SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
เศรษฐกิจในท้องถิ่น
บทนำ
การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยนักเรียนโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม ครั้งนี้
เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ การสารวจ แล้วนาข้อมูลมาเรียบเรียงเป็นหนังสือ
อ่านเพิ่มเติม เพื่อสะดวกในการนาไปศึกษาด้วยตนเอง วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักให้
ผู้เรียนรักษ์ท้องถิ่น เกิดความภาคภูมิใจเป็นการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติเท่ากับเป็นการทา
ความรู้จักสังคมของตนเองซึ่งจะช่วยปลูกฝังความรักมาตุภูมิ ความมุ่งมั่นในปณิธานแห่งชาติ
และความเข้าใจวัฒนธรรมประจาชาติรู้สึกเป็นเจ้าของท้องถิ่นของตน
วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการสืบค้นเรื่องราวในอดีตของสังคมมนุษย์
เริ่มต้นที่ความอยากรู้อยากเห็นของผู้ต้องการศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้าหาคาตอบ
ด้วยตนเองจากร่องรอยที่คนในอดีตได้ทาไว้และตกทอดเหลือมาถึงปัจจุบัน โดยไม่หลงเชื่อ
คาพูดของใครคนใดคนหนึ่งหรืออ่านหนังสือเพียงเล่มใดเล่มหนึ่งแล้วเชื่อว่าเป็นจริง สิ่งที่ต้องทา
เป็นอันดับแรกของการสืบค้นอดีตเมื่อมีประเด็นที่ต้องการสืบค้นแล้ว คือการเก็บรวบรวมข้อมูล
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวางและละเอียดลออ ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น
สอบถามผู้รู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจากหลักฐาน
ทุกชิ้นด้วยจิตสานึกว่าหลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งหมด หรือบอกความจริงเสมอไป แล้ว
รวบรวมข้อเท็จจริงที่ได้ จากนั้นนาเสนอผลที่ศึกษาได้พร้อมอ้างอิงหลักฐานให้ชัดเจนเพื่อให้
ผู้อื่นตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าต่อไปได้
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย
1. การกาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน (เรื่องอะไร ช่วงเวลาใด ที่ไหน)
2. รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ให้ครบถ้วน ครอบคลุม
3. ตรวจสอบความจริงจากหลักฐาน ที่เรียกว่า การวิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์
4. วิเคราะห์ข้อมูลและตีความเพื่อค้นหาข้อเท็จจริง
5. นาเสนอผลงานความรู้ที่ค้นพบ โดยปราศจากอคติและความลาเอียง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 2
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 1
กำรกำหนดหัวเรื่อง
การกาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษา ช่วงเวลาใด ที่ไหนให้ชัดเจนในหนังสือเล่มนี้
สมาชิกในกลุ่มช่วยกันตั้งชื่อไว้หลายชื่อให้คัดเหลือเพียงเรื่องเดียว ดังนี้
1. เศรษฐกิจในชุมชน
2. เศรษฐกิจในหมู่บ้านโนนเจริญ
3. เศรษฐกิจในชุมชนของเรา
4. เศรษฐศาสตร์บ้านโนนเจริญ
5. ศึกษาเศรษฐศาสตร์ในชุมชน
6. ปากท้องชาวโนนเจริญ
เรื่องอะไร ในที่ประชุมกลุ่มลงมติเลือกข้อที่ 1 เหตุผล สั้นกะทัดรัด เข้าใจง่าย
ที่ไหน หมู่บ้านในการปกครองของเทศบาลตาบลโนนเจริญ มีจานวน 11 หมู่บ้าน
แต่ในหนังสือเล่มนี้จะกล่าวถึง 5 หมู่บ้านในบ้านโนนเจริญ ดังนี้
โนนเจริญ หมู่ที่ 1
โนนเจริญ หมู่ที่ 2
โนนเจริญ หมู่ที่ 3
โนนเจริญ หมู่ที่ 4
โนนเจริญ หมู่ที่ 5
ช่วงเวลำใด ประมาณปี พ.ศ. 2493-2554
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 3
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 2
กำรรวบรวมข้อมูล
หลักฐำนที่เป็นลำยลักษณ์อักษร
1. หนังสือการสร้างบ้านแปงเมืองบ้านโนนเจริญโดยคณะยุววิจัยประวัติศาสตร์
ท้องถิ่น กลุ่มที่ 1
