่อความศรัทราของชาวบ้านบ้านบึงสวางและชาวบ้านในตำบลบ้านเหล่า อำเภอบ้านฝาง              จ.ขอนแก่น รวมทั้งศึกษาความแตกต่างของประเพณี ความแตกต่างในด้านความเชื่อ โดยเปรียบเทียบแต่ละรุ่นอายุคนมีว่าการเปลี่ยนแปลงจากอดีตจนถึงปัจจุบันอย่างไร และศึกษาแนวทางการอนุรักษ์รักษาโบราณสถานโนนแท่นและประเพณีโนนธาตุโนนแท่น<br />โดยการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง  และภาคสนาม  ได้มีการจัดกิจกรรมขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูล  โดยแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน  ดังนี้  1. การรวบรวมข้อมูล  2. การอภิปรายกลุ่มย่อย  3. การวิเคราะห์และเรียบเรียงข้อมูล  และ 4. นำเสนอผลงาน<br />ผลการศึกษาปรากฏดังนี้<br />โนนแท่นเป็นโบราณสถานที่มีมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์  จากคำบอกเล่าของคุณพ่อสิงห์  เมืองซ้าย อายุ 73 ปี และการค้นพบของกรมศิลปากร เมื่อปี พ.ศ.2520  พบหลักฐานที่แสดงถึงการดำรงชีวิต พิธีกรรมและความเชื่อสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในราวพุทธศตวรรษที่   16-18 จากหลักฐานที่ค้นพบมีความเป็นไปได้ว่าหลักฐานเหล่านั้นจะอยู่ยุคโลหะ เพราะพบโบราณวัตถุ เช่น โครงกระดูกมนุษย์ เครื่องประดับเครื่องปั้นดินเผา ภาชนะสำริดหล่อเนื้อบางพิเศษ มีลวดลายแบบต่างๆ เครื่องมือ-เหล็ก ผอบ เครื่องประดับ เช่น กำไรสำริด ตุ้มหู แหวน และลูกปัดสีต่างๆ และพบโบราณสถานศิลาแลง ฐานศิวลึงค์ พระที่ทำจากหินทราย และพบกลุ่มใบเสมาอยู่บริเวณรอบสถานที่เป็นเขตสังฆกรรมในพระพุทธศาสนา นอกจากนี้ยังพบโครงกระดูกมนุษย์ที่ค่อนข้างจะสมบูรณ์นั้นพบเครื่องประดับติดอยู่กับข้อมือของโครงงกกระดูกด้วย ปัจจุบันโครงกระดูกที่ค่อนข้างจะสมบูรณ์ดังกล่าวถูกนำไปเก็บไว้ในโกฏิทองอย่างดี  ส่วนเครื่องประดับต่างๆ ส่วนมากอยู่ที่กุฏิของพระอาจารย์ปรีชา  เขมาภิรโต ท่านได้เก็บไว้ในตู้โชว์อย่างดีเพื่อที่จะเตรียมจัดทำเป็นพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในอนาคติอีกไม่นานนี้  <br />สำหรับโบราณสถานฐานศิลาแลงนั้นชาวบ้านได้สร้างศาลาโปล่งโล่งครอบไว้ และชาวบ้านได้ประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปั้นไว้เหนือแท่นศิลาแลงด้านทิศตะวันตก ซึ่งปัจจุบันโนนแท่น(ฐานศิลาแลง)ก็เป็นที่เคารพและยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวบ้านในบ้านบึงสว่างและหมู่บ้านใก้เคียงหลายหมู่บ้าน  ส่วนพระปางที่ทำจากหินทรายมีสภาพที่ไม่สมบูรณ์ คือ ไม่มีเศียร ไม่มีมือ และไม่มีเท้า สภาพของพระปางยังค่อนข้างคงเดิมเหมือนตอนที่ค้นพบ ปัจจุบันตั้งไว้ที่หน้าพระพุทธรูปข้างฐานศิลาแลง  ส่วนฐานศิวลึงค์ ตั้งอยู่ที่เดิมของการค้นพบตั้งแต่แรกคือ ด้านหลังพระพุทธรูปที่ประดิษฐานบนฐานศิลาแลงในปัจจุบันและทางด้านทิศตะวันตกของโบราณสถานศิลาแลงห่างไปประมาณ 90 เมตรเป็นกลุ่มใบเสมาที่ยังมีสภาพค่อนข้างที่จะคงเดิมอาจจะสึกกร่อนไปบ้างเล็กน้อย<br />  ราว ปี พ.ศ.2533 ชาวบ้านเริ่มห่างหายไปเรื่อยๆจากที่เคยมีชาวบ้านหลากหลายหมู่บ้านเดินทางมาทำพิธีที่พระแท่น แต่ในตอนนี้มีเพียงชาวบ้านที่อยู่ใกล้เคียงไม่กี่หมู่บ้านเท่านั้นที่มาทำบุญโนนธาตุโนนแท่น จากการสอบถามชาวบ้านหมู่บ้านบึงสวางได้ให้ข้อมูลว่ามีผู้คนที่ไปทำบุญที่โนนแท่นมีหมู่บ้านละไม่ถึง 10 คนเท่านั้น  การที่คนห่างหายไปจากการเดินทางมาทำบุญที่โนนแท่นนั้น อาจจะเกิดจากเทคโนโลยีที่ทันสมัยในยุคปัจจุบัน ความไม่สามัคคีเหมือนแต่ก่อน ดังนั้นจึงมีการฟื้นฟูและอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีที่มีมาแต่ดั้งเดิม โดยเริ่มจากพ.ศ.2546  พระอาจารย์ปรีชา  เขมาภิรโต ได้เริ่มทำการฟื้นฟูประเพณีโนนธาตุโนนแท่นอย่างจริงจัง โดยเริ่มจากประสานงานไปยังผู้นำชุมชนหรือหมู่บ้านที่เคยมีการมาทำบุญโนนธาตุโนนแท่นที่บ้านบึงสวาง ประสานงานไปยังชาวบ้านที่สนใจว่าให้มาช่วยกันร่วมกันฟื้นฟูประเพณีเก่าแก่ที่บรรพบุรุษของเราสืบทอดกันมาให้ยังคงอยู่ต่อไปจนถึงรุ่นลูกหลาน ผลปรากฏว่าชาวบ้านให้ความสนใจมากขึ้นๆทุกปี ถือได้ว่าประสบความสำเร็จในระดับหนึ่งในการฟื้นฟูประเพณีที่เก่าแก่และโบราณสถานที่สำคัญในท้องถิ่นชองเรา<br />
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า

