SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ผู้นำและกำรเปลี่ยนแปลงในท้องถิ่น
บทนำ
การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยนักเรียนโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม ครั้งนี้
เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ การสารวจแล้วนาข้อมูลมาเรียบเรียงเป็นนนังสอ
อ่านเพิ่มเติมเพ่อสะดวกในการนาไปศึกษาได้ด้วยตนเองโดยมีวัตถุประสงค์เพ่อสร้างความ
ตระนนักใน้ผู้เรียนรักษ์ท้องถิ่น เกิดความภาคภูมิใจเป็นการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติเท่ากับเป็น
การทาความรู้จักสังคมของตนเอง ซึ่งจะช่วยปลูกฝังความรักมาตุภูมิ ความมุ่งมั่นในปณิธาน
แน่งชาติและความเข้าใจวัฒนธรรมประจาชาติรู้สึกเป็นเจ้าของท้องถิ่นของตน
วิธีกำรทำงประวัติศำสตร์ นมายถึง กระบวนการสบค้นเร่องราวในอดีตของสังคมมนุษย์
เริ่มต้นที่ความอยากรู้อยากเน็นของผู้ต้องการศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้านาคาตอบ
ด้วยตนเองจากร่องรอยที่คนในอดีตได้ทาไว้และตกทอดเนลอมาถึงปัจจุบัน โดยไม่นลงเช่อคาพูด
ของใครคนใดคนนนึ่งนรออ่านนนังสอเพียงเล่มใดเล่มนนึ่งแล้วเช่อว่าเป็นจริง สิ่งที่ต้องทา
เป็นอันดับแรกของการสบค้นอดีต เม่อมีประเด็นที่ต้องการสบค้นแล้ว คอการเก็บรวบรวม
ข้อมูลจากนลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวางและละเอียดลออ ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น
สอบถามผู้รู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากแนล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจากนลักฐาน
ทุกชิ้นด้วยจิตสานึกว่านลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งนมด นรอบอกความจริงเสมอไป แล้ว
รวบรวมข้อเท็จจริงที่ได้ จากนั้นนาเสนอผลที่ศึกษาได้พร้อมอ้างอิงนลักฐานใน้ชัดเจนเพ่อใน้ผู้อ่น
ตรวจสอบ นรอศึกษาค้นคว้าต่อไปได้
ขั้นตอนของวิธีกำรทำงประวัติศำสตร์ ประกอบด้วย
1. การกานนดนัวข้อเร่องที่ต้องการศึกษาใน้ชัดเจน (เร่องอะไร ช่วงเวลาใด ที่ไนน)
2. รวบรวมข้อมูลจากนลักฐานทางประวัติศาสตร์ใน้ครบถ้วน ครอบคลุม
3. ตรวจสอบความจริงจากนลักฐาน ที่เรียกว่า การวิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์
4. วิเคราะน์ข้อมูลและตีความเพ่อค้นนาข้อเท็จจริง
5. นาเสนอผลงานความรู้ที่ค้นพบ โดยปราศจากอคติและความลาเอียง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 2
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 1
กำรกำหนดหัวเรื่อง
การกานนดนัวข้อเร่องที่ต้องการศึกษา ช่วงเวลาใด ที่ไนน ใน้ชัดเจนในนนังสอเล่มนี้
สมาชิกในกลุ่มช่วยกันตั้งช่อไว้นลายช่อใน้คัดเนลอเพียงเร่องเดียวดังนี้
1. ผู้นาชุมชน
2. ผู้นานมู่บ้านในโนนเจริญ
3. เทศบาลตาบลโนนเจริญ
4. การปกครองส่วนท้องถิ่น
5. ผู้นาและการเมองการปกครอง
6. ผู้นาและการเปลี่ยนแปลงในชุมชน
เรื่องอะไร ในที่ประชุมกลุ่มลงมติเลอกข้อที่ 6 เร่อง บ้านโนนเจริญ โดยใน้เนตุผลว่า
เป็นช่อที่สั้น ชัดเจนว่าจะศึกษาประวัติความเป็นมาเฉพาะเร่องราวในนมู่บ้านโนนเจริญทั้ง 5
นมู่ จาก 11 นมู่บ้าน
ที่ไหน นมู่บ้านในการปกครองของเทศบาลตาบลโนนเจริญ มีจานวน 11นมู่บ้านแต่ใน
นนังสอเล่มนี้จะกล่าวถึง 5 นมู่ในบ้านโนนเจริญ ดังนี้
โนนเจริญ นมู่ที่ 1
โนนเจริญ นมู่ที่ 2
โนนเจริญ นมู่ที่ 3
โนนเจริญ นมู่ที่ 4
โนนเจริญ นมู่ที่ 5
ช่วงเวลำใด ประมาณปี พ.ศ. 2493-2554
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 3
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 2
กำรรวบรวมข้อมูล
หลักฐำนที่เป็นลำยลักษณ์อักษร
1. นนังสอการสร้างบ้านแปงเมองบ้านโนนเจริญโดยคณะยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
กลุ่มที่ 1
2. http://www.thaigoodview.com
3. http://th.wikipedia.org
หลักฐำนที่ไม่เป็นลำยลักษณ์อักษร
1. นายสมศักดิ์ สุมาลี นายกเทศมลตรีเทศบาลตาบลโนนเจริญ
2. นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว อายุ 64 ปี อดีตกานันตาบลโนนเจริญ คนที่ 2 ปัจจุบัน
ดารงตาแนน่ง รองนายกเทศมลตรีเทศบาลตาบลโนนเจริญ
3. นายประกาย ศรีเนมอน กานันตาบลโนนเจริญ
4. นายอนุสิทธิ์ กัญนา ผู้ในญ่บ้านนมู่ที่ 1
5. นายสนับ ศิลปโสภา ผู้ในญ่บ้านนมู่ที่ 3
6. นายบุญธรรม สูงนางนว้า ผู้ในญ่บ้านนมู่ที่ 4
7. นางประไพ รักตลาด ผู้ในญ่บ้านนมู่ที่ 5
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 4
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 3
ประเมินคุณค่ำของหลักฐำน
จากนลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร จากการสัมภาษณ์นายสมศักดิ์ สุมาลี
นายกเทศมลตรีเทศบาลตาบลโนนเจริญ การสัมภาษณ์นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว อายุ 64 ปี
อดีตกานันตาบลโนนเจริญ คนที่ 2 ปัจจุบัน ดารงตาแนน่ง รองนายกเทศมลตรีเทศบาลตาบล
โนนเจริญ การสัมภาษณ์นายประกาย ศรีเนมอน กานันตาบลโนนเจริญ กานันคนที่ 3
การสัมภาษณ์นายอนุสิทธิ์ กัญนา ผู้ในญ่บ้านนมู่ที่ 1 การสัมภาษณ์ นายสนับ ศิลปโสภา
ผู้ในญ่บ้านนมู่ที่ 3 การสัมภาษณ์นายบุญธรรม สูงนางนว้า ผู้ในญ่บ้านนมู่ที่ 4 และการสัมภาษณ์
นางประไพ รักตลาด ผู้ในญ่บ้านนมู่ที่ 5 สรุปได้ว่า
ผู้นำหมู่บ้ำน
ผู้นานมู่บ้านคนแรก ตาแนน่ง ผู้ในญ่บ้าน ช่อนายอ่อนสา เนล็กสี
ผู้นาระดับตาบลคนที่ 1 ตาแนน่งกานัน ช่อนายนวล พาช่นใจ
ผู้นาระดับตาบลคนที่ 2 ตาแนน่งกานัน ช่อนายมุข ศักดิ์ศรีท้าว
ผู้นาระดับตาบลคนที่ 3 ตาแนน่งกานัน ช่อนายซาน พายุพัด
ผู้นาระดับตาบลคนที่ 4 ตาแนน่งกานัน ช่อนายประกาย ศรีเนมอน (2554-ปัจจุบัน)
ผู้นำระดับตำบล
ตาแนน่งนายกองค์การบรินารส่วนท้องถิ่นคนที่ 1 ช่อนายสาลี ธรรมนาม
ตาแนน่งนายกองค์การบรินารส่วนท้องถิ่นคนที่ 2 ช่อนายสมศักดิ์ สุมาลี
ผู้นำระดับเทศบำลตำบล
ตาแนน่งนายกเทศมนตรี
คนที่ 1ช่อนายสมศักดิ์ สุมาลี ( พ.ศ. 2554-ปัจจุบัน)
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 5
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 4
วิเครำะห์และสังเครำะห์ข้อมูล
บ้านโนนเจริญก่อตั้งมายาวนานถึง 61 ปี (ระนว่างปี พ.ศ. 2493-2554) มีผู้นา
ระดับตาบลเพียง 2 คน แม้จะมีการเลอกตั้งในม่ คราวละ 4 ปี ผู้นาก็ยังเป็นคนเดิม ซึ่งมี
การเปลี่ยนแปลงผู้นาน้อยมากระดับตาบลน้อยมากเม่อเทียบกับตาบลใกล้เคียง
องค์การบรินารส่วนตาบลโนนเจริญมีสถานะเป็นสภาตาบลโนนเจริญมาก่อน ต่อมา
มีพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสภาตาบลเป็นองค์การบรินารส่วนตาบล พ.ศ. 2537
เป็นผลใน้สภาตาบลโนนเจริญเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นองค์การบรินารส่วนตาบลโนนเจริญ
ตั้งแต่วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 เวลาผ่านไป 14 ปี (พ.ศ. 2537-2556) เทศบาลตาบล
ระดับตาบลเพียง มีผู้นาเพียง 2 คน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 6
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 5
กำรตีควำมหลักฐำน
ผู้นาในท้องถิ่นระดับเทศบาลตาบลโนนเจริญ มีศักยภาพ ผู้นาทุกระดับนับตั้งแต่
นายกเทศบาลตาบล สมาชิกเทศบาลตาบล กานัน ผู้ในญ่บ้านทั้ง 11 นมู่บ้าน มีการเปลี่ยนแปลง
น้อยมากแม้จะมีการเลอกตั้งในม่บ่อย ๆ ก็ยังคงได้รับการเลอกตั้งเช่นเดิมแสดงว่าผู้นาในท้องถิ่นมี
ศักยภาพสูง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 7
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
องค์ควำมรู้ที่ได้จำกกำรศึกษำท้องถิ่นของเรำ
โดยใช้วิธีกำรทำงประวัติศำสตร์
.................................................................................
การปกครองส่วนท้องถิ่น คอนน่วยงานปกครองที่อยู่ใกล้ชิดกับประชาชนมาก ที่สุด
รูปแบบนนึ่งโดยปกติการปกครองส่วนท้องถิ่นจะเปิดโอกาสใน้ประชาชนในเขตท้องถิ่นนั้น ๆ
เลอกตั้งผู้แทนของตนเข้าไปทานน้าที่เป็น ผู้บรินารท้องถิ่น นรอเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นเพ่อเลอก
ผู้บรินารท้องถิ่นอีกทีนนึ่ง (เรียกว่าการเลอกตั้งโดยตรงนรอโดยอ้อมตามลาดับ) องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นจะมี อานาจอิสระ (autonomy) ในการบรินารจากรัฐได้ในระดับนนึ่งตามขอบเขตที่
กฎนมายกานนด การเลอกตั้งผู้บรินารท้องถิ่นโดยตรงคอการเปิดโอกาสใน้ประชาชนในท้องถิ่น
นั้นๆ สามารถเลอกตั้งผู้บรินารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตท้องถิ่นของตนได้โดยตรงส่วน
การเลอกตั้งผู้บรินารท้องถิ่นโดยอ้อม สภาท้องถิ่นจะทานน้าที่เลอกผู้บรินารท้องถิ่นแทน
ประชาชนในท้องถิ่น กล่าวคอ ประชาชนในท้องถิ่นจะทานน้าที่เพียงแค่เลอกสมาชิกสภาท้องถิ่น
เท่านั้น แล้วสมาชิกสภาท้องถิ่นจะทานน้าที่ในการเลอกตั้งผู้บรินารท้องถิ่นอีกชั้นนนึ่ง
(http://th.wikipedia.org/, สืบค้นเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555)
ความนมายของการปกครองส่วนท้องถิ่น
กำรปกครองท้องถิ่น (Local Government) นมายถึง การปกครองชุมชน นรอ
ท้องถิ่นใดท้องถิ่นนนึ่งของประเทศ โดยมีองค์กรนรอนน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นมาเป็นนิติบุคคล
ซึ่งประกอบไปด้วยเจ้านน้าที่ที่ประชาชนเลอกตั้งเข้ามา เพ่อดาเนินงานตามกานนดระยะเวลา
โดยมีงบประมาณเป็นของตนเอง และมีอานาจอิสระของตน ในการดาเนินกิจการของท้องถิ่นที่
รัฐบาลได้มอบนมายใน้ ทั้งนี้โดยส่วนกลางนรอรัฐบาลเป็นเพียงผู้คอยควบคุมเท่านั้นการปกครอง
ท้องถิ่นของประเทศไทยในปัจจุบัน ดาเนินการตามพระราชบัญญัติระเบียบบรินารราชการ
แผ่นดิน พ.ศ. 2534 ซึ่งได้กานนดการจัดระเบียบบรินารราชการส่วนท้องถิ่นในท้องถิ่นที่
เน็นสมควรใน้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครอง อันเป็นการดาเนินการจัดระเบียบบรินาร
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 8
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ราชการตามนลักการกระจายอานาจ และได้กานนดใน้จัดระเบียบบรินารราชการส่วนท้องถิ่น
ดังนี้ (http://www.thaigoodview.com, สืบค้นเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555)
1. องค์การบรินารส่วนจังนวัด
2. เทศบาล
3. สุขาภิบาล
4. ราชการส่วนท้องถิ่นอ่นที่กฎนมายกานนด
ตามพระราชบัญญัติระเบียบบรินารราชการแผ่นดิน จะมีรูปแบบการปกครองท้องถิ่น
มี 3 รูปแบบด้วยกัน คอ องค์การบรินารส่วนจังนวัด เทศบาล และสุขาภิบาล สานรับราชการ
ส่วนท้องถิ่นอ่นที่กฎนมายกานนดได้แก่ กรุงเทพมนานครและเมองพัทยา ซึ่งเป็นรูปแบบการ
ปกครองเฉพาะที่ และองค์การบรินารส่วนตาบล ซึ่งเป็นรูปแบบการปกครองท้องถิ่นล่าสุด
ดังนั้นการปกครองท้องถิ่นของไทย จึงมี 6 รูปแบบด้วยกันคอ
1. องค์การบรินารส่วนจังนวัด
2. เทศบาล
3. สุขาภิบาล
4. กรุงเทพมนานคร
5. เมองพัทยา
6. องค์การบรินารส่วนตาบล
อนึ่ง ในปี พ.ศ. 2542 ทางราชการได้ประกาศใน้สุขาภิบาลทุกแน่งทั่วประเทศ
ยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลตาบลทั้งนมด ซึ่งจะมีการเลอกตั้งคณะทางานและสมาชิกสภาเทศบาล
ในม่และเลอกเพิ่มจาก กรรมการสุขาภิบาลเดิม ในปีนี้ (http://www.thaigoodview.com,
สืบค้นเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555)
เทศบำล
พระราชบัญญัติเทศบาล ได้กานนดรูปแบบโครงสร้างของการจัดองค์การและการ
บรินารงานของเทศบาลจาลองมา จากการปกครองแบบรัฐสภา ซึ่งเป็นการปกครองประเทศมาใช้
กับเทศบาลด้วย คอมีสภาเทศบาลซึ่งมีสมาชิกมาจากการเลอกตั้ง ทานน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติและ
ฝ่ายควบคุมการบรินารเทศบาล ทานองเดียวกันกับสภาผู้แทนราษฎร และมีคณะเทศมนตรีเป็น
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 9
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ฝ่ายบรินาร ทานองเดียวกับรัฐมนตรี ซึ่งสภาเทศบาลใน้ความเน็นชอบในการแต่งตั้งคณะ