2. รายงานผลการปฏิบัติงานของเทศบาลตาบลโนนเจริญ
หลักฐำนที่ไม่เป็นลำยลักษณ์อักษร
1. นายทองเฮง แนวดี อายุ 74 ปี ประธานกลุ่มยางพาราสงเคราะห์นิคมฯ
2. นายเอี่ยม สิมาจารย์ อายุ 45 ปี
3. นางบัวสอน โคประโคน อายุ 42 ปี
4. นางสุภาพร สรชัย อายุ 39 ปี
5. นายสนิท สาระบุตร อายุ 36 ปี
6. นางวารุณี ศรีคา อายุ 42 ปี
7. นางเพชร จันทร์แก้ว อายุ 36 ปี
8. นางเตื้อ บุญชีรัมย์ อายุ 47 ปี
9. นายสุวิท ศิริพงษ์ อายุ 53 ปี
10. นายทองใบ คาประเวช อายุ 62 ปี
11. นางบัวลอง สวัสดี อายุ 62 ปี
12. นางยวน แกะประโคน อายุ 57 ปี
13. นางนวล อวงประโคน อายุ 53 ปี
14. นางสมหวัง ศิลปะโสภา อายุ 58 ปี
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 4
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 3
ประเมินคุณค่ำของหลักฐำน
จากหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร จากการสัมภาษณ์นายทองเฮง แนวดี
อายุ 74 ปี นายเอี่ยม สิมาจารย์ อายุ 45 ปี นางบัวสอน โคประโคน อายุ 42 ปี นางสุภาพร
สรชัย อายุ 39 ปี นายสนิท สาระบุตร อายุ 36 ปี นางวารุณี ศรีคา อายุ 42 ปี นางเพชร
จันทร์แก้ว อายุ 36 ปี นางเตื้อ บุญชีรัมย์ อายุ 47 ปี นายสุวิท ศิริพงษ์ อายุ 53 ปี นายทองใบ
คาประเวช อายุ 62 ปี นางบัวลอง สวัสดี อายุ 62 ปี นางยวน แกะประโคน อายุ 57 ปี
นางนวล อวงประโคน อายุ 53 ปี และนางสมหวัง ศิลปะโสภา อายุ 58 ปี
สรุปได้ว่า เศรษฐกิจในหมู่บ้านโนนเจริญ ทั้ง 5 หมู่บ้าน ขึ้นอยู่กับราคายางพาราส่วน
การทานานั้น ประชาชนทาเพียงเล็กน้อยเก็บไว้รับประทานเหลือก็ขายและมีรายได้เสริมจาก
การขายของตลาดนัดถึง 2 วันและงานศิลป์หัตกรรมพื้นบ้านบ้างเล็กน้อย จากหลักฐานที่เป็น
ลายลักษณ์อักษร สรุปได้ว่าพื้นที่ปลูกสวนยางเพิ่มขึ้นอาชีพเกษตรกรจากการทานาอย่างเดียว
เปลี่ยนเป็นทานาและทาสวนยางพารา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 5
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 4
วิเครำะห์และสังเครำะห์ข้อมูล
เศรษฐกิจชาวโนนเจริญทั้ง 5 หมู่บ้านขึ้นอยู่กับราคายางพารา ส่วนการทานาทา
เพียงเก็บไว้รับประทานเหลือก็ขายและมีรายได้เสริมจากการขายของตลาดนัดถึง 2 วันและงาน
ศิลป์หัตกรรมพื้นบ้านบ้างเล็กน้อย พื้นที่ปลูกสวนยางเพิ่มขึ้นอาชีพเกษตรกรจากการทานา
อย่างเดียวเปลี่ยนเป็นทานาและทาสวนยางพารา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 6
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 5
กำรตีควำมหลักฐำน
จากข้อมูลพื้นฐานของเทศบาลตาบลโนนเจริญ ประชากรของตาบลโนนเจริญส่วน
ใหญ่ประกอบอาชีพทานา มีบางส่วนที่ทาสวนยางพารา ทาไร่อ้อย เลี้ยงสัตว์ (โค, กระบือ)
และค้าขายเป็นอาชีพเสริม
จากข้อมูลของหน่วยธุรกิจในตาบลโนนเจริญจะพบมีโรงสีขนาดเล็กถึง 37 แห่ง
ซึ่งชี้ให้เห็นว่าราษฎรในตาบลโนนเจริญยังคงนิยมทานาและเป็นอาชีพหลักของชุมชนแต่รายได้
ที่ได้ปริมาณมาก ทาให้ฐานะทางด้านการเงิน ความเป็นอยู่ดีขึ้นส่วนใหญ่จะมาจากการทา
สวนยางพารา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 7
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
องค์ควำมรู้ที่ได้จำกกำรศึกษำท้องถิ่นของเรำ
โดยใช้วิธีกำรทำงประวัติศำสตร์
.................................................................................
บ้านโนนเจริญยุคนี้เศรษฐกิจเฟื่องฟู ลักษณะทางสังคมความเป็นอยู่เปลี่ยนแปลงไป
เป็นสังคมเมืองอย่างชัดเจน มีการซื้อขายสินค้า มีการติดต่อค้าขายระหว่างพ่อค้าพื้นเมือง
กับพ่อค้าจากทั่วสารทิศ เด็กเล็กในยุคนี้มีค่านิยมเปลี่ยนไป ชอบขนมขบเคี้ยว ดื่มน้าอัดลม
ไก่ทอดซีพีและเล่นอินเทอร์เน็ตเป็นกิจวัตรประจาวัน
อำชีพของรำษฎร
จากข้อมูลพื้นฐานของเทศบาลตาบลโนนเจริญ ประชากรของตาบลโนนเจริญส่วน