More Related Content

What's hot

04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันnoi1
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นlek5899
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยwittawat_name
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 

What's hot (20)

04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 

Viewers also liked

รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
บทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการบทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการBeeiiz Gubee
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
วัดศรีสวาย2
วัดศรีสวาย2วัดศรีสวาย2
วัดศรีสวาย2Gamonros
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลJimmy Pongpisut Santumpol
 
การพับกระดาษ
การพับกระดาษการพับกระดาษ
การพับกระดาษnochaya
 
เรื่อง การพับกระดาษ
เรื่อง การพับกระดาษเรื่อง การพับกระดาษ
เรื่อง การพับกระดาษbskkru
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานFreshsica Chunyanuch
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานสรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานSirilag Maknaka
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพZnackiie Rn
 
Advantages and disadvantages of presentation methods in EFL
Advantages and disadvantages of presentation methods in EFLAdvantages and disadvantages of presentation methods in EFL
Advantages and disadvantages of presentation methods in EFLMiroslava Pavlova-Anevska
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Tanakorn Pansupa
 

Viewers also liked (20)

รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
 
บทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการบทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการ
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
วัดศรีสวาย2
วัดศรีสวาย2วัดศรีสวาย2
วัดศรีสวาย2
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
เผ็ดจังหม่าล่า
เผ็ดจังหม่าล่าเผ็ดจังหม่าล่า
เผ็ดจังหม่าล่า
 
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
 
การพับกระดาษ
การพับกระดาษการพับกระดาษ
การพับกระดาษ
 
เรื่อง การพับกระดาษ
เรื่อง การพับกระดาษเรื่อง การพับกระดาษ
เรื่อง การพับกระดาษ
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
 