เทศมนตรีจากสมาชิกสภาเทศบาล สภาเทศบาล ประกอบด้วยสมาชิกที่ราษฎรเลอกตั้งเข้ามา
จานวนที่กฎนมายว่าด้วยการเลอกตั้ง สมาชิกสภาเทศบาลซึ่งได้กานนดไว้ดังนี้
1. เทศบาลตาบล ได้แก่ ท้องถิ่นซึ่งมีประกาศกระทรวงมนาดไทยยกฐานะขึ้นเป็น
เทศบาลตาบล
2. เทศบาลเมอง ได้แก่ท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังนวัด นรอท้องถิ่นชุมชนที่มี
ประชาชนตั้งแต่ 10,000 คน ขึ้นไป ทั้งมีรายได้พอสมควรแก่การที่จะปฏิบัตินน้าที่อันต้องทา
ตามพระราชบัญญัตินี้ และมีประกาศกระทรวงมนาดไทยยกฐานะเป็นเทศบาลเมอง
3. เทศบาลนคร ได้แก่ ท้องถิ่นชุมชนที่มีประชาชน ตั้งแต่ 50,000 คน ขึ้นไป ทั้งมี
รายได้พอสมควรแก่การที่จะปฏิบัตินน้าที่อันต้องทาตามพระราชบัญญัตินี้ และมีประกาศ
กระทรวงมนาดไทยยกฐานะเป็นเทศบาลนคร
โครงสร้ำงของเทศบำล
เทศบาลมีโครงสร้างที่สาคัญแบ่งเป็น 2 ฝ่าย คอ
1. สภาเทศบาลเป็นองค์กรฝ่ายนิติบัญญัติของเทศบาล มีนน้าที่ในการตราเทศบัญญัติ
อนุมัติงบประมาณประจาปีของเทศบาล และควบคุมการบรินารกิจการของเทศบาล คณะ
เทศมนตรี สมาชิกสภาเทศบาลมาจากการเลอกตั้งโดยตรงของประชาชน มีวาระอยู่ในตาแนน่ง
คราวละ 4 ปี โดยมีจานวนสมาชิกสภาเทศบาล ดังนี้
1.1 เทศบาลตาบล ประกอบด้วยสมาชิกจานวน 12 คน
1.2 เทศบาลเมอง ประกอบด้วย สมาชิกจานวน 18 คน
1.3 เทศบาลนคร ประกอบด้วย สมาชิกจานวน 24 คน
2. นายกเทศมนตรี ทานน้าที่เป็นฝ่ายบรินารของเทศบาล ประกอบด้วย
นายกเทศมนตรีและเทศมนตรี มีจานวนกานนดไว้ตามประเภทของเทศบาล ดังนี้
2.1 เทศบาลตาบล มีนายกเทศมนตรี 1 คน และเทศมนตรี 2 คน
2.2 เทศบาลเมอง มีนายกเทศมนตรี 1 คน และเทศมนตรี 2 คน แต่ในกรณีที่
เทศบาลเมองแน่งใด มีรายได้จัดเก็บตั้งแต่ 20 ล้านบาทขึ้นไป ใน้มีเทศมนตรีเพิ่มได้อีก 1 คน
2.3 เทศบาลนคร มีนายกเทศมนตรี 1 คนและเทศมนตรีอีก 4 คน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 10
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
นายกเทศมนตรีมาจากการเลอกตั้งโดยตรงของประชาชนมีวาระอยู่ในตาแนน่งคราวละ 4 ปี และ
จะดารงตาแนน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้ ผู้ว่าราชการจังนวัดเป็นผู้แต่งตั้งนายก
เทศมนตรีและเทศมนตรี จากผู้ที่เป็นสมาชิกสภาเทศบาลด้วยความเน็นชอบของสมาชิก
สภาเทศบาลคณะเทศมนตรีมีอานาจนน้าที่ควบคุมและรับผิดชอบการบรินารกิจการของเทศบาล
ตามกฎนมายโดยมีนายกเทศมนตรีเป็นนัวนน้า (http://www.thaigoodview.com, สืบค้นเมื่อ
วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555)
กำรปกครองส่วนท้องถิ่น
องค์การบรินารส่วนตาบลนรอ อบต. มีฐานะเป็นนิติบุคคล เป็นระบบการบรินาร
ราชการส่วนท้องถิ่นที่เล็กที่สุดในประเทศไทย พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบรินารส่วน
ตาบล ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546 กานนดใน้การบรินารองค์การบรินารส่วนตาบลประกอบด้วย
สภาองค์การบรินารส่วนตาบลและนายกองค์การบรินารส่วนตาบล
โครงสร้ำงของกำรจัดองค์กำรบริหำรส่วนตำบล
องค์การบรินารส่วนตาบลแบ่งโครงสร้างออกเป็น 2 ฝ่าย คอ
1. สภาองค์การบรินารส่วนตาบล ( ฝ่ายนิติบัญญัติ ) ประกอบด้วยสมาชิกสภา
องค์การบรินารส่วนตาบลที่มาจากการเลอกตั้งของประชาชน ผู้มีสิทธิเลอกตั้งในแต่ละนมู่บ้านใน
เขตองค์การบรินารส่วนตาบลนั้น นมู่บ้านละ 2 คน (ในกรณีที่เขตองค์การบรินารส่วนตาบลใด
มี 1 นมู่บ้าน ใน้สภาองค์การบรินารส่วนตาบลนั้นประกอบด้วยสมาชิกองค์การบรินารส่วน
ตาบล จานวน 6 คน ในกรณีที่เขตองค์การบรินารส่วนตาบลใดมีเพียง 2 นมู่บ้านใน้สภา
องค์การบรินารส่วนตาบลนั้นประกอบด้วยสมาชิกสภาองค์การบรินาร ส่วนตาบล จานวน
นมู่บ้านละ 3 คน ) นน้าที่ของสภาองค์การบรินารส่วนตาบล ได้แก่ ใน้ความเน็นชอบแผนพัฒนา
ตาบล เพ่อเป็นแนวทางในการบรินารกิจการขององค์การบรินารส่วนตาบล พิจารณาและใน้ความ
เน็นชอบข้อบังคับของตาบล ควบคุมการบรินารงานของนายกองค์การบรินารส่วนตาบล
2. นายกองค์การบรินารส่วนตาบล ( ฝ่ายบรินาร ) มาจากการเลอกตั้งโดยตรงของ
ประชาชน มีวาระอยู่ในตาแนน่งคราวละ 4 ปี และจะดารงตาแนน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระ
ไม่ได้ นายกองค์การบรินารส่วนตาบลอาจแต่งตั้งเป็นนายกองค์การบรินารส่วนตาบลซึ่งไม่ใช่
สมาชิกสภาองค์การบรินารส่วนตาบลเป็นผู้ช่วยในการบรินารราชการได้ไม่ เกิน 2 คน และคง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 11
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
แต่งตั้งเลขานุการนายกองค์การบรินารส่วนตาบล 1 คน ซึ่งไม่ได้เป็นสมาชิกสภาองค์การ
บรินารส่วนตาบลนรอเจ้านน้าที่ของรัฐ ในกรณีที่นายกองค์การบรินารส่วนตาบลไม่อาจปฏิบัติ
นน้าที่ได้ ใน้รองนายกองค์การบรินารส่วนตาบลเป็นผู้รักษาราชการแทนนายกองค์การบรินาร
ส่วนตาบลมีนน้าที่ควบคุมและรับผิดชอบในการบรินารราชการของ องค์การบรินารส่วนตาบล
และเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตาบลและลูกจ้างขององค์การบรินารส่วนตาบล
องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด
องค์การบรินารส่วนจังนวัด (อบจ.) คอองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดในญ่ที่สุด
ของประเทศไทย มีจังนวัดละนนึ่งแน่ง ยกเว้นกรุงเทพมนานครซึ่งเป็นการปกครองส่วนท้องถิ่น
รูปแบบพิเศษ องค์การบรินารส่วนจังนวัด มีเขตพ้นที่รับผิดชอบครอบคลุมทั้งจังนวัด จัดตั้งขึ้น
เพ่อบริการสาธารณประโยชน์ในเขตจังนวัด ตลอดทั้งช่วยเนลอพัฒนางานของเทศบาลและ อบต.
รวมทั้งการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นเพ่อไม่ใน้งานซ้าซ้อน
พระราชบัญญัติองค์การบรินารส่วนจังนวัด พ.ศ. 2540 บัญญัติไว้ว่า ในจังนวัดนนึ่ง
ใน้มีองค์การบรินารส่วนจังนวัด ประกอบด้วย สภาองค์การบรินารส่วนจังนวัดและนายกองค์การ
บรินารส่วนจังนวัด มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็นราชการส่วนท้องถิ่น เขตขององค์การบรินาร
ส่วนจังนวัดคอเขตจังนวัด การจัดองค์การบรินารส่วนจังนวัด ใน้สมาชิกองค์การบรินารส่วน
จังนวัดมาจากการเลอกตั้งของประชาชนในเขตจังนวัด และมีวาระการดารงตาแนน่งครั้งละ 4 ปี
มีนายกองค์การบรินารส่วนจังนวัด ซึ่งมาจากการเลอกตั้งกันเองของสมาชิกสภาองค์การบรินาร
ส่วนจังนวัด สภาจังนวัด สมาชิกสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัด มาจากการเลอกตั้ง
ของประชาชนในเขตจังนวัด ตามกฎนมายว่าด้วยการเลอกตั้งสมาชิกสภาองค์การบรินารส่วน
จังนวัด โดยมีนลักเกณฑ์ว่า ใน้ถอเอาจานวนราษฎรในแต่ละจังนวัดตามข้อมูลทะเบียนราษฎร์
ที่ประกาศในปีสุดท้ายก่อนการเลอกตั้งเป็นเกณฑ์ ดังนี้
1. จังนวัดใดที่มีจานวนราษฎรไม่เกิน 500,000 คน ใน้มีสมาชิกสภาองค์การบรินาร
ส่วนจังนวัดได้ 24 คน
2. จังนวัดใดที่มีจานวนราษฎรเกินกว่า 500,000 คน แต่ไม่ถึง 1,000,000 คน ใน้มี
สมาชิกสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัดได้ 30 คน
3. จังนวัดใดที่มีจานวนราษฎรเกินกว่า 1,000,000 คน แต่ไม่ถึง 1,500,000 คน ใน้มี
สมาชิกสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัดได้ 36 คน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 12
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
4. จังนวัดใดที่มีจานวนราษฎรเกินกว่า 1,500,000 คน แต่ไม่ถึง 2,000,000 คน ใน้มี
สมาชิกสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัดได้ 42 คน
5. จังนวัดใดที่มีจานวนราษฎรเกินกว่า 2,000,000 คน ขึ้นไป ใน้มีสมาชิกสภา
องค์การบรินารส่วนจังนวัดได้ 48 คน ในวันเริ่มสมัยประชุมประจาปีของสมาชิกสภาองค์การ
บรินารส่วนจังนวัดใน้สภาองค์การบรินารส่วนจังนวัดเลอกประธานสภา 1 คนและรอง
ประธานสภาจานวน 2 คน และนายกองค์การบรินารส่วนจังนวัด ประธานสภาองค์การบรินาร
ส่วนจังนวัด มีนน้าที่ดาเนินกิจการของสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัด และดาเนินการประชุมใน้
เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของการประชุมสภาองค์การ บรินารส่วนจังนวัด ส่วนรอง
ประธานสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัดทานน้าที่เป็นผู้ช่วยประธานสภา องค์การบรินารส่วน
จังนวัด ปฏิบัติงานตามนน้าที่ที่ประธานสภาสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัดมอบนมายใน้ สมาชิก
สภาองค์การบรินารส่วนจังนวัด มีสิทธิตั้งกระทู้ถามนายกองค์การบรินารส่วนจังนวัด ในเร่องใด ๆ
อันเกี่ยวข้องกับการบรินารราชการในส่วนขององค์การบรินารส่วนจังนวัด นอกจากนี้สมาชิกสภา
องค์การบรินารส่วนจังนวัด สามารถเสนอข้อสอบถามต่อประธานสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัด
ใน้ผู้ว่าราชการจังนวัดชี้แจงข้อเท็จจริงใด ๆ อันเกี่ยวกับงานในนน้าที่ของราชการส่วนภูมิภาค
และใน้นัวนน้านน่วยราชการอ่น ๆ ตามกฎนมายว่าด้วยการบรินารราชการแผ่นดิน ซึ่งมาปฏิบัติ
นน้าที่ในเขตจังนวัดชี้แจงข้อเท็จจริงใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานในนน้าที่ได้ นายกองค์การบรินาร
ส่วนจังนวัดมีนน้าที่ที่จะต้องดาเนินกิจการใด ๆ ที่เป็นนน้าที่ขององค์การบรินารส่วนจังนวัดตาม
มติของสมาชิกสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัด และตามกฎนมายที่บัญญัติไว้ เม่อเริ่มประชุมสภา
องค์การบรินารส่วนจังนวัดใน้สมาชิกสภาองค์การบรินารส่วน จังนวัดเลอกผู้ใดผู้นนึ่ง เป็นนายก
องค์การบรินารส่วนจังนวัด 1 คน และนายกองค์การบรินารส่วนจังนวัด สามารถตั้งรองนายก
องค์การบรินารส่วนจังนวัด จากสมาชิกสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัด ตามเกณฑ์ ดังนี้
1. ถ้ามีสมาชิกสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัด 24 คนนรอ 30 คน ใน้มีรองนายก
องค์การ ฯ ได้ 2 คน
2. ถ้ามีสมาชิกสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัด 36 คนนรอ 42 คน ใน้มีรองนายก
องค์การ ฯ ได้ 3 คน
3. ถ้ามีสมาชิกสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัด มี 48 คน ใน้มีรองนายกองค์การฯ
ได้ จานวน 4 คน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 13
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
กำรปกครองส่วนท้องถิ่นกรุงเทพมหำนคร
กรุงเทพมนานครเป็นองค์การปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่มีขนาดในญ่
จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติระเบียบบรินารราชการกรุงเทพมนานคร พ.ศ. 2528 โครงสร้าง
ของกรุงเทพมนานคร กรุงเทพมนานครแบ่งโครงสร้างออกเป็น 2 ฝ่าย คอ
1. สภากรุงเทพมนานคร (ฝ่ายนิติบัญญัติ) ประกอบด้วยสมาชิกที่มาจาก
การเลอกตั้งโดยตรงของประชาชน มีวาระอยู่ในตาแนน่งคราวละ 4 ปี กานนดใน้ประชาชน
ในแต่ละเขตปกครองเลอกสภากรุงเทพมนานครได้เขตละ 1 คน ปัจจุบันกรุงเทพมนานครมี
50 เขตปกครอง มีสภากรุงเทพมนานครได้ 50 คนใช้ระบบการเลอกตั้งแบบแบ่งเขตเบอร์เดียว
สภากรุงเทพมนานครมีอานาจนน้าที่ทางนิติบัญญัติรวมทั้งควบคุมและตรวจสอบการทางาน
ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมนานคร
ชื่อภาพ : เขตการปกครองกรุงเทพมหานคร
ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node, สืบค้นเมื่อวันที่ 16 มกราคม
พ.ศ. 2555)
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 14
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
2. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมนานคร (ฝ่ายบรินาร) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมนานครมาจาก
การเลอกตั้งโดยตรงของประชาชนที่มีสิทธิเลอกตั้งในกรุงเทพมนานคร มีวาระอยู่ในตาแนน่ง
คราวละ 4 ปี การเลอกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมนานครใช้ระบบการเลอกตั้งแบบแบ่งเขตเบอร์
เดียว ผู้ว่าราชการกรุงเทพมนานครมีอานาจนน้าที่ในการกานนดนโยบายและบรินารราชการ