ใหญ่ประกอบอาชีพทานา มีบางส่วนที่ทาสวนยางพารา ทาไร่อ้อย เลี้ยงสัตว์ (โค, กระบือ)
และค้าขายเป็นอาชีพเสริม (องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเจริญ, 2552:14 -15)
จากข้อมูลของหน่วยธุรกิจในตาบลโนนเจริญจะพบมีโรงสีขนาดเล็กถึง 37 แห่ง
ซึ่งชี้ให้เห็นว่าราษฎรในตาบลโนนเจริญยังคงนิยมทานาและเป็นอาชีพหลักของชุมชน
1. อำชีพทำนำ
วิทยากรชื่อนางยอม ขิงพรมราช อายุ 51 ปี ให้สัมภาษณ์ว่า อาชีพทานา
เป็นอาชีพดั้งเดิมของคนไทย ราษฎรบ้านโนนเจริญ
ส่วนใหญ่มีอาชีพทานา ท่านทานามาตั้งแต่อายุ
ประมาณ 10 ปี จนกระทั่งปัจจุบัน ปีนี้ท่านลงทุน
ในการทานาประมาณ 2,070 บาท มีที่นาทั้งหมด
8 ไร่ ทานาเอง 3 ไร่ ผลผลิตที่ได้ประมาณ 8-10
กระสอบ ที่นาทีเหลือให้ผู้อื่นเช่าทา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 8
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
2. อำชีพทำสวนยำงพำรำ
นายทองเฮง แนวดี ปัจจุบัน อายุ 74 ปี ย้ายถิ่นมาจากอาเภอรัตนบุรี จังหวัด
สุรินทร์เช่นกันแต่ย้ายเข้ามาช้ากว่ากลุ่มที่ 3 ประมาณ 2 ปี ปัจจุบันเป็นประธานกลุ่มยางพารา
สงเคราะห์นิคมฯ มีการทากิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533
มีสมาชิก มากกว่า 700 คน เป็นครอบครัวที่ประสบความสาเร็จในเรื่องการปลูกยางพารา
เป็นกลุ่มแรกและได้ผลผลิตจากต้นยางแล้ว (ยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่น กลุ่มที่ 1, 2552:36)
อาชีพของประชาชนในหมู่บ้านในช่วงแรก
ปลูกข้าวเป็นอาชีพหลัก พืชผักสวนครัวเพื่อใช้
รับประทานและจัดงานบุญกุศล มีการปลูกพืช
เศรษฐกิจเพียงชนิดเดียวคือ ปอ ต่อมานุ่นเริ่ม
มีราคา และมีการซื้อขาย จึงมีการปลูก
โดยทั่วไปในหมู่บ้านเพื่อใช้ในครัวเรือนและแบ่ง
ขายตามฤดูกาลประมาณปี พ.ศ. 2531
ทางราชการได้รณรงค์โครงการอีสานเขียวให้ต้นพันธ์ยูคาลิปตัสปลูกในที่ว่างและหัวไร่ปลายนา
จึงทาให้เกิดการซื้อขายที่นา ที่สวนในราคาแพง เป็นไร่ละประมาณ 10,000 บาท จากเคยซื้อ
ขายกันไร่ละ 1,000 บาท การทานาเริ่มเปลี่ยนแปลงวิธีการทานา จากใช้ควายเป็นแรงงาน
เปลี่ยนเป็นรถไถนาเดินตาม จากนาดาเป็นนาหว่าน ค่าแรงคนเพิ่มขึ้นเท่าตัว ประเพณีการลง
แขกเกี่ยวข้าวและลงแขกนวดข้าวหายไปใช้รถสีข้าวแทน เพื่อให้ทันกับการนาข้าวไปขายเพื่อใช้
หนี้ ธกส. ในเดือนมีนาคมของทุกปี
จากการสัมภาษณ์นายเอี่ยม สิมาจารย์ อายุ 45 ปี บ้านเลขที่ 139 หมู่ที่ 5
ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ สรุปได้ว่าประมาณปี พ.ศ. 2535
เจ้าหน้าที่จากการสงเคราะห์ยางพารา (สกย.) เป็นหน่วยงานตามพระราชดาริของสมเด็จ
พระราชินีนาถ ให้ความอนุเคราะห์มอบกิ่งพันธุ์ยางพาราแก่ราษฎรที่เข้าร่วมโครงการ และ
ยังสนับสนุนปุ๋ยและเคมีภัณฑ์ เพื่อใช้ในการดูแล ปัจจุบันต้นยางพาราดังกล่าวให้ผลผลิตได้
แล้วและมีประชาชนเปลี่ยนอาชีพจากชาวนาเป็นชาวสวนยางพาราเป็นจานวนมากขึ้นเรื่อย ๆ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 9
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ผู้ให้สัมภาษณ์ได้ประมาณรายได้ 4 ปีย้อนหลัง เมื่อเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2552 จากการทา
สวนยาง ประมาณ 5 ไร่ มีรายได้ที่ยังไม่หักค่าใช้จ่าย ดังนี้
รายได้ปี พ.ศ. 2548 ประมาณ 60,000 บาท ราคารับซื้อยางพารา 72 บาท/กิโลกรัม
รายได้ปี พ.ศ. 2549 ประมาณ 80,000 บาท ราคารับซื้อยางพารา 80 บาท/กิโลกรัม
รายได้ปี พ.ศ. 2550 ประมาณ 100,000 บาท ราคารับซื้อยางพารา100 บาท/กิโลกรัม
รายได้ปี พ.ศ. 2551 ประมาณ 50,000 บาท ราคารับซื้อยางพารา 78 บาท/กิโลกรัม
ข้อสังเกต รายได้ของชาวสวนยางพาราจะมีรายได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการรับซื้อยางพารา