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานสรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
 
Advantages and disadvantages of presentation methods in EFL
Advantages and disadvantages of presentation methods in EFLAdvantages and disadvantages of presentation methods in EFL
Advantages and disadvantages of presentation methods in EFL
 
กิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศกิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศ
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 

Similar to สรุปผลการศึกษาค้นคว้า

เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชนเล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชนหรร 'ษๅ
 
งานคอม3
งานคอม3งานคอม3
งานคอม3tanarak
 
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำเล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีเล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีหรร 'ษๅ
 
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวเครือข่าย ปฐมภูมิ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อKrujanppm2017
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลpentanino
 
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาThongsawan Seeha
 
เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้านเล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้านหรร 'ษๅ
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)yana54
 
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญเล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญหรร 'ษๅ
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638soawaphat
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10kruchaily
 

Similar to สรุปผลการศึกษาค้นคว้า (16)

หน่วยที่๗
หน่วยที่๗หน่วยที่๗
หน่วยที่๗
 
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชนเล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน
 
งานคอม3
งานคอม3งานคอม3
งานคอม3
 
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำเล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
 
เล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีเล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณี
 
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
 
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา
 
เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้านเล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญเล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
 
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวนร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
 
จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8
 

สรุปผลการศึกษาค้นคว้า

  • 1. สรุปผลการดำเนินงาน<br />การศึกษาตามโครงงาน สืบสานสายสัมพันธุ์โนนธาตุโนนแท่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ <br /> ศึกษาความสำคัญของโบราณสถานโนนแท่น ความสัมพันธ์ระหว่างชาวบ้านกับชาวบ้าน ความเชื่อความศรัทราของชาวบ้านบ้านบึงสวางและชาวบ้านในตำบลบ้านเหล่า อำเภอบ้านฝาง จ.