ของกรุงเทพมนานครใน้เป็นตามกฎนมาย โดยมีรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมนานครไม่
เกิน 4 คน ช่วยในการบรินารงานตามที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมนานครมอบนมายพ้นที่
การบรินารกรุงเทพมนานครแบ่งออกเป็นเขตและแขวงในแต่ละเขตจะมีผู้อานวยการเขต
เป็นผู้รับผิดชอบในการบรินาร โดยมีสภาเขต ( สข.) เป็นฝ่ายนิติบัญญัติ ที่ประกอบด้วยสมาชิก
ที่มาจากการเลอกตั้งของประชาชนภายในเขตนั้น ซึ่งแต่ละเขตมีสมาชิกสภาเขตอย่างน้อยเขต
ละ 7 คน ถ้าเขตใดมีประชากรเกิน 100,000 คน ใน้มีสมาชิกสภาเขตได้เพิ่ม อีก 1 คน เศษ
ของแสนถ้าเกิน 50,000 คน ใน้นับเป็น100,000 คน มีวารการดารงตาแนน่งคราวละ 4 ปี
(http://www.thaigoodview.com, สบค้นเม่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555)
ชื่อภาพ : ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ตาแหน่ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ที่มา : http://hilight.kapook.com, สืบค้นเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 15
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
เมืองพัทยำ
พัทยาเป็นเมองท่องเที่ยวที่มีช่อเสียงของประเทศไทย เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
ในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา จึงทาใน้ประชากรต่างถิ่นอพยพเข้ามาอยู่เพิ่มจานวนมากก่อใน้เกิดปัญนา
สิ่งแวดล้อม ผังเมอง อาชญากรรมและอ่นๆ เพ่อใน้การบรินารเมองมีประสิทธิภาพและมีความ
คล่องตัว รัฐบาลจึงกานนดใน้พัทยามีการปกครองท้องถิ่นในรูปแบบพิเศษเรียกว่าเมองพัทยาและ
มีตราพระราชบัญญัติระเบียบบรินารราชการเมองพัทยา พ.ศ. 2542 กานนดใน้การบริการเมอง
พัทยาประกอบด้วย สภาเมองพัทยาและนายกเมองพัทยา
โครงสร้างของเมองพัทยา เมองพัทยาแบ่งโครงสร้างออกเป็น 2 ฝ่าย
1. สภาเมองพัทยา (ฝ่ายนิติบัญญัติ ) ประกอบด้วยสมาชิกสภาเมองพัทยา
จานวน 24 คน มาจากการเลอกตั้งจากประชาชนผู้มีสิทธิเลอกตั้งในเขตเมองพัทยามีวาระอยู่
ในตาแนน่งคราวละ 4 ปี สภาเมองพัทยามีอานาจนน้าที่ด้านนิติบัญญัติ รวมทั้งควบคุม และ
ตรวจสอบการทางานของนายกเมองพัทยา
2. นายกเมองพัทยา (ฝ่ายบรินาร) มาจากการเลอกตั้งของประชาชนผู้มีสิทธิ
เลอกตั้งในเขตเมองพัทยามีวาระอยู่ ในตาแนน่งคราวละ 4 ปี และจะดารงตาแนน่งติดต่อกัน 2
วาระไม่ได้ นายกเมองพัทยามีนน้าที่ควบคุมและรับผิดชอบในการบรินารกิจการของพัทยา
(http://www.thaigoodview.com, สบค้นเม่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555)
ชื่อภาพ : นายอิทธิพล คุณปลื้ม นายกเมืองพัทยา
ที่มา : http://www.chonburiguide.com, สืบค้นเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 16
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
เทศบำลตำบลโนนเจริญ
1. ข้อมูลสภำพทั่วไปของเทศบำลตำบลโนนเจริญ
องค์การบรินารส่วนตาบลโนนเจริญมีสถานะเป็นสภาตาบลโนนเจริญมาก่อน ต่อมา
มีพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสภาตาบลเป็นองค์การบรินารส่วนตาบล พ.ศ. 2537
เป็นผลใน้สภาตาบลโนนเจริญเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นองค์การบรินารส่วนตาบลโนนเจริญ ตั้งแต่
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2540 องค์การบรินารตาบลโนนเจริญ มีอาคารสานักงานเป็นของตนเอง
สานรับใช้บริการประชาชนที่มาติดต่อราชการได้ด้วยความสะดวก ซึ่งสานักงานดังกล่าวตั้งอยู่ที่
เลขที่ 95 นมู่ที่ 1 ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังนวัดบุรีรัมย์
1.1 ลักษณะที่ตั้ง / อำณำเขต และเขตกำรปกครอง
1) ลักษณะที่ตั้ง ตาบลโนนเจริญตั้งอยู่ทางตอนใต้ของจังนวัดบุรีรัมย์น่างจากตัว
จังนวัดประมาณ 65 กิโลเมตร พ้นที่ปกครองของอาเภอบ้านกรวดตั้งอยู่น่างจากตัวอาเภอ
ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเนนอประมาณ 22 กิโลเมตร ตามเส้นทางนมายเลข 2075 (บ้านกรวด-
พาชี) เช่อมต่อกับเส้นทางนมายเลข 2165
2) พ้นที่ ตาบลโนนเจริญมีพ้นที่รับผิดชอบทั้งนมด 21.679 ตารางกิโลเมตร นรอ
เท่ากับ 13,549 ไร่
3) อาณาเขตติดต่อ
-ทิศเนนอ ติดต่อกับตาบลเขาดินเนนอตลอดแนวโดยมีลาน้วยกันน๊อบ
เป็นแนวเขต
-ทิศตะวันออก ติดต่อกับตาบลเขาดินเนนอและตาบลโคกกลาง
อาเภอพนมดงรักโดยมีลาน้วยลิงและถนนสายบ้าน
โนนเจริญ-นนองแวงเป็นแนวเขต
-ทิศใต้ ติดต่อตาบลสายตะกูและตาบลจันทบเพชร มีถนน
ทางนลวงชนบทสายบ้านกรวด-โคกกระชายเป็นแนวเขต
-ทิศตะวันตก ติดต่อกับตาบลนินลาดตลอดแนวมีลาน้วยเป็นแนวเขต
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 17
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
2. อำชีพของรำษฎร์
ประชากรของตาบลโนนเจริญส่วนในญ่ประกอบอาชีพทานา มีบางส่วนที่ทาสวน
ยางพารา ทาไร่อ้อย เลี้ยงสัตว์ (โค, กระบอ) และค้าขายเป็นอาชีพเสริม
2.1 นน่วยธุรกิจในตาบล
2.1.1 ธนาคารชุมชน มี 1 แน่ง
2.1.2 ปั้มน้ามันและนรอแก๊ส มี 5 แน่ง
2.2.3 โรงแรม ไม่มี
2.2.4 โรงสีข้าวขนาดเล็ก มี 37 แน่ง
2.2.5 โรงงานอุตสานกรรม ไม่มี
3. สภำพสังคม
3.1 การศึกษา
3. 1.1 โรงเรียนระดับประถมศึกษา มีจานวน 3 แน่ง ได้แก่
1) โรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ
2) โรงเรียนบ้านถนนโคกในญ่
3) โรงเรียนบ้านนนองแวง
3.1.2 โรงเรียนขยายโอกาส มีจานวน 1 แน่ง ได้แก่ โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 9
3.1.3 โรงเรียนมัธยม มี 1 แน่ง ได้แก่ โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม
3.1.4 ศูนย์การเรียนชุมชนประจาตาบล มี 1 แน่ง ได้แก่ ศูนย์การเรียนชุมชน
เฉลิมพระเกียรติ ที่ตั้ง บ้านโนนเจริญนมู่ที่ 1
3.1.5 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มี 2 แน่ง ได้แก่
1) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนเจริญ ที่ตั้ง บ้านโนนเจริญนมู่ที่ 1
2) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนัวถนน ที่ตั้ง บ้านนัวถนนนมู่ที่ 7
3.1.6 โรงเรียนอาชีวะศึกษา ไม่มี
3.1.7 โรงเรียน / สถาบันการศึกษาชั้นสูง ไม่มี
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 18
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
3.1.8 ที่อ่านนนังสอพิมพ์ประจานมู่บ้าน มี 11 แน่ง (มีทุกนมู่บ้าน)
3.2 สถำบันและองค์กรทำงศำสนำ
3.2.1 วัด / สานักสงฆ์ มี 8 แน่ง
3.2.2 มัสยิด ไม่มี
3.2.3 ศาลเจ้า ไม่มี
3.2.4 โบสถ์คริสต์ ไม่มี
3. 3 กำรสำธำรณสุข
3.3.1 โรงพยาบาลของรัฐ ขนาด – เตียง ไม่มี
3.3.2 สถานีอนามัยประจาตาบล / นมู่บ้าน มี 1 แน่ง
3.3.3 สถานพยาบาลเอกชน มี 3 แน่ง
3.3.4 ร้านขายยาแผนปัจจุบัน มี 3 แน่ง
3.3.5 อัตราการใช้ส้วมราดน้า มีอัตราร้อยละ 99
3.4 ควำมปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
3.4.1 สถานีตารวจภูธรตาบลโนนเจริญ มี 1 แน่ง
3.4.2 สถานีดับเพลิง ไม่มี
4. กำรบริกำรพื้นฐำน
4.1 การคมนาคม การติดต่อกับอาเภอบ้านกรวดมีเส้นทางนลัก 2 เส้นทางได้แก่
ทางนลวง แผ่นดินนมายเลข 2165 บ้านโนนเจริญ - พาชี ต่อกับทางนลวง
แผ่นดินนมายเลข 2075 บ้านพาชี - บ้านกรวด ระยะทางประมาณ 22 กิโลเมตร
ถนน รพช. สาย บร 4032 บ้านเก็ม - บ้านกรวด ระยะทางประมาณ 20 กม.
สานรับการสัญจรระนว่างนมู่บ้านมีเส้นทางสามารถติดต่อเช่อมโยงถึงกันทุกนมู่บ้านซึ่งถนนส่วน
ในญ่เป็นถนนลูกรัง
4.2 การโทรคมนาคม
4.2.1 ที่ทาการไปรษณีย์ มี 1 แน่ง ตั้งอยู่ที่บ้านโนนเจริญนมู่ที่ 2
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 19
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
4.2.2 ตู้โทรศัพท์สาธารณะ มี 22 แน่ง
4.3 การไฟฟ้าในพ้นที่ตาบลโนนเจริญมีไฟฟ้าเข้าถึงทุกนมู่บ้านแต่ยังไม่ครบทุก
นลังคาเรอนเน่องจากมีการขยายเขตพ้นที่นมู่บ้าน มีการตั้งครัวเรอนในม่เพิ่มมากขึ้นยังไม่มีไฟฟ้า
ใช้มี 170 ครัวเรอน
4.4 แหล่งน้ำธรรมชำติ
4.4.1 ลาน้านรอลาน้วย มี จานวน 4 สาย
4.4.2 นนองน้า บึง และอ่น ๆ มีจานวน 6 แน่ง
4.5 แหล่งน้ำที่สร้ำงขึ้น
4.4.1 ฝาย มีจานวน 11 แน่ง ใช้ได้ 7 แน่ง ชารุด 4 แน่ง
4.4.2 บ่อน้าต้น มีจานวน 23 บ่อ ใช้ได้ 21 บ่อ ชารุด 2 บ่อ
4.4.3 บ่อน้าโยก มีจานวน 44 บ่อ ใช้ได้ 13 บ่อ ชารุด 31 บ่อ
4.4.4 ถังเก็บน้าฝน มีจานวน 28 แน่ง ใช้ได้ 28 แน่ง ชารุด - แน่ง
4.4.5 ประปานมู่บ้าน มีจานวน 12 แน่ง ใช้ได้ 10 แน่ง ชารุด 2 แน่ง
4.4.6 สระน้าสาธารณะ มีจานวน 30 แน่ง ใช้ได้ 30 แน่ง ชารุด - แน่ง
5. ข้อมูลอื่น ๆ
5.1 ทรัพยำกรธรรมชำติ ทรัพยากรป่าไม้ในพ้นที่ยังคงเนลอบ้างในพ้นที่สาธารณะ
ประโยชน์และพ้นที่ป่าชุมชน เช่น วัด โรงเรียน ทุ่งนญ้าเลี้ยงสัตว์
5.2 มวลชนจัดตั้ง
5.2.1 ลูกเสอชาวบ้าน มี 3 รุ่น จานวน 450 คน
5.2.2 กองนนุนเพ่อความมั่นคงของชาติ จานวน 118 คน
5.2.3 อาสาพัฒนาชุมชน จานวน 44 คน
5.2.4 ไทยอาสาป้องกันชาติ จานวน 178 คน
5.2.5 อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรอน จานวน 184 คน
5.2.6 อาสาสมัครรักษาความปลอดภัยประจานมู่บ้าน จานวน 216 คน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 20
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
6. ศักยภำพในตำบล
6.1 ศักยภาพขององค์การบรินารส่วนตาบลมีจานวนบุคลากรทั้งนมด 34 คน
ประกอบด้วยฝ่ายต่าง ๆ ดังนี้
6.1.1 สานักงานปลัดองค์การบรินารส่วนตาบล
1) นักบรินารงานองค์การบรินารส่วนตาบล 6 (ปลัดองค์การบรินารส่วน
ตาบล) จานวน 1 อัตรา
2) เจ้านน้าที่วิเคราะน์นโยบายและแผน 4 จานวน 1 อัตรา
3) เจ้านน้าที่นิติกร จานวน 1 อัตรา
4) เจ้านน้าที่ธุรการ (ลูกจ้างประจา) จานวน 1 อัตรา
5) พนักงานจ้างตามภารกิจ
- ตาแนน่งผู้ช่วยเจ้านน้าที่บรินารงานทั่วไป จานวน 1 อัตรา
- ตาแนน่งผู้ช่วยเจ้านน้าที่ธุรการ จานวน 1 อัตรา
- ตาแนน่งผู้ช่วยเจ้านน้าที่บันทึกข้อมูล จานวน 1 อัตรา
6.1.2 พนักงานจ้างทั่วไป
1) ตาแนน่งคนงานทั่วไป จานวน 2 อัตรา
2) ตาแนน่งนักการภารโรง จานวน 2 อัตรา
3) ตาแนน่งผู้ช่วยเจ้านน้าที่บันทึกข้อมูล จานวน 1 อัตรา
6.1.3 ส่วนกำรคลัง
1) นักบรินารการคลัง 6 จานวน 1 อัตรา
2) เจ้านน้าที่การเงินและบัญชี 2 จานวน 1 อัตรา
3) เจ้านน้าที่จัดเก็บรายได้ 1 จานวน 1 อัตรา
4) เจ้านน้าที่พัสดุ 1 จานวน 1 อัตรา
5) ผู้ช่วยเจ้าพนักงานการเงินบัญชี จานวน 1 อัตรา
6) พนักงานจ้างทั่วไปตาแนน่งคนงานทั่วไป จานวน 1 อัตรา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 21
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
6.1.4 ส่วนโยธำ
1) นักบรินารงานช่าง 6 (นัวนน้าส่วนโยธา) จานวน 1 อัตรา
2) พนักงานจ้างตามภารกิจตาแนน่งผู้ช่วยช่างโยธา จานวน 2 อัตรา
3) พนักงานจ้างทั่วไปตาแนน่งคนงานทั่วไป จานวน 1 อัตรา
6.1.5 ส่วนกำรศึกษำ
1) นักวิชาการศึกษา จานวน 1 อัตรา
2) นักพัฒนาชุมชน จานวน 1 อัตรา
3) ผู้ช่วยนักวิชาการศึกษา จานวน 1 อัตรา
6.1.6 พนักงำนจ้ำงตำมภำรกิจ
1) ครูดูแลเด็กอนุบาลและปฐมวัย จานวน 1 อัตรา
2) ผู้ช่วยครูดูแลเด็กอนุบาลและปฐมวัย จานวน 6 อัตรา
3) ผู้ดูแลเด็กอนุบาลและปฐมวัย จานวน 1 อัตรา
6.1.7 พนักงำนจ้ำงทั่วไป
1) ตาแนน่งคนงานทั่วไป จานวน 1 อัตรา
2) แม่บ้าน จานวน 1 อัตรา
6.2 ระดับกำรศึกษำของบุคลกร
6.2.1 ระดับประถมศึกษา จานวน - คน
6.2.2 ระดับมัธยมศึกษา / อาชีวศึกษา จานวน 10 คน
6.2.3 ระดับอนุปริญญา / ปวส. จานวน 7 คน
6.2.4 ระดับปริญญาตรี จานวน 17 คน
6.2.5 ระดับสูงกว่าปริญญาตรี จานวน - คน
6.3 รำยได้ รำยได้รำยได้ขององค์กำรบริหำรส่วนตำบล ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2551 ทั้งสิ้น 19,598,639 บาท แยกเป็น
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 22
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
6.3.1 รายได้ที่องค์การบรินารส่วนตาบลจัดเก็บเอง จานวน 710,697 บาท