ของพ่อค้ารับซื้อยางพารา ไม่ใช่ปริมาณน้ายางพารา
3. อำชีพทำไร่อ้อย
วิทยากรชื่อ นางบัวสอน โคประโคน
อายุ 42 ปี ประกอบอาชีพทาไร่อ้อยมาแล้ว 3 ปี
ให้ข้อมูลว่า ลงทุนต่อครั้งต่อปี 100,000 บาท
มีพื้นที่ทั้งหมด 5 ไร่ ใช้ ระยะเวลา ในการปลูก 1 ปี
ผลผลิตต่อครั้งต่อปีทั้งหมด14 ตันๆละ 2,000 บาท
แรงบันดาลใจเป็นอาชีพเสริมไม่ต้องทางานไกล
และสร้างรายได้ดี
4. อำชีพเลี้ยงสัตว์
วิทยากรชื่อนางสุภาพร สรชัย อายุ 39 ปี
ประมาณ 2 ปีลงทุนในการซื้อหมู 1,500 บาท/ตัว
ต้นทุนในการซื้ออาหารประมาณ 6,160 บาท
การเจริญเติบโตของหมูใช้ระยะเวลา ประมาณ
4 เดือน แรงบันดาลใจในการเลี้ยงหมู เพราะเป็น
แม่บ้านอยู่เฉย ๆ จึงเลี้ยงหมูเพื่อเป็นอาชีพเสริม
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 10
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว ได้อธิบายถึงเศรษฐกิจในหมู่บ้านโนนเจริญ สรุปได้ว่า
หมู่บ้านโนนเจริญมีตลาดสดครั้งแรกในสมัยนายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว รับตาแหน่งกานันตาบล
โนนเจริญ ประมาณปี พ.ศ. 2521 อยู่บริเวณข้างวัดบ้านโนนเจริญ เป็นอาคารไม้ชั้นเดียว
ทอดยาวโล่งทั้งอาคาร มีเวทีสาหรับการแสดงอยู่บริเวณหน้าตลาด ปัจจุบันเป็นที่ตั้งที่ทาการ
องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเจริญ ราวปี พ.ศ. 2537 ตลาดสดจึงย้ายไปตั้งที่บริเวณที่ว่าง
ข้างหนองบ้านโนนเจริญ ซึ่งทาการรื้อถอนโรงไฟฟ้าเครื่องปั่นไฟซึ่งไม่ได้ใช้งานแล้วสร้างตลาด
สดแห่งใหม่ มีแม่ค้าท้องถิ่นมาขายเฉพาะวันตลาดนัด ทุกวันที่ 5, 15 และ 25 ของทุกเดือน
ต่อมามีการค้าขายรูปแบบใหม่เข้ามาแทรก เรียกว่า “ตลาดไนท์” ตอนเย็นวันอังคารเป็นตลาด
อาหารพื้นบ้านตอนเย็นวันพฤหัสบดี และตลาดนัดตอนเย็นวันศุกร์ ทาให้แม่ค้าแผงลอยใน
หมู่บ้านเดือนร้อนขายอาหารสดไม่ได้จึงร้องเรียนไปยัง องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเจริญ
ประมาณปีพ.ศ. 2547 องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเจริญจึงอนุญาตให้มีตลาดนัดเพียง 2 แห่ง
คือ ตลาดไนท์ ตอนเย็นวันอังคาร และตลาดนัดตอนเย็นวันศุกร์ ยกเลิกตลาดนัดทุกวันที่ 5, 15
และ 25 ของทุกเดือนและตลาดอาหารพื้นบ้านตอนเย็นวันพฤหัสบดี (ยุววิจัยประวัติศาสตร์
ท้องถิ่น กลุ่มที่ 1, 2552: 40-46)
ชื่อภาพ : ตลาดไนท์ทุกเย็นวันอังคาร ชื่อภาพ : ตลาดนัดทุกเย็นวันศุกร์
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 11
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
5. อำชีพเสริมในตลำดไนท์วันอังคำร
ชื่อวิทยากรนายสนิท สาระบุตร
ชื่อเล่น สนิท ปัจจุบัน อายุ 36 ปี
ขายสินค้า เสื้อผ้า ขายมาแล้ว 5 ปี
ให้ข้อมูลว่า เมื่อก่อนนายสนิทมีอาชีพขาย
ผลไม้ และทานาแต่รายได้ไม่มากพอที่จะ
นามาจุนเจือครอบครัวจึงเปลี่ยนมาขาย
เสื้อผ้าเป็นอาชีพหลัก และทานาเป็นอาชีพ
เสริมแรงบันดาลใจมาจากการอยากใช้ชีวิตอยู่กับครอบครัวโดยการสร้างอาชีพไม่ต้องจาก
ครอบครัวไปทางานที่กรุงเทพฯและการขายเสื้อผ้าเป็นอาชีพสุจริต รายได้ดี มีเวลาอยู่กับ
ครอบครัว การเช่าที่ขายเสื้อผ้าจะจ่ายครั้งละ 40–50 บาท เพื่อเป็นภาษีบารุงท้องที่ให้กับ
เทศบาลตาบลโนนเจริญ เทศบาลก็จะนาไปบริหารพัฒนาท้องที่ต่อไป รายได้จากการขาย
เสื้อผ้าในแต่ละเดือนประมาณ 7,000-10,000 บาท
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 12
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
6. อำชีพเสริมในตลำดไนท์วันอังคำร
ชื่อวิทยากร นางวารุณี ศรีคา
ชื่อเล่น นี ปัจจุบัน อายุ 48 ปี
สินค้าที่จาหน่าย อาหารสด ขนม น้าอัดลม
จานวนปีที่ขาย จานวน 1 ปี
ให้ข้อมูลว่า นาสินค้ามาขายเป็นล็อก
ในการเช่าล็อกจ่ายเป็นเงินค่าเช่าช่องละ