ขอนแก่น รวมทั้งศึกษาความแตกต่างของประเพณี ความแตกต่างในด้านความเชื่อ โดยเปรียบเทียบแต่ละรุ่นอายุคนมีว่าการเปลี่ยนแปลงจากอดีตจนถึงปัจจุบันอย่างไร และศึกษาแนวทางการอนุรักษ์รักษาโบราณสถานโนนแท่นและประเพณีโนนธาตุโนนแท่น<br />โดยการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และภาคสนาม ได้มีการจัดกิจกรรมขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูล โดยแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การรวบรวมข้อมูล 2. การอภิปรายกลุ่มย่อย 3. การวิเคราะห์และเรียบเรียงข้อมูล และ 4. นำเสนอผลงาน<br />ผลการศึกษาปรากฏดังนี้<br />โนนแท่นเป็นโบราณสถานที่มีมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ จากคำบอกเล่าของคุณพ่อสิงห์ เมืองซ้าย อายุ 73 ปี และการค้นพบของกรมศิลปากร เมื่อปี พ.ศ.2520 พบหลักฐานที่แสดงถึงการดำรงชีวิต พิธีกรรมและความเชื่อสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในราวพุทธศตวรรษที่ 16-18 จากหลักฐานที่ค้นพบมีความเป็นไปได้ว่าหลักฐานเหล่านั้นจะอยู่ยุคโลหะ เพราะพบโบราณวัตถุ เช่น โครงกระดูกมนุษย์ เครื่องประดับเครื่องปั้นดินเผา ภาชนะสำริดหล่อเนื้อบางพิเศษ มีลวดลายแบบต่างๆ เครื่องมือ-เหล็ก ผอบ เครื่องประดับ เช่น กำไรสำริด ตุ้มหู แหวน และลูกปัดสีต่างๆ และพบโบราณสถานศิลาแลง ฐานศิวลึงค์ พระที่ทำจากหินทราย และพบกลุ่มใบเสมาอยู่บริเวณรอบสถานที่เป็นเขตสังฆกรรมในพระพุทธศาสนา นอกจากนี้ยังพบโครงกระดูกมนุษย์ที่ค่อนข้างจะสมบูรณ์นั้นพบเครื่องประดับติดอยู่กับข้อมือของโครงงกกระดูกด้วย ปัจจุบันโครงกระดูกที่ค่อนข้างจะสมบูรณ์ดังกล่าวถูกนำไปเก็บไว้ในโกฏิทองอย่างดี ส่วนเครื่องประดับต่างๆ ส่วนมากอยู่ที่กุฏิของพระอาจารย์ปรีชา เขมาภิรโต ท่านได้เก็บไว้ในตู้โชว์อย่างดีเพื่อที่จะเตรียมจัดทำเป็นพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในอนาคติอีกไม่นานนี้ <br />สำหรับโบราณสถานฐานศิลาแลงนั้นชาวบ้านได้สร้างศาลาโปล่งโล่งครอบไว้ และชาวบ้านได้ประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปั้นไว้เหนือแท่นศิลาแลงด้านทิศตะวันตก ซึ่งปัจจุบันโนนแท่น(ฐานศิลาแลง)ก็เป็นที่เคารพและยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวบ้านในบ้านบึงสว่างและหมู่บ้านใก้เคียงหลายหมู่บ้าน ส่วนพระปางที่ทำจากหินทรายมีสภาพที่ไม่สมบูรณ์ คือ ไม่มีเศียร ไม่มีมือ และไม่มีเท้า สภาพของพระปางยังค่อนข้างคงเดิมเหมือนตอนที่ค้นพบ ปัจจุบันตั้งไว้ที่หน้าพระพุทธรูปข้างฐานศิลาแลง ส่วนฐานศิวลึงค์ ตั้งอยู่ที่เดิมของการค้นพบตั้งแต่แรกคือ ด้านหลังพระพุทธรูปที่ประดิษฐานบนฐานศิลาแลงในปัจจุบันและทางด้านทิศตะวันตกของโบราณสถานศิลาแลงห่างไปประมาณ 90 เมตรเป็นกลุ่มใบเสมาที่ยังมีสภาพค่อนข้างที่จะคงเดิมอาจจะสึกกร่อนไปบ้างเล็กน้อย<br /> ราว ปี พ.ศ.2533 ชาวบ้านเริ่มห่างหายไปเรื่อยๆจากที่เคยมีชาวบ้านหลากหลายหมู่บ้านเดินทางมาทำพิธีที่พระแท่น แต่ในตอนนี้มีเพียงชาวบ้านที่อยู่ใกล้เคียงไม่กี่หมู่บ้านเท่านั้นที่มาทำบุญโนนธาตุโนนแท่น จากการสอบถามชาวบ้านหมู่บ้านบึงสวางได้ให้ข้อมูลว่ามีผู้คนที่ไปทำบุญที่โนนแท่นมีหมู่บ้านละไม่ถึง 10 คนเท่านั้น การที่คนห่างหายไปจากการเดินทางมาทำบุญที่โนนแท่นนั้น อาจจะเกิดจากเทคโนโลยีที่ทันสมัยในยุคปัจจุบัน ความไม่สามัคคีเหมือนแต่ก่อน ดังนั้นจึงมีการฟื้นฟูและอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีที่มีมาแต่ดั้งเดิม โดยเริ่มจากพ.ศ.2546 พระอาจารย์ปรีชา เขมาภิรโต ได้เริ่มทำการฟื้นฟูประเพณีโนนธาตุโนนแท่นอย่างจริงจัง โดยเริ่มจากประสานงานไปยังผู้นำชุมชนหรือหมู่บ้านที่เคยมีการมาทำบุญโนนธาตุโนนแท่นที่บ้านบึงสวาง ประสานงานไปยังชาวบ้านที่สนใจว่าให้มาช่วยกันร่วมกันฟื้นฟูประเพณีเก่าแก่ที่บรรพบุรุษของเราสืบทอดกันมาให้ยังคงอยู่ต่อไปจนถึงรุ่นลูกหลาน ผลปรากฏว่าชาวบ้านให้ความสนใจมากขึ้นๆทุกปี ถือได้ว่าประสบความสำเร็จในระดับหนึ่งในการฟื้นฟูประเพณีที่เก่าแก่และโบราณสถานที่สำคัญในท้องถิ่นชองเรา<br />