6.3.2 รายได้ที่ส่วนราชการอ่นจัดเก็บใน้ จานวน 7,093,340 บาท
6.3.3 รายได้จากเงินอุดนนุนจากรัฐบาล จานวน 12,505,299 บาท
6.4 ศักยภำพของชุมชนในพื้นที่
6.4.1 การรวมกลุ่มของประชาชนมีจานวนกลุ่มทุกประเภทรวม 25 กลุ่มแยกเป็น
กลุ่มต่าง ๆ ดังนี้
1) กลุ่มอาชีพ จานวน 16 กลุ่ม
2) กลุ่มออมทรัพย์ จานวน 12 กลุ่ม
6.4.2 จุดเด่นของพ้นที่
1) พ้นที่เนมาะสมแก่การเพาะปลูกพชเศรษฐกิจที่สาคัญ ได้แก่ ข้าว
ยางพารา อ้อยและปศุสัตว์
2) แนล่งท่องเที่ยวที่สาคัญ ได้แก่ แนล่งเตาเผาเคร่องเคลอบโบราณ
“แนล่งเตาเผาสวาย”
7. สภำพปัญหำขององค์กำรบริหำรส่วนตำบลโนนเจริญ
7.1 ปัญหำด้ำนเศรษฐกิจ
7.1.1 รายได้ของครัวเรอนต่อปีต่ากว่าเกณฑ์ แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้
7.1.2 รายได้จากการจานน่ายผลิตผลทางการเกษตรไม่คุ้มทุนเน่องจากต้นทุน
การผลิตสูงกว่าราคาที่จานน่าย
7.1.3 ผลผลิตทางการเกษตรตกต่าเน่องจากสภาพพ้นที่ไม่เนมาะสม ไม่มีการ
ปรับปรุงพ้นที่อย่างถูกวิธี
7.1.4 ประชาชนส่วนในญ่ว่างงานนลังฤดูเก็บเกี่ยวไม่มีอาชีพเสริมต้องอพยพ
แรงงานไปทางานต่างถิ่นร้อยละ 80 ของประชากรวัยแรงงาน
7.2 กำรตลำด การตลาดการโนนเจริญแยกสภาพปัญนาได้ดังนี้
7.2.1 ขนาดความรู้เร่องตลาด
7.2.2 ไม่มีอานาจต่อรองด้านเศรษฐกิจ ถูกเอารัดเอาเปรียบจากพ่อค้าคนกลาง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 23
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ไม่สามารถกานนดราคาผลผลิตของตนเองได้
7.2.3 ราคาสินค้าอุปโภคบริโภคจากภายนอกชุมชนมีราคาสูงโดยชุมชนไม่
สามารถกานนดนรอควบคุม
7.2.4 กลไกการตลาด / ร้านค้าชุมชนยังไม่มีการบรินารจัดการที่ดีเท่าที่ควร
7.2.5 การรวมเป็นกลุ่มอาชีพในชุมชนส่วนในญ่จัดตั้งเพ่อต่อรองขอรับ
ผลประโยชน์จากผู้ที่จะใน้การช่วยเนลอสนับสนุนใน้ดาเนินการใน้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ
กลุ่มที่จัดตั้ง (ไม่ดาเนินการในรูปของกลุ่ม)
7.3 โอกาสในการเลอกประกอบอาชีพ
7.3.1 เงินทุนที่จะใช้เริ่มต้นประกอบอาชีพในม่ไม่เพียงพอ
7.3.2 ไม่มีแนล่งรับซ้อผลผลิต
7.3.3 ประชาชนขาดความรอบรู้ ความชานาญในการประกอบอาชีพ
8. ปัญหำด้ำนสังคม
8.1 การใน้บริการด้านสวัสดิการสังคมนรอสังคมสงเคราะน์แก่ เด็ก สตรี คนชรา
ผู้พิการและผู้เป็นโรคติดต่อร้ายแรงแยกสภาพปัญนาได้ดังนี้
8.1.1 ไม่มีรายช่อในเอกสารทะเบียนราษฎรทาใน้ไม่สามารถขอรับสิทธิ
ประโยชน์จากภาครัฐได้
8.1.2 ไม่แสดงตนเพ่อขอรับการช่วยเนลอด้านสวัสดิการและสังคมสงเคราะน์
8.1.3 การช่วยเนลอด้านสวัสดิการและสังคมสงเคราะน์ของภาครัฐยังไม่มี
ประสิทธิภาพอย่างทั่วถึงและเพียงพอ
8.2 การขัดแย้งในชุมชน แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้
8.2.1 ประชาชนไม่รับผิดชอบต่อตนเองในส่วนของสังคมส่วนรวม ไม่เคารพ
ต่อกฎระเบียบที่ชุมชนร่วมกันจัดตั้งขึ้น
8.2.2 บางชุมชนไม่มีการจัดกิจกรรมร่วมกันเพ่อสร้างความรักความสามัคคี
ในชุมชน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 24
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
8.2.3 การจัดตั้งกลุ่มเพ่อสร้างความเข้มแข็งภายในชุมชนไม่มั่นคงยั่งยน
(ส่วนในญ่ล้มเนลว)
8.2.4 กลุ่มผู้นาและนรอผู้นาองค์กรในชุมชนเน็นแก่ผลประโยชน์และพวกพ้อง
ไม่จริงจังที่จะบรินารเพ่อพัฒนาชุมชนโดยส่วนรวมใน้เข้มแข็งอย่างยั่งยน
8.3 สถานที่เพ่อการกีฬาและนันทนาการไม่เพียงพอ แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้
8.3.1 นมู่ที่ 4,8,9,10 ไม่มีสถานที่เพ่อการเล่นกีฬาและจัดกิจกรรมนันทนาการ
8.3.2 ไม่มีการส่งเสริมด้านกิจกรรมการกีฬาและนันทนาการเพ่อสุขภาพอย่าง
ถูกต้องและเพียงพอ
8.4 การว่างงาน การอพยพแรงงานและการทอดทิ้งเด็กและเยาวชน แยกสภาพ
ปัญนาได้ดังนี้
8.4.1 ประชาชนไม่มีอาชีพเสริม ไม่มีแนล่งจ้างงานในพ้นที่ทาใน้ประชาชนต้อง
อพยพแรง
8.4.2 งานไปทางานต่างถิ่น ก่อใน้เกิดปัญนาการทอดทิ้งเด็กและเยาวชนรวมถึง
ผู้สูงอายุใน้อยู่ตามลาพัง
8.4.3 การส่งเสริมด้านการพัฒนาอาชีพแก่ประชาชนของนน่วยงานภาครัฐยังไม่
ต่อเน่องและ ไม่เกิดผลเป็นรูปธรรม
8.5 การใช้สารเสพติด มีการตรวจพบการใช้สารเสพติดในพ้นที่และมีกลุ่มเสี่ยงต่อ
การเข้าไปเกี่ยว-ข้องกับยาเสพติด
8.6 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมีปัญนาคอเจ้านน้าที่มีจานวนจากัดและ
การดูแลไม่ทั่วถึง
9. ปัญหำด้ำนโครงสร้ำงพื้นฐำน
9.1 การคมนาคมไม่สะดวก แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้
9.1.1 ถนนดินและถนนลูกรังเป็นนลุมเป็นบ่อมีน้าท่วมขังและน้ากัดเซาะ
9.1.2 ไม่มีระบบระบายน้าที่ดีทาใน้มีน้าท่วมขังในเขตชุมชนและพ้นที่ทา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 25
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
การเกษตร
9.1.3 ถนนภายในนมู่บ้าน / ชุมชนเกิดฝุ่นละอองจากการสัญจร
9.2 การติดต่อส่อสารไม่สะดวก แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้
9.2.1 ไม่มีบริการสาธารณะด้านการส่อสารที่มีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึง
9.2.2 ประชาชนรับภาระค่าใช้จ่ายที่สูงมากจากการใช้บริการด้านการส่อสาร
ของเอกชน
9.3 ไม่มีไฟฟ้าใช้ มีการขยายเขตพ้นที่นมู่บ้าน / ชุมชนเพ่อตั้งครัวเรอนในม่ทาใน้
ไม่มีไฟฟ้าใช้ประมาณ 170 ครัวเรอน
9.4 ไม่มีเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้
9.4.1 ประชาชนยังไม่มีเอกสารสิทธิ์ในที่ดินของตนเองประมาณร้อยละ 80
9.4.2 ประชาชนไม่มีที่ดินทากินเป็นของตนเองประมาณร้อยละ ร้อยละ 20
10. ปัญหำด้ำนแหล่งน้ำ
10.1 น้าเพ่อการอุปโภคบริโภคไม่เพียงพอ แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้
10.4.1 ชุมชนไม่มีระบบประปาที่มีคุณภาพ เน่องจากขาดแนล่งน้าที่เนมาะสม
10.4.2 มีแนล่งน้าที่ต้นเขินทาใน้น้าไม่พอใช้ประโยชน์ทั้งด้านการอุปโภคและ
บริโภค
10.2 น้าเพ่อการเกษตรไม่เพียงพอ แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้
10.2.1 แนล่งน้าเพ่อการเกษตรที่อยู่ไม่สามารถรองรับน้าไว้ใช้ได้ตามความ
ต้องการโดยเฉพาะในฤดูแล้ง
10.2.2 แนล่งน้าขนาดในญ่ในพ้นที่ไม่ได้รับการปรับปรุง / ขุดลอกใน้รองรับน้า
ไว้ใช้ประโยชน์อย่างเพียงพอ
10.2.3 ไม่มีการจัดระบบชลประทานที่ดีทาใน้ไม่สามารถนาน้าที่มีปริมาณมาก
ในฤดูฝนมาใช้ใน้เกิดประโยชน์ในพ้นที่เกษตรได้อย่างทั่วถึง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 26
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
11. ปัญหำด้ำนสำธำรณสุข
11.1 มีโรคติดต่อร้ายแรงเกิดขึ้นในพ้นที่รับผิดชอบ แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้
11.1.1 การควบคุมโรคติดต่อร้ายแรงยังไม่ได้ผลเต็มที่ ยังมีผู้ป่วยโรคติดต่อ
ร้ายแรงเกินเป้านมายที่ทางการสาธารณสุขกานนด
11.1.2 กระบวนการมีส่วนร่วมระนว่างนน่วยงานภาครัฐกับประชาชนเพ่อทา
การควบคุมป้อง
11.1.3 กันโรคติดต่อแต่ยังไม่เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลเท่าที่ควร
11.1.4 นน่วยงานภาครัฐและองค์กรชุมชนอ่นไม่ใน้ความสาคัญและสนับสนุน
การดาเนินการเพ่อควบคุมป้องกันโรคติดต่ออย่างจริงจังและต่อเน่องและไม่มีการจัดระบบการ
ปฏิบัติงานร่วมกันอย่างเป็นรูปธรรม
11.2 การดาเนินงานด้านสาธารณสุขมูลฐานชุมชนไม่ได้ผลเต็มที่ แยกสภาพ
ปัญนาได้ดังนี้
11.2.1 สถานที่ใน้บริการสาธารณสุขน่างไกล ไม่สะดวกในการไปใช้บริการ
11.2.2 ไม่มีระบบมาตรฐานการควบคุมและตรวจสอบการจานน่ายยาในชุมชน
ประชาชนนิยมซ้อยาเอง
11.3 ประชาชนเสี่ยงต่อสารพิษจากการใช้สารเคมี แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้
11.3.1 ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจเร่องราวการจัดการชุมชนใน้ถูก
สุขลักษณะ
11.3.2 นน่วยงานของรัฐไม่มีการจัดการเร่องสุขลักษณะที่ดีภายในชุมชนตาม
มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข
11.3.3 ไม่มีระบบการจัดการสภาพสิ่งแวดล้อมชุมชนใน้เป็นชุมชนที่น่าอยู่
12. ปัญหำด้ำนกำรเมืองและกำรบริหำร
12.1 กิจกรรมภาครัฐไม่ได้รับความร่วมมอ แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้
12.1.1 ประชาชนส่วนในญ่ยังไม่เข้าใจบทบาทอานาจนน้าที่ของภาครัฐแต่ละ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 27
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
นน่วยงาน
12.1.2 การประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการใน้บริการของนน่วยภาครัฐยังไม่ทั่วถึง
12.1.3 ประชาชนขาดจิตสานึกที่จะเข้ามีส่วนร่วมในการบรินารจัดการและ
พัฒนาชุมชนของตนเองทาใน้การพัฒนาไม่ครอบคลุมเป้านมายที่แท้จริง
12.2 ศักยภาพลุคลากรนน่วยงานของ องค์การบรินารส่วนตาบล แยกสภาพปัญนา
ได้ดังนี้
12.2.1 ไม่เข้าใจในบทบาทอานาจนน้าที่ซึ่งจะต้องดาเนินการใน้เป็นไปตาม
ระเบียบกฎนมายทาใน้ไม่สามารถใช้บังคับระเบียบกฎนมายเพ่อบรินารจัดการชุมชนได้ในบาง
กรณี
12.2.2 ไม่มีความรู้ด้านการบรินารจัดการภาครัฐตามอานาจนน้าที่กฎนมาย
กานนด การปฏิบัติงานเกิดความล่าช้าได้ผลไม่เต็มประสิทธิภาพ
12.3 การใช้สิทธิในการเลอกตั้ง แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้
12.3.1 ขาดจิตสานึกที่จะไปใช้สิทธิเลอกตั้ง / ไปทางานต่างถิ่นไม่มาทาการ
เลอกตั้งตามสิทธิและนน้าที่
12.3.2 ไม่มีความเข้าใจที่แท้จริงในระเบียบกฎนมายเกี่ยวกับการเลอกตั้งที่
ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้ง
12.3.3 ขาดความรู้เร่องการปกครองตามรัฐธรรมนูญฉบับในญ่
13. ปัญหำด้ำนกำรศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
13.1 ด้านการศึกษา
13.1.1 การประชาสัมพันธ์ไม่ดีเท่าที่ควรทาใน้ไม่มีความกระตอรอร้นใน
การศึกษานาความรู้เพิ่มเติมทั้งในระบบและนอกระบบโรงเรียน
13.1.2 สถานศึกษาในระดับก่อนวัยเรียนมีไม่ทั่วถึงทาใน้เด็กไม่ได้รับโอกาส
ทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมกันโดยเฉพาะนมู่ที่ 6,8-11 ยังไม่มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
13.1.3 การส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมด้านการศึกษาได้รับความสนใจ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 28
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
จากชุมชนน้อย
13.2 การอนุรักษ์และฟื้นฟู ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
13.2.1 ชุมชนไม่ใน้ความสาคัญในการอนุรักษ์และสบสานศิลปวัฒนธรรมอันดี
งามที่มีอยู่ในท้องถิ่น
13.2.2 ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากภาครัฐน้อย
13.2.3 ยังไม่มีองค์กรที่จะรับผิดชอบโดยตรงอย่างจริงจัง
13.3 ศูนย์บริการข้อมูลข่าวสาร
13.3.1 ไม่มีศูนย์ข้อมูลข่าวสารที่มีประสิทธิภาพ เพ่อเป็นแนล่งศึกษาค้นคว้า
ด้านศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่น
13.3.2 การใน้บริการด้านประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของนน่วยภาครัฐล่าช้า
ไม่เป็นที่สนใจของชุมชน
14. ปัญหำด้ำนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม
14.1 คุณภาพน้าไม่ดี สภาพปัญนาดังนี้
14.1.1 น้ามีลักษณะขุ่นข้นไม่สามารถใช้เพ่อการอุปโภคและบริโภคได้
14.1.2 แนล่งน้าไม่มีการปรับปรุงและบารุงรักษาอย่างถูกต้องขาดแคลนน้า
โดยเฉพาะในฤดูแล้ง
14.2 ดินเส่อมคุณภาพ ขาดความอุดมสมบูรณ์ สภาพปัญนาดังนี้
14.2.1 มีการใช้สารเคมีจานวนมากทาใน้เกิดการปนเปื้อนของสารพิษ
14.2.2 มีการใช้ปุ๋ยเคมีต่อเน่องเป็นเวลานาน ไม่มีการบารุงดินอย่างถูกวิธี
14.3 พ้นที่ป่าไม้ลดลง
14.3.1 พ้นที่ป่าไม้ถูกครอบครองโดยประชาชนและถูกทาลายเพ่อใช้เป็นที่ทา
กินเพิ่มขึ้นเร่อยๆ
14.3.2 ไม่มีกิจกรรมเพิ่มพ้นที่ป่าชุมชนเพ่อทดแทนป่าไม้ที่ถูกทาลาย
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ

More Related Content

Viewers also liked

แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1หรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน หรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญเล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 

Viewers also liked (8)

แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1
 
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญเล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
 
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 

Similar to เล่มที่ 3 ผู้นำ

เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญเล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีเล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชนเล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชนหรร 'ษๅ
 
2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATIONninecomp
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
สรุปผลการศึกษาค้นคว้าสรุปผลการศึกษาค้นคว้า
สรุปผลการศึกษาค้นคว้าGamonros
 
โครงงานบุญยอดน้ำ
โครงงานบุญยอดน้ำโครงงานบุญยอดน้ำ
โครงงานบุญยอดน้ำKruorawan Kongpila
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1Thongin Waidee
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังWat Thai Washington, D.C.
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนTwatchai Tangutairuang
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมtassanee chaicharoen
 
His ค่ายผู้นำเยาวชน สี่สังฆมณฑลอีสาน
His ค่ายผู้นำเยาวชน สี่สังฆมณฑลอีสานHis ค่ายผู้นำเยาวชน สี่สังฆมณฑลอีสาน
His ค่ายผู้นำเยาวชน สี่สังฆมณฑลอีสานMontira Hokjaroen
 

Similar to เล่มที่ 3 ผู้นำ (17)

เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญเล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
 
เล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีเล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณี
 
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชนเล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
 
2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
สรุปผลการศึกษาค้นคว้าสรุปผลการศึกษาค้นคว้า
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
 
History
HistoryHistory
History
 
โครงงานบุญยอดน้ำ
โครงงานบุญยอดน้ำโครงงานบุญยอดน้ำ
โครงงานบุญยอดน้ำ
 
Japan reading policy
Japan reading policyJapan reading policy
Japan reading policy
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
 
Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)
Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)
Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
หน่วยที่๗
หน่วยที่๗หน่วยที่๗
หน่วยที่๗
 
His ค่ายผู้นำเยาวชน สี่สังฆมณฑลอีสาน
His ค่ายผู้นำเยาวชน สี่สังฆมณฑลอีสานHis ค่ายผู้นำเยาวชน สี่สังฆมณฑลอีสาน
His ค่ายผู้นำเยาวชน สี่สังฆมณฑลอีสาน
 

More from หรร 'ษๅ

แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนเล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 

More from หรร 'ษๅ (14)

แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนเล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
 