20 บาท นางวารุณีเป็นคนที่ทากับข้าวอร่อย
จึงเกิดความคิดสร้างสรรค์ในการทากับข้าวขายตามตลาดและได้กับข้าวมากมายขายรวมกับ
ขนมน้าอัดลมในการลงทุนเฉลี่ย ประมาณ 300 บาทต่อวันขายได้กาไรประมาณ600-700
บาทต่อวัน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 13
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
7. อำชีพเสริมในตลำดไนท์วันอังคำร
ชื่อวิทยากร นางเพชร จันทร์แก้ว
ชื่อเล่น เพชร ปัจจุบัน อายุ 36 ปี
สินค้าที่จาหน่าย เนื้อสุกร
จานวนปีที่จาหน่าย 2 ปี
ให้ข้อมูลว่า เริ่มขายเนื้อสุกรมาสักพัก
ได้กาไรดีไม่ขาดทุนคนที่มาซื้อส่วนมาก
จะเป็นผู้หญิงที่เป็นแม่บ้านโดยจะซื้อมา
ประกอบอาหาร ขายราคากิโลกรัมละ 130-140 บาท ในการซื้อสุกรแต่ละครั้งรายจ่าย
ประมาณ 50,000 บาท/เดือน รายได้ในการขายประมาณ 100,000 บาท/เดือน การขายเนื้อ
สุกรในแต่ละครั้งจะขายได้ประมาณ 1 ตัว การขายเนื้อสุกรทาให้มีรายได้มากนอกเหนือจาก
การทานาและไม่ควรเป็นแม่ค้าอย่างเดียว
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 14
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
8. อำชีพเสริมในตลำดไนท์วันอังคำร
ชื่อวิทยากร นางสมร บุตรสิงห์
ชื่อเล่น สมร ปัจจุบัน อายุ 35 ปี
ขายสินค้า เบ็ดเตล็ด
ขายมาแล้ว 2 ปี
ให้ข้อมูลว่า
การขายของเบ็ดเตล็ดในตลาดไนท์
ขายค่อนข้างดีเพราะเป็นของที่จาเป็นต่อ
ครอบครัวและเป็นของใช้ในชีวิตประจาวัน มีรายได้ครั้งละ 1,000.- 2,000.บาท สรุปได้ว่า การ
ขายของใช้เบ็ดเตล็ดเป็นอาชีพที่น่าสนใจมีรายได้เลี้ยงชีพพอสมควร
9. อำชีพเสริมในตลำดไนท์วันอังคำร
วิทยากร นางเพชร จันทร์แก้ว
ชื่อเล่น เพชร
ปัจจุบัน อายุ 40 ปี
สินค้าที่ขาย เนื้อสุกร
ขายมาแล้ว 2 ปี
นางเพชรให้ข้อมูลว่า การขายเนื้อสุกรขายดีเพราะจาเป็นต่อการนาไปประกอบอาหาร
นามาประกอบอาหารแต่บางครั้งอาจขายไม่ดีเพราะราคาสุกรมีราคาสูงขึ้น รายได้ต่อครั้ง
ครั้งละประมาณ 1,000 บาท
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 15
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
10. อำชีพเสริมในตลำดไนท์วันอังคำร
ชื่อวิทยากร นายปองศักดิ์ ดารง
ชื่อเล่น ป๋อ
ปัจจุบัน อายุ 29. ปี
สินค้าที่ขาย ปลาหมึกย่าง
ขายมาแล้ว 2 ปี
ให้ข้อมูลว่า ปลาหมึกย่างเป็นอาหารที่เด็ก ๆ
นิยมรับประทานจึงขายดี มีรายได้ครั้งละ ประมาณ
3,000 บาท สรุปได้ว่าการขายปลาหมึกย่างเป็น
อาชีพที่น่าสนใจรายได้ดี
11. อำชีพเสริมในตลำดนัดวันศุกร์
ชื่อวิทยากร นายเตื้อ บุญชีรัมย์
ชื่อเล่น เตื้อ ปัจจุบัน อายุ 47 ปี
สินค้าที่ขายกระเทียม พริกแห้ง
ขายมาแล้ว 3 ปี
ให้ข้อมูลว่า การขายพริกแห้งขายดีเพราะมี
ราคาดีและมีความจาเป็นต่อการดารงชีวิต
ประจาวัน มีรายได้ครั้งละประมาณ 3,000 บาท สรุป
อาชีพขายพริกแห้งสามารถเลี้ยงชีพอยู่ได้
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 16
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
12. อำชีพเสริมในตลำดนัดวันศุกร์
ชื่อวิทยากร นายสุวิท ศิริพงษ์
ชื่อเล่น วิท
ปัจจุบันอายุ 53 ปี
สินค้าที่ขาย ไส้กรอกย่าง
ขายมาแล้ว 2 ปี
ให้ข้อมูลว่า การขายไส้กรอกขายดีเพราะคน
นิยมรับประทาน มีรายได้ครั้งละประมาณ 1,000 บาท
สรุปได้ว่า อาชีพขายไส้กรอกเป็นอาชีพที่ดีเพราะคนนิยมรับประทาน
13. อำชีพเสริมในตลำดนัดวันศุกร์
ชื่อวิทยากร นางพรยลา พิลาวุธ
ชื่อเล่น จ่อย
ปัจจุบัน อายุ 35 ปี
สินค้าที่ขาย เสื้อผ้า
ขายมาแล้ว 5 ปี
ให้ข้อมูลว่า การขายเสื้อผ้าเป็นอาชีพที่ขายดีเพราะเสื้อผ้าคือสิ่งจาเป็น
ต่อการดารงชีวิตของมนุษย์มีรายได้ครั้งละประมาณ 2,500 บาท
สรุปได้ว่า การขายเสื้อผ้าเป็นอาชีพที่น่าสนใจเพราะมีรายได้ดี
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 17