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
 
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 

เล่มที่ 3 ผู้นำ

  • 1. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ผู้นำและกำรเปลี่ยนแปลงในท้องถิ่น บทนำ การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยนักเรียนโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม ครั้งนี้ เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ การสารวจแล้วนาข้อมูลมาเรียบเรียงเป็นนนังสอ อ่านเพิ่มเติมเพ่อสะดวกในการนาไปศึกษาได้ด้วยตนเองโดยมีวัตถุประสงค์เพ่อสร้างความ ตระนนักใน้ผู้เรียนรักษ์ท้องถิ่น เกิดความภาคภูมิใจเป็นการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติเท่ากับเป็น การทาความรู้จักสังคมของตนเอง ซึ่งจะช่วยปลูกฝังความรักมาตุภูมิ ความมุ่งมั่นในปณิธาน แน่งชาติและความเข้าใจวัฒนธรรมประจาชาติรู้สึกเป็นเจ้าของท้องถิ่นของตน วิธีกำรทำงประวัติศำสตร์ นมายถึง กระบวนการสบค้นเร่องราวในอดีตของสังคมมนุษย์ เริ่มต้นที่ความอยากรู้อยากเน็นของผู้ต้องการศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้านาคาตอบ ด้วยตนเองจากร่องรอยที่คนในอดีตได้ทาไว้และตกทอดเนลอมาถึงปัจจุบัน โดยไม่นลงเช่อคาพูด ของใครคนใดคนนนึ่งนรออ่านนนังสอเพียงเล่มใดเล่มนนึ่งแล้วเช่อว่าเป็นจริง สิ่งที่ต้องทา เป็นอันดับแรกของการสบค้นอดีต เม่อมีประเด็นที่ต้องการสบค้นแล้ว คอการเก็บรวบรวม ข้อมูลจากนลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวางและละเอียดลออ ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น สอบถามผู้รู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากแนล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจากนลักฐาน ทุกชิ้นด้วยจิตสานึกว่านลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งนมด นรอบอกความจริงเสมอไป แล้ว รวบรวมข้อเท็จจริงที่ได้ จากนั้นนาเสนอผลที่ศึกษาได้พร้อมอ้างอิงนลักฐานใน้ชัดเจนเพ่อใน้ผู้อ่น ตรวจสอบ นรอศึกษาค้นคว้าต่อไปได้ ขั้นตอนของวิธีกำรทำงประวัติศำสตร์ ประกอบด้วย 1. การกานนดนัวข้อเร่องที่ต้องการศึกษาใน้ชัดเจน (เร่องอะไร ช่วงเวลาใด ที่ไนน) 2. รวบรวมข้อมูลจากนลักฐานทางประวัติศาสตร์ใน้ครบถ้วน ครอบคลุม 3. ตรวจสอบความจริงจากนลักฐาน ที่เรียกว่า การวิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ 4. วิเคราะน์ข้อมูลและตีความเพ่อค้นนาข้อเท็จจริง 5. นาเสนอผลงานความรู้ที่ค้นพบ โดยปราศจากอคติและความลาเอียง
  • 2. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 2 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 1 กำรกำหนดหัวเรื่อง การกานนดนัวข้อเร่องที่ต้องการศึกษา ช่วงเวลาใด ที่ไนน ใน้ชัดเจนในนนังสอเล่มนี้ สมาชิกในกลุ่มช่วยกันตั้งช่อไว้นลายช่อใน้คัดเนลอเพียงเร่องเดียวดังนี้ 1. ผู้นาชุมชน 2. ผู้นานมู่บ้านในโนนเจริญ 3. เทศบาลตาบลโนนเจริญ 4. การปกครองส่วนท้องถิ่น 5. ผู้นาและการเมองการปกครอง 6. ผู้นาและการเปลี่ยนแปลงในชุมชน เรื่องอะไร ในที่ประชุมกลุ่มลงมติเลอกข้อที่ 6 เร่อง บ้านโนนเจริญ โดยใน้เนตุผลว่า เป็นช่อที่สั้น ชัดเจนว่าจะศึกษาประวัติความเป็นมาเฉพาะเร่องราวในนมู่บ้านโนนเจริญทั้ง 5 นมู่ จาก 11 นมู่บ้าน ที่ไหน นมู่บ้านในการปกครองของเทศบาลตาบลโนนเจริญ มีจานวน 11นมู่บ้านแต่ใน นนังสอเล่มนี้จะกล่าวถึง 5 นมู่ในบ้านโนนเจริญ ดังนี้ โนนเจริญ นมู่ที่ 1 โนนเจริญ นมู่ที่ 2 โนนเจริญ นมู่ที่ 3 โนนเจริญ นมู่ที่ 4 โนนเจริญ นมู่ที่ 5 ช่วงเวลำใด ประมาณปี พ.ศ. 2493-2554
  • 3. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 3 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 2 กำรรวบรวมข้อมูล หลักฐำนที่เป็นลำยลักษณ์อักษร 1. นนังสอการสร้างบ้านแปงเมองบ้านโนนเจริญโดยคณะยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่น กลุ่มที่ 1 2. http://www.thaigoodview.com 3. http://th.wikipedia.org หลักฐำนที่ไม่เป็นลำยลักษณ์อักษร 1. นายสมศักดิ์ สุมาลี นายกเทศมลตรีเทศบาลตาบลโนนเจริญ 2. นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว อายุ 64 ปี อดีตกานันตาบลโนนเจริญ คนที่ 2 ปัจจุบัน ดารงตาแนน่ง รองนายกเทศมลตรีเทศบาลตาบลโนนเจริญ 3. นายประกาย ศรีเนมอน กานันตาบลโนนเจริญ 4. นายอนุสิทธิ์ กัญนา ผู้ในญ่บ้านนมู่ที่ 1 5. นายสนับ ศิลปโสภา ผู้ในญ่บ้านนมู่ที่ 3 6. นายบุญธรรม สูงนางนว้า ผู้ในญ่บ้านนมู่ที่ 4 7. นางประไพ รักตลาด ผู้ในญ่บ้านนมู่ที่ 5
  • 4. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 4 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 3 ประเมินคุณค่ำของหลักฐำน จากนลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร จากการสัมภาษณ์นายสมศักดิ์ สุมาลี นายกเทศมลตรีเทศบาลตาบลโนนเจริญ การสัมภาษณ์นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว อายุ 64 ปี อดีตกานันตาบลโนนเจริญ คนที่ 2 ปัจจุบัน ดารงตาแนน่ง รองนายกเทศมลตรีเทศบาลตาบล โนนเจริญ การสัมภาษณ์นายประกาย ศรีเนมอน กานันตาบลโนนเจริญ กานันคนที่ 3 การสัมภาษณ์นายอนุสิทธิ์ กัญนา ผู้ในญ่บ้านนมู่ที่ 1 การสัมภาษณ์ นายสนับ ศิลปโสภา ผู้ในญ่บ้านนมู่ที่ 3 การสัมภาษณ์นายบุญธรรม สูงนางนว้า ผู้ในญ่บ้านนมู่ที่ 4 และการสัมภาษณ์ นางประไพ รักตลาด ผู้ในญ่บ้านนมู่ที่ 5 สรุปได้ว่า ผู้นำหมู่บ้ำน ผู้นานมู่บ้านคนแรก ตาแนน่ง ผู้ในญ่บ้าน ช่อนายอ่อนสา เนล็กสี ผู้นาระดับตาบลคนที่ 1 ตาแนน่งกานัน ช่อนายนวล พาช่นใจ ผู้นาระดับตาบลคนที่ 2 ตาแนน่งกานัน ช่อนายมุข ศักดิ์ศรีท้าว ผู้นาระดับตาบลคนที่ 3 ตาแนน่งกานัน ช่อนายซาน พายุพัด ผู้นาระดับตาบลคนที่ 4 ตาแนน่งกานัน ช่อนายประกาย ศรีเนมอน (2554-ปัจจุบัน) ผู้นำระดับตำบล ตาแนน่งนายกองค์การบรินารส่วนท้องถิ่นคนที่ 1 ช่อนายสาลี ธรรมนาม ตาแนน่งนายกองค์การบรินารส่วนท้องถิ่นคนที่ 2 ช่อนายสมศักดิ์ สุมาลี ผู้นำระดับเทศบำลตำบล ตาแนน่งนายกเทศมนตรี คนที่ 1ช่อนายสมศักดิ์ สุมาลี ( พ.ศ. 2554-ปัจจุบัน)
  • 5. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 5 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 4 วิเครำะห์และสังเครำะห์ข้อมูล บ้านโนนเจริญก่อตั้งมายาวนานถึง 61 ปี (ระนว่างปี พ.ศ. 2493-2554) มีผู้นา ระดับตาบลเพียง 2 คน แม้จะมีการเลอกตั้งในม่ คราวละ 4 ปี ผู้นาก็ยังเป็นคนเดิม ซึ่งมี การเปลี่ยนแปลงผู้นาน้อยมากระดับตาบลน้อยมากเม่อเทียบกับตาบลใกล้เคียง องค์การบรินารส่วนตาบลโนนเจริญมีสถานะเป็นสภาตาบลโนนเจริญมาก่อน ต่อมา มีพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสภาตาบลเป็นองค์การบรินารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 เป็นผลใน้สภาตาบลโนนเจริญเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นองค์การบรินารส่วนตาบลโนนเจริญ ตั้งแต่วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 เวลาผ่านไป 14 ปี (พ.ศ. 2537-2556) เทศบาลตาบล ระดับตาบลเพียง มีผู้นาเพียง 2 คน
  • 6. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 6 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 5 กำรตีควำมหลักฐำน ผู้นาในท้องถิ่นระดับเทศบาลตาบลโนนเจริญ มีศักยภาพ ผู้นาทุกระดับนับตั้งแต่ นายกเทศบาลตาบล สมาชิกเทศบาลตาบล กานัน ผู้ในญ่บ้านทั้ง 11 นมู่บ้าน มีการเปลี่ยนแปลง น้อยมากแม้จะมีการเลอกตั้งในม่บ่อย ๆ ก็ยังคงได้รับการเลอกตั้งเช่นเดิมแสดงว่าผู้นาในท้องถิ่นมี ศักยภาพสูง
  • 7. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 7 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) องค์ควำมรู้ที่ได้จำกกำรศึกษำท้องถิ่นของเรำ โดยใช้วิธีกำรทำงประวัติศำสตร์ ................................................................................. การปกครองส่วนท้องถิ่น คอนน่วยงานปกครองที่อยู่ใกล้ชิดกับประชาชนมาก ที่สุด รูปแบบนนึ่งโดยปกติการปกครองส่วนท้องถิ่นจะเปิดโอกาสใน้ประชาชนในเขตท้องถิ่นนั้น ๆ เลอกตั้งผู้แทนของตนเข้าไปทานน้าที่เป็น ผู้บรินารท้องถิ่น นรอเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นเพ่อเลอก ผู้บรินารท้องถิ่นอีกทีนนึ่ง (เรียกว่าการเลอกตั้งโดยตรงนรอโดยอ้อมตามลาดับ) องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นจะมี อานาจอิสระ (autonomy) ในการบรินารจากรัฐได้ในระดับนนึ่งตามขอบเขตที่ กฎนมายกานนด การเลอกตั้งผู้บรินารท้องถิ่นโดยตรงคอการเปิดโอกาสใน้ประชาชนในท้องถิ่น นั้นๆ สามารถเลอกตั้งผู้บรินารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตท้องถิ่นของตนได้โดยตรงส่วน การเลอกตั้งผู้บรินารท้องถิ่นโดยอ้อม สภาท้องถิ่นจะทานน้าที่เลอกผู้บรินารท้องถิ่นแทน ประชาชนในท้องถิ่น กล่าวคอ ประชาชนในท้องถิ่นจะทานน้าที่เพียงแค่เลอกสมาชิกสภาท้องถิ่น เท่านั้น แล้วสมาชิกสภาท้องถิ่นจะทานน้าที่ในการเลอกตั้งผู้บรินารท้องถิ่นอีกชั้นนนึ่ง (http://th.wikipedia.org/, สืบค้นเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555) ความนมายของการปกครองส่วนท้องถิ่น กำรปกครองท้องถิ่น (Local Government) นมายถึง การปกครองชุมชน นรอ ท้องถิ่นใดท้องถิ่นนนึ่งของประเทศ โดยมีองค์กรนรอนน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นมาเป็นนิติบุคคล ซึ่งประกอบไปด้วยเจ้านน้าที่ที่ประชาชนเลอกตั้งเข้ามา เพ่อดาเนินงานตามกานนดระยะเวลา โดยมีงบประมาณเป็นของตนเอง และมีอานาจอิสระของตน ในการดาเนินกิจการของท้องถิ่นที่ รัฐบาลได้มอบนมายใน้ ทั้งนี้โดยส่วนกลางนรอรัฐบาลเป็นเพียงผู้คอยควบคุมเท่านั้นการปกครอง ท้องถิ่นของประเทศไทยในปัจจุบัน ดาเนินการตามพระราชบัญญัติระเบียบบรินารราชการ แผ่นดิน พ.ศ. 2534 ซึ่งได้กานนดการจัดระเบียบบรินารราชการส่วนท้องถิ่นในท้องถิ่นที่ เน็นสมควรใน้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครอง อันเป็นการดาเนินการจัดระเบียบบรินาร
  • 8. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 8 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ราชการตามนลักการกระจายอานาจ และได้กานนดใน้จัดระเบียบบรินารราชการส่วนท้องถิ่น ดังนี้ (http://www.thaigoodview.com, สืบค้นเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555) 1. องค์การบรินารส่วนจังนวัด 2. เทศบาล 3. สุขาภิบาล 4. ราชการส่วนท้องถิ่นอ่นที่กฎนมายกานนด ตามพระราชบัญญัติระเบียบบรินารราชการแผ่นดิน จะมีรูปแบบการปกครองท้องถิ่น มี 3 รูปแบบด้วยกัน คอ องค์การบรินารส่วนจังนวัด เทศบาล และสุขาภิบาล สานรับราชการ ส่วนท้องถิ่นอ่นที่กฎนมายกานนดได้แก่ กรุงเทพมนานครและเมองพัทยา ซึ่งเป็นรูปแบบการ ปกครองเฉพาะที่ และองค์การบรินารส่วนตาบล ซึ่งเป็นรูปแบบการปกครองท้องถิ่นล่าสุด ดังนั้นการปกครองท้องถิ่นของไทย จึงมี 6 รูปแบบด้วยกันคอ 1. องค์การบรินารส่วนจังนวัด 2. เทศบาล 3. สุขาภิบาล 4. กรุงเทพมนานคร 5. เมองพัทยา 6. องค์การบรินารส่วนตาบล อนึ่ง ในปี พ.ศ. 2542 ทางราชการได้ประกาศใน้สุขาภิบาลทุกแน่งทั่วประเทศ ยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลตาบลทั้งนมด ซึ่งจะมีการเลอกตั้งคณะทางานและสมาชิกสภาเทศบาล ในม่และเลอกเพิ่มจาก กรรมการสุขาภิบาลเดิม ในปีนี้ (http://www.thaigoodview.com, สืบค้นเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555) เทศบำล พระราชบัญญัติเทศบาล ได้กานนดรูปแบบโครงสร้างของการจัดองค์การและการ บรินารงานของเทศบาลจาลองมา จากการปกครองแบบรัฐสภา ซึ่งเป็นการปกครองประเทศมาใช้ กับเทศบาลด้วย คอมีสภาเทศบาลซึ่งมีสมาชิกมาจากการเลอกตั้ง ทานน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติและ ฝ่ายควบคุมการบรินารเทศบาล ทานองเดียวกันกับสภาผู้แทนราษฎร และมีคณะเทศมนตรีเป็น
  • 9. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 9 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ฝ่ายบรินาร ทานองเดียวกับรัฐมนตรี ซึ่งสภาเทศบาลใน้ความเน็นชอบในการแต่งตั้งคณะ เทศมนตรีจากสมาชิกสภาเทศบาล สภาเทศบาล ประกอบด้วยสมาชิกที่ราษฎรเลอกตั้งเข้ามา จานวนที่กฎนมายว่าด้วยการเลอกตั้ง สมาชิกสภาเทศบาลซึ่งได้กานนดไว้ดังนี้ 1. เทศบาลตาบล ได้แก่ ท้องถิ่นซึ่งมีประกาศกระทรวงมนาดไทยยกฐานะขึ้นเป็น เทศบาลตาบล 2. เทศบาลเมอง ได้แก่ท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังนวัด นรอท้องถิ่นชุมชนที่มี ประชาชนตั้งแต่ 10,000 คน ขึ้นไป ทั้งมีรายได้พอสมควรแก่การที่จะปฏิบัตินน้าที่อันต้องทา ตามพระราชบัญญัตินี้ และมีประกาศกระทรวงมนาดไทยยกฐานะเป็นเทศบาลเมอง 3. เทศบาลนคร ได้แก่ ท้องถิ่นชุมชนที่มีประชาชน ตั้งแต่ 50,000 คน ขึ้นไป ทั้งมี รายได้พอสมควรแก่การที่จะปฏิบัตินน้าที่อันต้องทาตามพระราชบัญญัตินี้ และมีประกาศ กระทรวงมนาดไทยยกฐานะเป็นเทศบาลนคร โครงสร้ำงของเทศบำล เทศบาลมีโครงสร้างที่สาคัญแบ่งเป็น 2 ฝ่าย คอ 1. สภาเทศบาลเป็นองค์กรฝ่ายนิติบัญญัติของเทศบาล มีนน้าที่ในการตราเทศบัญญัติ อนุมัติงบประมาณประจาปีของเทศบาล และควบคุมการบรินารกิจการของเทศบาล คณะ เทศมนตรี สมาชิกสภาเทศบาลมาจากการเลอกตั้งโดยตรงของประชาชน มีวาระอยู่ในตาแนน่ง คราวละ 4 ปี โดยมีจานวนสมาชิกสภาเทศบาล ดังนี้ 1.1 เทศบาลตาบล ประกอบด้วยสมาชิกจานวน 12 คน 1.2 เทศบาลเมอง ประกอบด้วย สมาชิกจานวน 18 คน 1.3 เทศบาลนคร ประกอบด้วย สมาชิกจานวน 24 คน 2. นายกเทศมนตรี ทานน้าที่เป็นฝ่ายบรินารของเทศบาล ประกอบด้วย นายกเทศมนตรีและเทศมนตรี มีจานวนกานนดไว้ตามประเภทของเทศบาล ดังนี้ 2.1 เทศบาลตาบล มีนายกเทศมนตรี 1 คน และเทศมนตรี 2 คน 2.2 เทศบาลเมอง มีนายกเทศมนตรี 1 คน และเทศมนตรี 2 คน แต่ในกรณีที่ เทศบาลเมองแน่งใด มีรายได้จัดเก็บตั้งแต่ 20 ล้านบาทขึ้นไป ใน้มีเทศมนตรีเพิ่มได้อีก 1 คน 2.3 เทศบาลนคร มีนายกเทศมนตรี 1 คนและเทศมนตรีอีก 4 คน
  • 10. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 10 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) นายกเทศมนตรีมาจากการเลอกตั้งโดยตรงของประชาชนมีวาระอยู่ในตาแนน่งคราวละ 4 ปี และ จะดารงตาแนน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้ ผู้ว่าราชการจังนวัดเป็นผู้แต่งตั้งนายก เทศมนตรีและเทศมนตรี จากผู้ที่เป็นสมาชิกสภาเทศบาลด้วยความเน็นชอบของสมาชิก สภาเทศบาลคณะเทศมนตรีมีอานาจนน้าที่ควบคุมและรับผิดชอบการบรินารกิจการของเทศบาล ตามกฎนมายโดยมีนายกเทศมนตรีเป็นนัวนน้า (http://www.thaigoodview.com, สืบค้นเมื่อ วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555) กำรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การบรินารส่วนตาบลนรอ อบต. มีฐานะเป็นนิติบุคคล เป็นระบบการบรินาร ราชการส่วนท้องถิ่นที่เล็กที่สุดในประเทศไทย พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบรินารส่วน ตาบล ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546 กานนดใน้การบรินารองค์การบรินารส่วนตาบลประกอบด้วย สภาองค์การบรินารส่วนตาบลและนายกองค์การบรินารส่วนตาบล โครงสร้ำงของกำรจัดองค์กำรบริหำรส่วนตำบล องค์การบรินารส่วนตาบลแบ่งโครงสร้างออกเป็น 2 ฝ่าย คอ 1. สภาองค์การบรินารส่วนตาบล ( ฝ่ายนิติบัญญัติ ) ประกอบด้วยสมาชิกสภา องค์การบรินารส่วนตาบลที่มาจากการเลอกตั้งของประชาชน ผู้มีสิทธิเลอกตั้งในแต่ละนมู่บ้านใน เขตองค์การบรินารส่วนตาบลนั้น นมู่บ้านละ 2 คน (ในกรณีที่เขตองค์การบรินารส่วนตาบลใด มี 1 นมู่บ้าน ใน้สภาองค์การบรินารส่วนตาบลนั้นประกอบด้วยสมาชิกองค์การบรินารส่วน ตาบล จานวน 6 คน ในกรณีที่เขตองค์การบรินารส่วนตาบลใดมีเพียง 2 นมู่บ้านใน้สภา องค์การบรินารส่วนตาบลนั้นประกอบด้วยสมาชิกสภาองค์การบรินาร ส่วนตาบล จานวน นมู่บ้านละ 3 คน ) นน้าที่ของสภาองค์การบรินารส่วนตาบล ได้แก่ ใน้ความเน็นชอบแผนพัฒนา ตาบล เพ่อเป็นแนวทางในการบรินารกิจการขององค์การบรินารส่วนตาบล พิจารณาและใน้ความ เน็นชอบข้อบังคับของตาบล ควบคุมการบรินารงานของนายกองค์การบรินารส่วนตาบล 2. นายกองค์การบรินารส่วนตาบล ( ฝ่ายบรินาร ) มาจากการเลอกตั้งโดยตรงของ ประชาชน มีวาระอยู่ในตาแนน่งคราวละ 4 ปี และจะดารงตาแนน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระ ไม่ได้ นายกองค์การบรินารส่วนตาบลอาจแต่งตั้งเป็นนายกองค์การบรินารส่วนตาบลซึ่งไม่ใช่ สมาชิกสภาองค์การบรินารส่วนตาบลเป็นผู้ช่วยในการบรินารราชการได้ไม่ เกิน 2 คน และคง