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
14. กลุ่มงำนประดิษฐ์จำกชุมชน
ชื่อวิทยากร นายทองใบ คาประเวช
ชื่อเล่น เคน.
ปัจจุบัน อายุ 62 ปี
สินค้า หวดนึ่งข้าวเหนียว
ขายมาแล้ว 2 ปี
ให้ข้อมูลว่า หวดขายดีเพราะคนนิยมซื้อไป
ประกอบอาหาร สรุปได้ว่า การสานหวด
ทาให้มีรายได้เสริมประมาณ 1,500 บาท/เดือน
15. กลุ่มงำนประดิษฐ์จำกชุมชน
ชื่อวิทยากร นางบัวลอง สวัสดี.
ชื่อเล่น ลอง
ปัจจุบัน อายุ 47 ปี
สินค้า เสื่อไหล
ขายมาแล้ว 2 ปี
ให้ข้อมูลว่าการทอเสื่อขายนั้น ขายดี
เพราะจาเป็นต่อการดารงชีวิตของมนุษย์
สรุปได้ว่ารายได้ 1,500 บาท/เดือน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 18
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
17. กลุ่มงำนประดิษฐ์จำกชุมชน
ชื่อวิทยากร นางยวน แกะรัมย์
ชื่อเล่น ยวน
ปัจจุบัน อายุ 57 ปี
สินค้า กระเป๋า
ขายมาแล้ว 4 ปี
ให้ข้อมูลว่าได้เย็บกระเป๋ามานาน 4 ปี
กระเป๋าจะถูกส่งออกไปยังกรุงเทพ
โดยจะมีรถมารับจากที่บ้านทุกอาทิตย์ เย็บได้รายได้ราคากระเป๋าละ 12–15 บาท แล้วแต่
ขนาดของกระเป๋า แรงบันดาลใจมาจากการที่คนแถวบ้านทากันเป็นสินค้าส่งออกที่สาคัญ
และมีคนมาชักชวนให้ประกอบอาชีพนี้ สาหรับอาชีพนี้ก็ทาเวลาว่างจากฤดูทานา รายได้ไม่
มากนักแต่สามารถนามาเลี้ยงครอบครัว สรุปได้ว่า มีรายเสริมจากการทากระเป๋าประมาณ
30,000 บาท/ปี รายได้สามารถนามาจุนเจือครอบครัวได้
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 19
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
18. กลุ่มงำนประดิษฐ์จำกชุมชน
ชื่อวิทยากร นางนวล อ่วงประโคน
ชื่อเล่น แนะ
ปัจจุบันอายุ 53 ปี
สินค้าที่ขาย ผ้าไหมไทย
ขายมาแล้ว 15 ปี
ให้ข้อมูลว่า การทอผ้าไหมเป็นงานที่ต้องใช้
ความประณีตสร้างลวดลายที่สวยงาม มีลวดลาย
ที่ซับซ้อนมีความงาม มีความละเอียดภายในตัวคนที่ทอจะต้องใจเย็น ใช้เวลานานเป็นอาทิตย์
กว่าจะทอเสร็จเป็นผืน โดยคุณป้าจะทอผ้าไหมเป็นอาชีพเสริมเมื่อว่างจากการทานางานทอผ้า
ไหมเป็นงานที่ยากและไม่ค่อยได้กาไรมากนัก แต่ก็สามารถทาเป็นงานอาชีพเมื่อว่างจากการ
ทานาได้แรงบันดาลใจเพื่ออนุรักษ์ความสวยงามของลายผ้าให้ดูสวยงามและมีคุณค่าในความ
เป็นไทยมากขึ้นสรุปรายได้ในแต่ละครั้งที่ขายต่อปีประมาณ 25,000 บาท
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 20
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
19. กลุ่มงำนประดิษฐ์จำกชุมชน
ชื่อวิทยากร นางสมหวัง ศิลป์โสภา
ชื่อเล่น หวัง
ปัจจุบัน อายุ 58 ปี
สินค้ากลุ่มทอผ้ากี่กระตุก
ขายมาแล้ว 12 ปี
ให้ข้อมูลว่า เป็นการรวมกลุ่มทอผ้า
มีประธานคือนางมะลิ แก้วสีดา ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ 2544 มีสมาชิกทั้งหมด 20 คน ใช้เวลาใน
การผลิต 1 ผืนใช้เวลา 2 วัน ขายในราคาผืนละ 300 บาท และมีหน่วยงานที่สนับสนุนดังนี้-
กองทุนชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชน อาเภอบ้านกรวดมูลนิธิศุภนิมิตสาขาบุรีรัมย์ สหกรณ์
การเกษตรศุภนิมิตบ้านกรวดจากัด สรุปได้ว่ากลุ่มทอผ้ามรรายได้ประมาณปีละ 200,000 บาท
รายได้ในการจาหน่ายจะแบ่งตามจานวนเงินที่ผลิตผ้าไหมได้เมื่อสิ้นปีจะแบ่งปันผล
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 21
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
บรรณำนุกรม
แหลม พาชื่นใจ และคณะ . (2548). หนังสืออนุสรณ์ในงำนฉลองอัฐิพ่อสิมมำ พำชื่นใจ
บุรีรัมย์ : เรวัตการพิมพ์.
ยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่น กลุ่มที่ 1. (2552). กำรสร้ำงบ้ำนแปงเมืองบ้ำนโนนเจริญ
บุรีรัมย์ : อัดสาเนา.
องค์การบริหารส่วนตาบล. (2552). รำยงำนผลกำรปฏิบัติงำนของเทศบำลตำบลโนนเจริญ.
บุรีรัมย์ : อัดสาเนา.

More Related Content

Viewers also liked

เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1หรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน หรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญเล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 

Viewers also liked (10)

เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1
 
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญเล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
 
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 

Similar to เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน

เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่นเล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่นหรร 'ษๅ
 
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docxนวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docxssuser6a0d4f
 
โครงงานคุณธรรม
โครงงานคุณธรรมโครงงานคุณธรรม
โครงงานคุณธรรมteerasak ch.
 
กิตติกรรมประกาศ 9-05-2558
กิตติกรรมประกาศ 9-05-2558กิตติกรรมประกาศ 9-05-2558
กิตติกรรมประกาศ 9-05-2558T Ton Ton
 
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
สรุปผลการศึกษาค้นคว้าสรุปผลการศึกษาค้นคว้า
สรุปผลการศึกษาค้นคว้าGamonros
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่นรวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่นreaweewan
 
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวเครือข่าย ปฐมภูมิ
 
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2tongsuchart
 
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมเล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมหรร 'ษๅ
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001Thidarat Termphon
 
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่งtie_weeraphon
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศอิ่' เฉิ่ม
 

Similar to เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน (17)

เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่นเล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
 
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docxนวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
 
โครงงานคุณธรรม
โครงงานคุณธรรมโครงงานคุณธรรม
โครงงานคุณธรรม
 
บทที่ 2
บทที่ 2  บทที่ 2
บทที่ 2
 
กิตติกรรมประกาศ 9-05-2558
กิตติกรรมประกาศ 9-05-2558กิตติกรรมประกาศ 9-05-2558
กิตติกรรมประกาศ 9-05-2558
 
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
สรุปผลการศึกษาค้นคว้าสรุปผลการศึกษาค้นคว้า
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
 
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่นรวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
 
1
11
1
 
5
55
5
 
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
 
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2
 
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมเล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
 
Focus 4-55
Focus 4-55Focus 4-55
Focus 4-55
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
 
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
 

More from หรร 'ษๅ

แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนเล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 

More from หรร 'ษๅ (14)

แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนเล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
 