  • 11. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 11 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) แต่งตั้งเลขานุการนายกองค์การบรินารส่วนตาบล 1 คน ซึ่งไม่ได้เป็นสมาชิกสภาองค์การ บรินารส่วนตาบลนรอเจ้านน้าที่ของรัฐ ในกรณีที่นายกองค์การบรินารส่วนตาบลไม่อาจปฏิบัติ นน้าที่ได้ ใน้รองนายกองค์การบรินารส่วนตาบลเป็นผู้รักษาราชการแทนนายกองค์การบรินาร ส่วนตาบลมีนน้าที่ควบคุมและรับผิดชอบในการบรินารราชการของ องค์การบรินารส่วนตาบล และเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตาบลและลูกจ้างขององค์การบรินารส่วนตาบล องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด องค์การบรินารส่วนจังนวัด (อบจ.) คอองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดในญ่ที่สุด ของประเทศไทย มีจังนวัดละนนึ่งแน่ง ยกเว้นกรุงเทพมนานครซึ่งเป็นการปกครองส่วนท้องถิ่น รูปแบบพิเศษ องค์การบรินารส่วนจังนวัด มีเขตพ้นที่รับผิดชอบครอบคลุมทั้งจังนวัด จัดตั้งขึ้น เพ่อบริการสาธารณประโยชน์ในเขตจังนวัด ตลอดทั้งช่วยเนลอพัฒนางานของเทศบาลและ อบต. รวมทั้งการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นเพ่อไม่ใน้งานซ้าซ้อน พระราชบัญญัติองค์การบรินารส่วนจังนวัด พ.ศ. 2540 บัญญัติไว้ว่า ในจังนวัดนนึ่ง ใน้มีองค์การบรินารส่วนจังนวัด ประกอบด้วย สภาองค์การบรินารส่วนจังนวัดและนายกองค์การ บรินารส่วนจังนวัด มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็นราชการส่วนท้องถิ่น เขตขององค์การบรินาร ส่วนจังนวัดคอเขตจังนวัด การจัดองค์การบรินารส่วนจังนวัด ใน้สมาชิกองค์การบรินารส่วน จังนวัดมาจากการเลอกตั้งของประชาชนในเขตจังนวัด และมีวาระการดารงตาแนน่งครั้งละ 4 ปี มีนายกองค์การบรินารส่วนจังนวัด ซึ่งมาจากการเลอกตั้งกันเองของสมาชิกสภาองค์การบรินาร ส่วนจังนวัด สภาจังนวัด สมาชิกสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัด มาจากการเลอกตั้ง ของประชาชนในเขตจังนวัด ตามกฎนมายว่าด้วยการเลอกตั้งสมาชิกสภาองค์การบรินารส่วน จังนวัด โดยมีนลักเกณฑ์ว่า ใน้ถอเอาจานวนราษฎรในแต่ละจังนวัดตามข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ที่ประกาศในปีสุดท้ายก่อนการเลอกตั้งเป็นเกณฑ์ ดังนี้ 1. จังนวัดใดที่มีจานวนราษฎรไม่เกิน 500,000 คน ใน้มีสมาชิกสภาองค์การบรินาร ส่วนจังนวัดได้ 24 คน 2. จังนวัดใดที่มีจานวนราษฎรเกินกว่า 500,000 คน แต่ไม่ถึง 1,000,000 คน ใน้มี สมาชิกสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัดได้ 30 คน 3. จังนวัดใดที่มีจานวนราษฎรเกินกว่า 1,000,000 คน แต่ไม่ถึง 1,500,000 คน ใน้มี สมาชิกสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัดได้ 36 คน
  • 12. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 12 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 4. จังนวัดใดที่มีจานวนราษฎรเกินกว่า 1,500,000 คน แต่ไม่ถึง 2,000,000 คน ใน้มี สมาชิกสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัดได้ 42 คน 5. จังนวัดใดที่มีจานวนราษฎรเกินกว่า 2,000,000 คน ขึ้นไป ใน้มีสมาชิกสภา องค์การบรินารส่วนจังนวัดได้ 48 คน ในวันเริ่มสมัยประชุมประจาปีของสมาชิกสภาองค์การ บรินารส่วนจังนวัดใน้สภาองค์การบรินารส่วนจังนวัดเลอกประธานสภา 1 คนและรอง ประธานสภาจานวน 2 คน และนายกองค์การบรินารส่วนจังนวัด ประธานสภาองค์การบรินาร ส่วนจังนวัด มีนน้าที่ดาเนินกิจการของสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัด และดาเนินการประชุมใน้ เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของการประชุมสภาองค์การ บรินารส่วนจังนวัด ส่วนรอง ประธานสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัดทานน้าที่เป็นผู้ช่วยประธานสภา องค์การบรินารส่วน จังนวัด ปฏิบัติงานตามนน้าที่ที่ประธานสภาสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัดมอบนมายใน้ สมาชิก สภาองค์การบรินารส่วนจังนวัด มีสิทธิตั้งกระทู้ถามนายกองค์การบรินารส่วนจังนวัด ในเร่องใด ๆ อันเกี่ยวข้องกับการบรินารราชการในส่วนขององค์การบรินารส่วนจังนวัด นอกจากนี้สมาชิกสภา องค์การบรินารส่วนจังนวัด สามารถเสนอข้อสอบถามต่อประธานสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัด ใน้ผู้ว่าราชการจังนวัดชี้แจงข้อเท็จจริงใด ๆ อันเกี่ยวกับงานในนน้าที่ของราชการส่วนภูมิภาค และใน้นัวนน้านน่วยราชการอ่น ๆ ตามกฎนมายว่าด้วยการบรินารราชการแผ่นดิน ซึ่งมาปฏิบัติ นน้าที่ในเขตจังนวัดชี้แจงข้อเท็จจริงใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานในนน้าที่ได้ นายกองค์การบรินาร ส่วนจังนวัดมีนน้าที่ที่จะต้องดาเนินกิจการใด ๆ ที่เป็นนน้าที่ขององค์การบรินารส่วนจังนวัดตาม มติของสมาชิกสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัด และตามกฎนมายที่บัญญัติไว้ เม่อเริ่มประชุมสภา องค์การบรินารส่วนจังนวัดใน้สมาชิกสภาองค์การบรินารส่วน จังนวัดเลอกผู้ใดผู้นนึ่ง เป็นนายก องค์การบรินารส่วนจังนวัด 1 คน และนายกองค์การบรินารส่วนจังนวัด สามารถตั้งรองนายก องค์การบรินารส่วนจังนวัด จากสมาชิกสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัด ตามเกณฑ์ ดังนี้ 1. ถ้ามีสมาชิกสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัด 24 คนนรอ 30 คน ใน้มีรองนายก องค์การ ฯ ได้ 2 คน 2. ถ้ามีสมาชิกสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัด 36 คนนรอ 42 คน ใน้มีรองนายก องค์การ ฯ ได้ 3 คน 3. ถ้ามีสมาชิกสภาองค์การบรินารส่วนจังนวัด มี 48 คน ใน้มีรองนายกองค์การฯ ได้ จานวน 4 คน
  • 13. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 13 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) กำรปกครองส่วนท้องถิ่นกรุงเทพมหำนคร กรุงเทพมนานครเป็นองค์การปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่มีขนาดในญ่ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติระเบียบบรินารราชการกรุงเทพมนานคร พ.ศ. 2528 โครงสร้าง ของกรุงเทพมนานคร กรุงเทพมนานครแบ่งโครงสร้างออกเป็น 2 ฝ่าย คอ 1. สภากรุงเทพมนานคร (ฝ่ายนิติบัญญัติ) ประกอบด้วยสมาชิกที่มาจาก การเลอกตั้งโดยตรงของประชาชน มีวาระอยู่ในตาแนน่งคราวละ 4 ปี กานนดใน้ประชาชน ในแต่ละเขตปกครองเลอกสภากรุงเทพมนานครได้เขตละ 1 คน ปัจจุบันกรุงเทพมนานครมี 50 เขตปกครอง มีสภากรุงเทพมนานครได้ 50 คนใช้ระบบการเลอกตั้งแบบแบ่งเขตเบอร์เดียว สภากรุงเทพมนานครมีอานาจนน้าที่ทางนิติบัญญัติรวมทั้งควบคุมและตรวจสอบการทางาน ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมนานคร ชื่อภาพ : เขตการปกครองกรุงเทพมหานคร ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node, สืบค้นเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555)
  • 14. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 14 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 2. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมนานคร (ฝ่ายบรินาร) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมนานครมาจาก การเลอกตั้งโดยตรงของประชาชนที่มีสิทธิเลอกตั้งในกรุงเทพมนานคร มีวาระอยู่ในตาแนน่ง คราวละ 4 ปี การเลอกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมนานครใช้ระบบการเลอกตั้งแบบแบ่งเขตเบอร์ เดียว ผู้ว่าราชการกรุงเทพมนานครมีอานาจนน้าที่ในการกานนดนโยบายและบรินารราชการ ของกรุงเทพมนานครใน้เป็นตามกฎนมาย โดยมีรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมนานครไม่ เกิน 4 คน ช่วยในการบรินารงานตามที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมนานครมอบนมายพ้นที่ การบรินารกรุงเทพมนานครแบ่งออกเป็นเขตและแขวงในแต่ละเขตจะมีผู้อานวยการเขต เป็นผู้รับผิดชอบในการบรินาร โดยมีสภาเขต ( สข.) เป็นฝ่ายนิติบัญญัติ ที่ประกอบด้วยสมาชิก ที่มาจากการเลอกตั้งของประชาชนภายในเขตนั้น ซึ่งแต่ละเขตมีสมาชิกสภาเขตอย่างน้อยเขต ละ 7 คน ถ้าเขตใดมีประชากรเกิน 100,000 คน ใน้มีสมาชิกสภาเขตได้เพิ่ม อีก 1 คน เศษ ของแสนถ้าเกิน 50,000 คน ใน้นับเป็น100,000 คน มีวารการดารงตาแนน่งคราวละ 4 ปี (http://www.thaigoodview.com, สบค้นเม่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555) ชื่อภาพ : ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ตาแหน่ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ที่มา : http://hilight.kapook.com, สืบค้นเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555
  • 15. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 15 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) เมืองพัทยำ พัทยาเป็นเมองท่องเที่ยวที่มีช่อเสียงของประเทศไทย เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา จึงทาใน้ประชากรต่างถิ่นอพยพเข้ามาอยู่เพิ่มจานวนมากก่อใน้เกิดปัญนา สิ่งแวดล้อม ผังเมอง อาชญากรรมและอ่นๆ เพ่อใน้การบรินารเมองมีประสิทธิภาพและมีความ คล่องตัว รัฐบาลจึงกานนดใน้พัทยามีการปกครองท้องถิ่นในรูปแบบพิเศษเรียกว่าเมองพัทยาและ มีตราพระราชบัญญัติระเบียบบรินารราชการเมองพัทยา พ.ศ. 2542 กานนดใน้การบริการเมอง พัทยาประกอบด้วย สภาเมองพัทยาและนายกเมองพัทยา โครงสร้างของเมองพัทยา เมองพัทยาแบ่งโครงสร้างออกเป็น 2 ฝ่าย 1. สภาเมองพัทยา (ฝ่ายนิติบัญญัติ ) ประกอบด้วยสมาชิกสภาเมองพัทยา จานวน 24 คน มาจากการเลอกตั้งจากประชาชนผู้มีสิทธิเลอกตั้งในเขตเมองพัทยามีวาระอยู่ ในตาแนน่งคราวละ 4 ปี สภาเมองพัทยามีอานาจนน้าที่ด้านนิติบัญญัติ รวมทั้งควบคุม และ ตรวจสอบการทางานของนายกเมองพัทยา 2. นายกเมองพัทยา (ฝ่ายบรินาร) มาจากการเลอกตั้งของประชาชนผู้มีสิทธิ เลอกตั้งในเขตเมองพัทยามีวาระอยู่ ในตาแนน่งคราวละ 4 ปี และจะดารงตาแนน่งติดต่อกัน 2 วาระไม่ได้ นายกเมองพัทยามีนน้าที่ควบคุมและรับผิดชอบในการบรินารกิจการของพัทยา (http://www.thaigoodview.com, สบค้นเม่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555) ชื่อภาพ : นายอิทธิพล คุณปลื้ม นายกเมืองพัทยา ที่มา : http://www.chonburiguide.com, สืบค้นเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555
  • 16. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 16 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) เทศบำลตำบลโนนเจริญ 1. ข้อมูลสภำพทั่วไปของเทศบำลตำบลโนนเจริญ องค์การบรินารส่วนตาบลโนนเจริญมีสถานะเป็นสภาตาบลโนนเจริญมาก่อน ต่อมา มีพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสภาตาบลเป็นองค์การบรินารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 เป็นผลใน้สภาตาบลโนนเจริญเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นองค์การบรินารส่วนตาบลโนนเจริญ ตั้งแต่ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2540 องค์การบรินารตาบลโนนเจริญ มีอาคารสานักงานเป็นของตนเอง สานรับใช้บริการประชาชนที่มาติดต่อราชการได้ด้วยความสะดวก ซึ่งสานักงานดังกล่าวตั้งอยู่ที่ เลขที่ 95 นมู่ที่ 1 ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังนวัดบุรีรัมย์ 1.1 ลักษณะที่ตั้ง / อำณำเขต และเขตกำรปกครอง 1) ลักษณะที่ตั้ง ตาบลโนนเจริญตั้งอยู่ทางตอนใต้ของจังนวัดบุรีรัมย์น่างจากตัว จังนวัดประมาณ 65 กิโลเมตร พ้นที่ปกครองของอาเภอบ้านกรวดตั้งอยู่น่างจากตัวอาเภอ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเนนอประมาณ 22 กิโลเมตร ตามเส้นทางนมายเลข 2075 (บ้านกรวด- พาชี) เช่อมต่อกับเส้นทางนมายเลข 2165 2) พ้นที่ ตาบลโนนเจริญมีพ้นที่รับผิดชอบทั้งนมด 21.679 ตารางกิโลเมตร นรอ เท่ากับ 13,549 ไร่ 3) อาณาเขตติดต่อ -ทิศเนนอ ติดต่อกับตาบลเขาดินเนนอตลอดแนวโดยมีลาน้วยกันน๊อบ เป็นแนวเขต -ทิศตะวันออก ติดต่อกับตาบลเขาดินเนนอและตาบลโคกกลาง อาเภอพนมดงรักโดยมีลาน้วยลิงและถนนสายบ้าน โนนเจริญ-นนองแวงเป็นแนวเขต -ทิศใต้ ติดต่อตาบลสายตะกูและตาบลจันทบเพชร มีถนน ทางนลวงชนบทสายบ้านกรวด-โคกกระชายเป็นแนวเขต -ทิศตะวันตก ติดต่อกับตาบลนินลาดตลอดแนวมีลาน้วยเป็นแนวเขต
  • 17. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 17 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 2. อำชีพของรำษฎร์ ประชากรของตาบลโนนเจริญส่วนในญ่ประกอบอาชีพทานา มีบางส่วนที่ทาสวน ยางพารา ทาไร่อ้อย เลี้ยงสัตว์ (โค, กระบอ) และค้าขายเป็นอาชีพเสริม 2.1 นน่วยธุรกิจในตาบล 2.1.1 ธนาคารชุมชน มี 1 แน่ง 2.1.2 ปั้มน้ามันและนรอแก๊ส มี 5 แน่ง 2.2.3 โรงแรม ไม่มี 2.2.4 โรงสีข้าวขนาดเล็ก มี 37 แน่ง 2.2.5 โรงงานอุตสานกรรม ไม่มี 3. สภำพสังคม 3.1 การศึกษา 3. 1.1 โรงเรียนระดับประถมศึกษา มีจานวน 3 แน่ง ได้แก่ 1) โรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ 2) โรงเรียนบ้านถนนโคกในญ่ 3) โรงเรียนบ้านนนองแวง 3.1.2 โรงเรียนขยายโอกาส มีจานวน 1 แน่ง ได้แก่ โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 9 3.1.3 โรงเรียนมัธยม มี 1 แน่ง ได้แก่ โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม 3.1.4 ศูนย์การเรียนชุมชนประจาตาบล มี 1 แน่ง ได้แก่ ศูนย์การเรียนชุมชน เฉลิมพระเกียรติ ที่ตั้ง บ้านโนนเจริญนมู่ที่ 1 3.1.5 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มี 2 แน่ง ได้แก่ 1) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนเจริญ ที่ตั้ง บ้านโนนเจริญนมู่ที่ 1 2) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนัวถนน ที่ตั้ง บ้านนัวถนนนมู่ที่ 7 3.1.6 โรงเรียนอาชีวะศึกษา ไม่มี 3.1.7 โรงเรียน / สถาบันการศึกษาชั้นสูง ไม่มี
  • 18. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 18 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 3.1.8 ที่อ่านนนังสอพิมพ์ประจานมู่บ้าน มี 11 แน่ง (มีทุกนมู่บ้าน) 3.2 สถำบันและองค์กรทำงศำสนำ 3.2.1 วัด / สานักสงฆ์ มี 8 แน่ง 3.2.2 มัสยิด ไม่มี 3.2.3 ศาลเจ้า ไม่มี 3.2.4 โบสถ์คริสต์ ไม่มี 3. 3 กำรสำธำรณสุข 3.3.1 โรงพยาบาลของรัฐ ขนาด – เตียง ไม่มี 3.3.2 สถานีอนามัยประจาตาบล / นมู่บ้าน มี 1 แน่ง 3.3.3 สถานพยาบาลเอกชน มี 3 แน่ง 3.3.4 ร้านขายยาแผนปัจจุบัน มี 3 แน่ง 3.3.5 อัตราการใช้ส้วมราดน้า มีอัตราร้อยละ 99 3.4 ควำมปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 3.4.1 สถานีตารวจภูธรตาบลโนนเจริญ มี 1 แน่ง 3.4.2 สถานีดับเพลิง ไม่มี 4. กำรบริกำรพื้นฐำน 4.1 การคมนาคม การติดต่อกับอาเภอบ้านกรวดมีเส้นทางนลัก 2 เส้นทางได้แก่ ทางนลวง แผ่นดินนมายเลข 2165 บ้านโนนเจริญ - พาชี ต่อกับทางนลวง แผ่นดินนมายเลข 2075 บ้านพาชี - บ้านกรวด ระยะทางประมาณ 22 กิโลเมตร ถนน รพช. สาย บร 4032 บ้านเก็ม - บ้านกรวด ระยะทางประมาณ 20 กม. สานรับการสัญจรระนว่างนมู่บ้านมีเส้นทางสามารถติดต่อเช่อมโยงถึงกันทุกนมู่บ้านซึ่งถนนส่วน ในญ่เป็นถนนลูกรัง 4.2 การโทรคมนาคม 4.2.1 ที่ทาการไปรษณีย์ มี 1 แน่ง ตั้งอยู่ที่บ้านโนนเจริญนมู่ที่ 2
  • 19. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 19 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 4.2.2 ตู้โทรศัพท์สาธารณะ มี 22 แน่ง 4.3 การไฟฟ้าในพ้นที่ตาบลโนนเจริญมีไฟฟ้าเข้าถึงทุกนมู่บ้านแต่ยังไม่ครบทุก นลังคาเรอนเน่องจากมีการขยายเขตพ้นที่นมู่บ้าน มีการตั้งครัวเรอนในม่เพิ่มมากขึ้นยังไม่มีไฟฟ้า ใช้มี 170 ครัวเรอน 4.4 แหล่งน้ำธรรมชำติ 4.4.1 ลาน้านรอลาน้วย มี จานวน 4 สาย 4.4.2 นนองน้า บึง และอ่น ๆ มีจานวน 6 แน่ง 4.5 แหล่งน้ำที่สร้ำงขึ้น 4.4.1 ฝาย มีจานวน 11 แน่ง ใช้ได้ 7 แน่ง ชารุด 4 แน่ง 4.4.2 บ่อน้าต้น มีจานวน 23 บ่อ ใช้ได้ 21 บ่อ ชารุด 2 บ่อ 4.4.3 บ่อน้าโยก มีจานวน 44 บ่อ ใช้ได้ 13 บ่อ ชารุด 31 บ่อ 4.4.4 ถังเก็บน้าฝน มีจานวน 28 แน่ง ใช้ได้ 28 แน่ง ชารุด - แน่ง 4.4.5 ประปานมู่บ้าน มีจานวน 12 แน่ง ใช้ได้ 10 แน่ง ชารุด 2 แน่ง 4.4.6 สระน้าสาธารณะ มีจานวน 30 แน่ง ใช้ได้ 30 แน่ง ชารุด - แน่ง 5. ข้อมูลอื่น ๆ 5.1 ทรัพยำกรธรรมชำติ ทรัพยากรป่าไม้ในพ้นที่ยังคงเนลอบ้างในพ้นที่สาธารณะ ประโยชน์และพ้นที่ป่าชุมชน เช่น วัด โรงเรียน ทุ่งนญ้าเลี้ยงสัตว์ 5.2 มวลชนจัดตั้ง 5.2.1 ลูกเสอชาวบ้าน มี 3 รุ่น จานวน 450 คน 5.2.2 กองนนุนเพ่อความมั่นคงของชาติ จานวน 118 คน 5.2.3 อาสาพัฒนาชุมชน จานวน 44 คน 5.2.4 ไทยอาสาป้องกันชาติ จานวน 178 คน 5.2.5 อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรอน จานวน 184 คน 5.2.6 อาสาสมัครรักษาความปลอดภัยประจานมู่บ้าน จานวน 216 คน
  • 20. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 20 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 6. ศักยภำพในตำบล 6.1 ศักยภาพขององค์การบรินารส่วนตาบลมีจานวนบุคลากรทั้งนมด 34 คน ประกอบด้วยฝ่ายต่าง ๆ ดังนี้ 6.1.1 สานักงานปลัดองค์การบรินารส่วนตาบล 1) นักบรินารงานองค์การบรินารส่วนตาบล 6 (ปลัดองค์การบรินารส่วน ตาบล) จานวน 1 อัตรา 2) เจ้านน้าที่วิเคราะน์นโยบายและแผน 4 จานวน 1 อัตรา 3) เจ้านน้าที่นิติกร จานวน 1 อัตรา 4) เจ้านน้าที่ธุรการ (ลูกจ้างประจา) จานวน 1 อัตรา 5) พนักงานจ้างตามภารกิจ - ตาแนน่งผู้ช่วยเจ้านน้าที่บรินารงานทั่วไป จานวน 1 อัตรา - ตาแนน่งผู้ช่วยเจ้านน้าที่ธุรการ จานวน 1 อัตรา - ตาแนน่งผู้ช่วยเจ้านน้าที่บันทึกข้อมูล จานวน 1 อัตรา 6.1.2 พนักงานจ้างทั่วไป 1) ตาแนน่งคนงานทั่วไป จานวน 2 อัตรา 2) ตาแนน่งนักการภารโรง จานวน 2 อัตรา 3) ตาแนน่งผู้ช่วยเจ้านน้าที่บันทึกข้อมูล จานวน 1 อัตรา 6.1.3 ส่วนกำรคลัง 1) นักบรินารการคลัง 6 จานวน 1 อัตรา 2) เจ้านน้าที่การเงินและบัญชี 2 จานวน 1 อัตรา 3) เจ้านน้าที่จัดเก็บรายได้ 1 จานวน 1 อัตรา 4) เจ้านน้าที่พัสดุ 1 จานวน 1 อัตรา 5) ผู้ช่วยเจ้าพนักงานการเงินบัญชี จานวน 1 อัตรา 6) พนักงานจ้างทั่วไปตาแนน่งคนงานทั่วไป จานวน 1 อัตรา
  • 21. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 21 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 6.1.4 ส่วนโยธำ 1) นักบรินารงานช่าง 6 (นัวนน้าส่วนโยธา) จานวน 1 อัตรา 2) พนักงานจ้างตามภารกิจตาแนน่งผู้ช่วยช่างโยธา จานวน 2 อัตรา 3) พนักงานจ้างทั่วไปตาแนน่งคนงานทั่วไป จานวน 1 อัตรา 6.1.5 ส่วนกำรศึกษำ 1) นักวิชาการศึกษา จานวน 1 อัตรา 2) นักพัฒนาชุมชน จานวน 1 อัตรา 3) ผู้ช่วยนักวิชาการศึกษา จานวน 1 อัตรา 6.1.6 พนักงำนจ้ำงตำมภำรกิจ 1) ครูดูแลเด็กอนุบาลและปฐมวัย จานวน 1 อัตรา 2) ผู้ช่วยครูดูแลเด็กอนุบาลและปฐมวัย จานวน 6 อัตรา 3) ผู้ดูแลเด็กอนุบาลและปฐมวัย จานวน 1 อัตรา 6.1.7 พนักงำนจ้ำงทั่วไป 1) ตาแนน่งคนงานทั่วไป จานวน 1 อัตรา 2) แม่บ้าน จานวน 1 อัตรา 6.2 ระดับกำรศึกษำของบุคลกร 6.2.1 ระดับประถมศึกษา จานวน - คน 6.2.2 ระดับมัธยมศึกษา / อาชีวศึกษา จานวน 10 คน 6.2.3 ระดับอนุปริญญา / ปวส. จานวน 7 คน 6.2.4 ระดับปริญญาตรี จานวน 17 คน 6.2.5 ระดับสูงกว่าปริญญาตรี จานวน - คน 6.3 รำยได้ รำยได้รำยได้ขององค์กำรบริหำรส่วนตำบล ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ทั้งสิ้น 19,598,639 บาท แยกเป็น
  • 22. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 22 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 6.3.1 รายได้ที่องค์การบรินารส่วนตาบลจัดเก็บเอง จานวน 710,697 บาท 6.3.2 รายได้ที่ส่วนราชการอ่นจัดเก็บใน้ จานวน 7,093,340 บาท 6.3.3 รายได้จากเงินอุดนนุนจากรัฐบาล จานวน 12,505,299 บาท 6.4 ศักยภำพของชุมชนในพื้นที่ 6.4.1 การรวมกลุ่มของประชาชนมีจานวนกลุ่มทุกประเภทรวม 25 กลุ่มแยกเป็น กลุ่มต่าง ๆ ดังนี้ 1) กลุ่มอาชีพ จานวน 16 กลุ่ม 2) กลุ่มออมทรัพย์ จานวน 12 กลุ่ม 6.4.2 จุดเด่นของพ้นที่ 1) พ้นที่เนมาะสมแก่การเพาะปลูกพชเศรษฐกิจที่สาคัญ ได้แก่ ข้าว ยางพารา อ้อยและปศุสัตว์ 2) แนล่งท่องเที่ยวที่สาคัญ ได้แก่ แนล่งเตาเผาเคร่องเคลอบโบราณ “แนล่งเตาเผาสวาย” 7. สภำพปัญหำขององค์กำรบริหำรส่วนตำบลโนนเจริญ 7.1 ปัญหำด้ำนเศรษฐกิจ 7.1.1 รายได้ของครัวเรอนต่อปีต่ากว่าเกณฑ์ แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้ 7.1.2 รายได้จากการจานน่ายผลิตผลทางการเกษตรไม่คุ้มทุนเน่องจากต้นทุน การผลิตสูงกว่าราคาที่จานน่าย 7.1.3 ผลผลิตทางการเกษตรตกต่าเน่องจากสภาพพ้นที่ไม่เนมาะสม ไม่มีการ ปรับปรุงพ้นที่อย่างถูกวิธี 7.1.4 ประชาชนส่วนในญ่ว่างงานนลังฤดูเก็บเกี่ยวไม่มีอาชีพเสริมต้องอพยพ แรงงานไปทางานต่างถิ่นร้อยละ 80 ของประชากรวัยแรงงาน 7.2 กำรตลำด การตลาดการโนนเจริญแยกสภาพปัญนาได้ดังนี้ 7.2.1 ขนาดความรู้เร่องตลาด 7.2.2 ไม่มีอานาจต่อรองด้านเศรษฐกิจ ถูกเอารัดเอาเปรียบจากพ่อค้าคนกลาง
  • 23. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 23 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ไม่สามารถกานนดราคาผลผลิตของตนเองได้ 7.2.3 ราคาสินค้าอุปโภคบริโภคจากภายนอกชุมชนมีราคาสูงโดยชุมชนไม่ สามารถกานนดนรอควบคุม 7.2.4 กลไกการตลาด / ร้านค้าชุมชนยังไม่มีการบรินารจัดการที่ดีเท่าที่ควร 7.2.5 การรวมเป็นกลุ่มอาชีพในชุมชนส่วนในญ่จัดตั้งเพ่อต่อรองขอรับ ผลประโยชน์จากผู้ที่จะใน้การช่วยเนลอสนับสนุนใน้ดาเนินการใน้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ กลุ่มที่จัดตั้ง (ไม่ดาเนินการในรูปของกลุ่ม) 7.3 โอกาสในการเลอกประกอบอาชีพ 7.3.1 เงินทุนที่จะใช้เริ่มต้นประกอบอาชีพในม่ไม่เพียงพอ 7.3.2 ไม่มีแนล่งรับซ้อผลผลิต 7.3.3 ประชาชนขาดความรอบรู้ ความชานาญในการประกอบอาชีพ 8. ปัญหำด้ำนสังคม 8.1 การใน้บริการด้านสวัสดิการสังคมนรอสังคมสงเคราะน์แก่ เด็ก สตรี คนชรา ผู้พิการและผู้เป็นโรคติดต่อร้ายแรงแยกสภาพปัญนาได้ดังนี้ 8.1.1 ไม่มีรายช่อในเอกสารทะเบียนราษฎรทาใน้ไม่สามารถขอรับสิทธิ ประโยชน์จากภาครัฐได้ 8.1.2 ไม่แสดงตนเพ่อขอรับการช่วยเนลอด้านสวัสดิการและสังคมสงเคราะน์ 8.1.3 การช่วยเนลอด้านสวัสดิการและสังคมสงเคราะน์ของภาครัฐยังไม่มี ประสิทธิภาพอย่างทั่วถึงและเพียงพอ 8.2 การขัดแย้งในชุมชน แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้ 8.2.1 ประชาชนไม่รับผิดชอบต่อตนเองในส่วนของสังคมส่วนรวม ไม่เคารพ ต่อกฎระเบียบที่ชุมชนร่วมกันจัดตั้งขึ้น 8.2.2 บางชุมชนไม่มีการจัดกิจกรรมร่วมกันเพ่อสร้างความรักความสามัคคี ในชุมชน
  • 24. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 24 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 8.2.3 การจัดตั้งกลุ่มเพ่อสร้างความเข้มแข็งภายในชุมชนไม่มั่นคงยั่งยน (ส่วนในญ่ล้มเนลว) 8.2.4 กลุ่มผู้นาและนรอผู้นาองค์กรในชุมชนเน็นแก่ผลประโยชน์และพวกพ้อง ไม่จริงจังที่จะบรินารเพ่อพัฒนาชุมชนโดยส่วนรวมใน้เข้มแข็งอย่างยั่งยน 8.3 สถานที่เพ่อการกีฬาและนันทนาการไม่เพียงพอ แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้ 8.3.1 นมู่ที่ 4,8,9,10 ไม่มีสถานที่เพ่อการเล่นกีฬาและจัดกิจกรรมนันทนาการ 8.3.2 ไม่มีการส่งเสริมด้านกิจกรรมการกีฬาและนันทนาการเพ่อสุขภาพอย่าง ถูกต้องและเพียงพอ 8.4 การว่างงาน การอพยพแรงงานและการทอดทิ้งเด็กและเยาวชน แยกสภาพ ปัญนาได้ดังนี้ 8.4.1 ประชาชนไม่มีอาชีพเสริม ไม่มีแนล่งจ้างงานในพ้นที่ทาใน้ประชาชนต้อง อพยพแรง 8.4.2 งานไปทางานต่างถิ่น ก่อใน้เกิดปัญนาการทอดทิ้งเด็กและเยาวชนรวมถึง ผู้สูงอายุใน้อยู่ตามลาพัง 8.4.3 การส่งเสริมด้านการพัฒนาอาชีพแก่ประชาชนของนน่วยงานภาครัฐยังไม่ ต่อเน่องและ ไม่เกิดผลเป็นรูปธรรม 8.5 การใช้สารเสพติด มีการตรวจพบการใช้สารเสพติดในพ้นที่และมีกลุ่มเสี่ยงต่อ การเข้าไปเกี่ยว-ข้องกับยาเสพติด 8.6 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมีปัญนาคอเจ้านน้าที่มีจานวนจากัดและ การดูแลไม่ทั่วถึง 9. ปัญหำด้ำนโครงสร้ำงพื้นฐำน 9.1 การคมนาคมไม่สะดวก แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้ 9.1.1 ถนนดินและถนนลูกรังเป็นนลุมเป็นบ่อมีน้าท่วมขังและน้ากัดเซาะ 9.1.2 ไม่มีระบบระบายน้าที่ดีทาใน้มีน้าท่วมขังในเขตชุมชนและพ้นที่ทา
  • 25. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 25 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) การเกษตร 9.1.3 ถนนภายในนมู่บ้าน / ชุมชนเกิดฝุ่นละอองจากการสัญจร 9.2 การติดต่อส่อสารไม่สะดวก แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้ 9.2.1 ไม่มีบริการสาธารณะด้านการส่อสารที่มีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึง 9.2.2 ประชาชนรับภาระค่าใช้จ่ายที่สูงมากจากการใช้บริการด้านการส่อสาร ของเอกชน 9.3 ไม่มีไฟฟ้าใช้ มีการขยายเขตพ้นที่นมู่บ้าน / ชุมชนเพ่อตั้งครัวเรอนในม่ทาใน้ ไม่มีไฟฟ้าใช้ประมาณ 170 ครัวเรอน 9.4 ไม่มีเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้ 9.4.1 ประชาชนยังไม่มีเอกสารสิทธิ์ในที่ดินของตนเองประมาณร้อยละ 80 9.4.2 ประชาชนไม่มีที่ดินทากินเป็นของตนเองประมาณร้อยละ ร้อยละ 20 10. ปัญหำด้ำนแหล่งน้ำ 10.1 น้าเพ่อการอุปโภคบริโภคไม่เพียงพอ แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้ 10.4.1 ชุมชนไม่มีระบบประปาที่มีคุณภาพ เน่องจากขาดแนล่งน้าที่เนมาะสม 10.4.2 มีแนล่งน้าที่ต้นเขินทาใน้น้าไม่พอใช้ประโยชน์ทั้งด้านการอุปโภคและ บริโภค 10.2 น้าเพ่อการเกษตรไม่เพียงพอ แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้ 10.2.1 แนล่งน้าเพ่อการเกษตรที่อยู่ไม่สามารถรองรับน้าไว้ใช้ได้ตามความ ต้องการโดยเฉพาะในฤดูแล้ง 10.2.2 แนล่งน้าขนาดในญ่ในพ้นที่ไม่ได้รับการปรับปรุง / ขุดลอกใน้รองรับน้า ไว้ใช้ประโยชน์อย่างเพียงพอ 10.2.3 ไม่มีการจัดระบบชลประทานที่ดีทาใน้ไม่สามารถนาน้าที่มีปริมาณมาก ในฤดูฝนมาใช้ใน้เกิดประโยชน์ในพ้นที่เกษตรได้อย่างทั่วถึง
  • 26. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 26 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 11. ปัญหำด้ำนสำธำรณสุข 11.1 มีโรคติดต่อร้ายแรงเกิดขึ้นในพ้นที่รับผิดชอบ แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้ 11.1.1 การควบคุมโรคติดต่อร้ายแรงยังไม่ได้ผลเต็มที่ ยังมีผู้ป่วยโรคติดต่อ ร้ายแรงเกินเป้านมายที่ทางการสาธารณสุขกานนด 11.1.2 กระบวนการมีส่วนร่วมระนว่างนน่วยงานภาครัฐกับประชาชนเพ่อทา การควบคุมป้อง 11.1.3 กันโรคติดต่อแต่ยังไม่เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลเท่าที่ควร 11.1.4 นน่วยงานภาครัฐและองค์กรชุมชนอ่นไม่ใน้ความสาคัญและสนับสนุน การดาเนินการเพ่อควบคุมป้องกันโรคติดต่ออย่างจริงจังและต่อเน่องและไม่มีการจัดระบบการ ปฏิบัติงานร่วมกันอย่างเป็นรูปธรรม 11.2 การดาเนินงานด้านสาธารณสุขมูลฐานชุมชนไม่ได้ผลเต็มที่ แยกสภาพ ปัญนาได้ดังนี้ 11.2.1 สถานที่ใน้บริการสาธารณสุขน่างไกล ไม่สะดวกในการไปใช้บริการ 11.2.2 ไม่มีระบบมาตรฐานการควบคุมและตรวจสอบการจานน่ายยาในชุมชน ประชาชนนิยมซ้อยาเอง 11.3 ประชาชนเสี่ยงต่อสารพิษจากการใช้สารเคมี แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้ 11.3.1 ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจเร่องราวการจัดการชุมชนใน้ถูก สุขลักษณะ 11.3.2 นน่วยงานของรัฐไม่มีการจัดการเร่องสุขลักษณะที่ดีภายในชุมชนตาม มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข 11.3.3 ไม่มีระบบการจัดการสภาพสิ่งแวดล้อมชุมชนใน้เป็นชุมชนที่น่าอยู่ 12. ปัญหำด้ำนกำรเมืองและกำรบริหำร 12.1 กิจกรรมภาครัฐไม่ได้รับความร่วมมอ แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้ 12.1.1 ประชาชนส่วนในญ่ยังไม่เข้าใจบทบาทอานาจนน้าที่ของภาครัฐแต่ละ
  • 27. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 27 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) นน่วยงาน 12.1.2 การประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการใน้บริการของนน่วยภาครัฐยังไม่ทั่วถึง 12.1.3 ประชาชนขาดจิตสานึกที่จะเข้ามีส่วนร่วมในการบรินารจัดการและ พัฒนาชุมชนของตนเองทาใน้การพัฒนาไม่ครอบคลุมเป้านมายที่แท้จริง 12.2 ศักยภาพลุคลากรนน่วยงานของ องค์การบรินารส่วนตาบล แยกสภาพปัญนา ได้ดังนี้ 12.2.1 ไม่เข้าใจในบทบาทอานาจนน้าที่ซึ่งจะต้องดาเนินการใน้เป็นไปตาม ระเบียบกฎนมายทาใน้ไม่สามารถใช้บังคับระเบียบกฎนมายเพ่อบรินารจัดการชุมชนได้ในบาง กรณี 12.2.2 ไม่มีความรู้ด้านการบรินารจัดการภาครัฐตามอานาจนน้าที่กฎนมาย กานนด การปฏิบัติงานเกิดความล่าช้าได้ผลไม่เต็มประสิทธิภาพ 12.3 การใช้สิทธิในการเลอกตั้ง แยกสภาพปัญนาได้ดังนี้ 12.3.1 ขาดจิตสานึกที่จะไปใช้สิทธิเลอกตั้ง / ไปทางานต่างถิ่นไม่มาทาการ เลอกตั้งตามสิทธิและนน้าที่ 12.3.2 ไม่มีความเข้าใจที่แท้จริงในระเบียบกฎนมายเกี่ยวกับการเลอกตั้งที่ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้ง 12.3.3 ขาดความรู้เร่องการปกครองตามรัฐธรรมนูญฉบับในญ่ 13. ปัญหำด้ำนกำรศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม 13.1 ด้านการศึกษา 13.1.1 การประชาสัมพันธ์ไม่ดีเท่าที่ควรทาใน้ไม่มีความกระตอรอร้นใน การศึกษานาความรู้เพิ่มเติมทั้งในระบบและนอกระบบโรงเรียน 13.1.2 สถานศึกษาในระดับก่อนวัยเรียนมีไม่ทั่วถึงทาใน้เด็กไม่ได้รับโอกาส ทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมกันโดยเฉพาะนมู่ที่ 6,8-11 ยังไม่มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 13.1.3 การส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมด้านการศึกษาได้รับความสนใจ
  • 28. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 28 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) จากชุมชนน้อย 13.2 การอนุรักษ์และฟื้นฟู ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 13.2.1 ชุมชนไม่ใน้ความสาคัญในการอนุรักษ์และสบสานศิลปวัฒนธรรมอันดี งามที่มีอยู่ในท้องถิ่น 13.2.2 ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากภาครัฐน้อย 13.2.3 ยังไม่มีองค์กรที่จะรับผิดชอบโดยตรงอย่างจริงจัง 13.3 ศูนย์บริการข้อมูลข่าวสาร 13.3.1 ไม่มีศูนย์ข้อมูลข่าวสารที่มีประสิทธิภาพ เพ่อเป็นแนล่งศึกษาค้นคว้า ด้านศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่น 13.3.2 การใน้บริการด้านประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของนน่วยภาครัฐล่าช้า ไม่เป็นที่สนใจของชุมชน 14. ปัญหำด้ำนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม 14.1 คุณภาพน้าไม่ดี สภาพปัญนาดังนี้ 14.1.1 น้ามีลักษณะขุ่นข้นไม่สามารถใช้เพ่อการอุปโภคและบริโภคได้ 14.1.2 แนล่งน้าไม่มีการปรับปรุงและบารุงรักษาอย่างถูกต้องขาดแคลนน้า โดยเฉพาะในฤดูแล้ง 14.2 ดินเส่อมคุณภาพ ขาดความอุดมสมบูรณ์ สภาพปัญนาดังนี้ 14.2.1 มีการใช้สารเคมีจานวนมากทาใน้เกิดการปนเปื้อนของสารพิษ 14.2.2 มีการใช้ปุ๋ยเคมีต่อเน่องเป็นเวลานาน ไม่มีการบารุงดินอย่างถูกวิธี 14.3 พ้นที่ป่าไม้ลดลง 14.3.1 พ้นที่ป่าไม้ถูกครอบครองโดยประชาชนและถูกทาลายเพ่อใช้เป็นที่ทา กินเพิ่มขึ้นเร่อยๆ 14.3.2 ไม่มีกิจกรรมเพิ่มพ้นที่ป่าชุมชนเพ่อทดแทนป่าไม้ที่ถูกทาลาย