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
 
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 

เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน

  • 1. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) เศรษฐกิจในท้องถิ่น บทนำ การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยนักเรียนโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม ครั้งนี้ เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ การสารวจ แล้วนาข้อมูลมาเรียบเรียงเป็นหนังสือ อ่านเพิ่มเติม เพื่อสะดวกในการนาไปศึกษาด้วยตนเอง วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักให้ ผู้เรียนรักษ์ท้องถิ่น เกิดความภาคภูมิใจเป็นการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติเท่ากับเป็นการทา ความรู้จักสังคมของตนเองซึ่งจะช่วยปลูกฝังความรักมาตุภูมิ ความมุ่งมั่นในปณิธานแห่งชาติ และความเข้าใจวัฒนธรรมประจาชาติรู้สึกเป็นเจ้าของท้องถิ่นของตน วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการสืบค้นเรื่องราวในอดีตของสังคมมนุษย์ เริ่มต้นที่ความอยากรู้อยากเห็นของผู้ต้องการศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้าหาคาตอบ ด้วยตนเองจากร่องรอยที่คนในอดีตได้ทาไว้และตกทอดเหลือมาถึงปัจจุบัน โดยไม่หลงเชื่อ คาพูดของใครคนใดคนหนึ่งหรืออ่านหนังสือเพียงเล่มใดเล่มหนึ่งแล้วเชื่อว่าเป็นจริง สิ่งที่ต้องทา เป็นอันดับแรกของการสืบค้นอดีตเมื่อมีประเด็นที่ต้องการสืบค้นแล้ว คือการเก็บรวบรวมข้อมูล จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวางและละเอียดลออ ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น สอบถามผู้รู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจากหลักฐาน ทุกชิ้นด้วยจิตสานึกว่าหลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งหมด หรือบอกความจริงเสมอไป แล้ว รวบรวมข้อเท็จจริงที่ได้ จากนั้นนาเสนอผลที่ศึกษาได้พร้อมอ้างอิงหลักฐานให้ชัดเจนเพื่อให้ ผู้อื่นตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าต่อไปได้ ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย 1. การกาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน (เรื่องอะไร ช่วงเวลาใด ที่ไหน) 2. รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ให้ครบถ้วน ครอบคลุม 3. ตรวจสอบความจริงจากหลักฐาน ที่เรียกว่า การวิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ 4. วิเคราะห์ข้อมูลและตีความเพื่อค้นหาข้อเท็จจริง 5. นาเสนอผลงานความรู้ที่ค้นพบ โดยปราศจากอคติและความลาเอียง
  • 2. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 2 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 1 กำรกำหนดหัวเรื่อง การกาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษา ช่วงเวลาใด ที่ไหนให้ชัดเจนในหนังสือเล่มนี้ สมาชิกในกลุ่มช่วยกันตั้งชื่อไว้หลายชื่อให้คัดเหลือเพียงเรื่องเดียว ดังนี้ 1. เศรษฐกิจในชุมชน 2. เศรษฐกิจในหมู่บ้านโนนเจริญ 3. เศรษฐกิจในชุมชนของเรา 4. เศรษฐศาสตร์บ้านโนนเจริญ 5. ศึกษาเศรษฐศาสตร์ในชุมชน 6. ปากท้องชาวโนนเจริญ เรื่องอะไร ในที่ประชุมกลุ่มลงมติเลือกข้อที่ 1 เหตุผล สั้นกะทัดรัด เข้าใจง่าย ที่ไหน หมู่บ้านในการปกครองของเทศบาลตาบลโนนเจริญ มีจานวน 11 หมู่บ้าน แต่ในหนังสือเล่มนี้จะกล่าวถึง 5 หมู่บ้านในบ้านโนนเจริญ ดังนี้ โนนเจริญ หมู่ที่ 1 โนนเจริญ หมู่ที่ 2 โนนเจริญ หมู่ที่ 3 โนนเจริญ หมู่ที่ 4 โนนเจริญ หมู่ที่ 5 ช่วงเวลำใด ประมาณปี พ.ศ. 2493-2554
  • 3. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 3 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 2 กำรรวบรวมข้อมูล หลักฐำนที่เป็นลำยลักษณ์อักษร 1. หนังสือการสร้างบ้านแปงเมืองบ้านโนนเจริญโดยคณะยุววิจัยประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น กลุ่มที่ 1 2. รายงานผลการปฏิบัติงานของเทศบาลตาบลโนนเจริญ หลักฐำนที่ไม่เป็นลำยลักษณ์อักษร 1. นายทองเฮง แนวดี อายุ 74 ปี ประธานกลุ่มยางพาราสงเคราะห์นิคมฯ 2. นายเอี่ยม สิมาจารย์ อายุ 45 ปี 3. นางบัวสอน โคประโคน อายุ 42 ปี 4. นางสุภาพร สรชัย อายุ 39 ปี 5. นายสนิท สาระบุตร อายุ 36 ปี 6. นางวารุณี ศรีคา อายุ 42 ปี 7. นางเพชร จันทร์แก้ว อายุ 36 ปี 8. นางเตื้อ บุญชีรัมย์ อายุ 47 ปี 9. นายสุวิท ศิริพงษ์ อายุ 53 ปี 10. นายทองใบ คาประเวช อายุ 62 ปี 11. นางบัวลอง สวัสดี อายุ 62 ปี 12. นางยวน แกะประโคน อายุ 57 ปี 13. นางนวล อวงประโคน อายุ 53 ปี 14. นางสมหวัง ศิลปะโสภา อายุ 58 ปี
  • 4. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 4 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 3 ประเมินคุณค่ำของหลักฐำน จากหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร จากการสัมภาษณ์นายทองเฮง แนวดี อายุ 74 ปี นายเอี่ยม สิมาจารย์ อายุ 45 ปี นางบัวสอน โคประโคน อายุ 42 ปี นางสุภาพร สรชัย อายุ 39 ปี นายสนิท สาระบุตร อายุ 36 ปี นางวารุณี ศรีคา อายุ 42 ปี นางเพชร จันทร์แก้ว อายุ 36 ปี นางเตื้อ บุญชีรัมย์ อายุ 47 ปี นายสุวิท ศิริพงษ์ อายุ 53 ปี นายทองใบ คาประเวช อายุ 62 ปี นางบัวลอง สวัสดี อายุ 62 ปี นางยวน แกะประโคน อายุ 57 ปี นางนวล อวงประโคน อายุ 53 ปี และนางสมหวัง ศิลปะโสภา อายุ 58 ปี สรุปได้ว่า เศรษฐกิจในหมู่บ้านโนนเจริญ ทั้ง 5 หมู่บ้าน ขึ้นอยู่กับราคายางพาราส่วน การทานานั้น ประชาชนทาเพียงเล็กน้อยเก็บไว้รับประทานเหลือก็ขายและมีรายได้เสริมจาก การขายของตลาดนัดถึง 2 วันและงานศิลป์หัตกรรมพื้นบ้านบ้างเล็กน้อย จากหลักฐานที่เป็น ลายลักษณ์อักษร สรุปได้ว่าพื้นที่ปลูกสวนยางเพิ่มขึ้นอาชีพเกษตรกรจากการทานาอย่างเดียว เปลี่ยนเป็นทานาและทาสวนยางพารา
  • 5. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 5 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 4 วิเครำะห์และสังเครำะห์ข้อมูล เศรษฐกิจชาวโนนเจริญทั้ง 5 หมู่บ้านขึ้นอยู่กับราคายางพารา ส่วนการทานาทา เพียงเก็บไว้รับประทานเหลือก็ขายและมีรายได้เสริมจากการขายของตลาดนัดถึง 2 วันและงาน ศิลป์หัตกรรมพื้นบ้านบ้างเล็กน้อย พื้นที่ปลูกสวนยางเพิ่มขึ้นอาชีพเกษตรกรจากการทานา อย่างเดียวเปลี่ยนเป็นทานาและทาสวนยางพารา
  • 6. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 6 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 5 กำรตีควำมหลักฐำน จากข้อมูลพื้นฐานของเทศบาลตาบลโนนเจริญ ประชากรของตาบลโนนเจริญส่วน ใหญ่ประกอบอาชีพทานา มีบางส่วนที่ทาสวนยางพารา ทาไร่อ้อย เลี้ยงสัตว์ (โค, กระบือ) และค้าขายเป็นอาชีพเสริม จากข้อมูลของหน่วยธุรกิจในตาบลโนนเจริญจะพบมีโรงสีขนาดเล็กถึง 37 แห่ง ซึ่งชี้ให้เห็นว่าราษฎรในตาบลโนนเจริญยังคงนิยมทานาและเป็นอาชีพหลักของชุมชนแต่รายได้ ที่ได้ปริมาณมาก ทาให้ฐานะทางด้านการเงิน ความเป็นอยู่ดีขึ้นส่วนใหญ่จะมาจากการทา สวนยางพารา
  • 7. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 7 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) องค์ควำมรู้ที่ได้จำกกำรศึกษำท้องถิ่นของเรำ โดยใช้วิธีกำรทำงประวัติศำสตร์ ................................................................................. บ้านโนนเจริญยุคนี้เศรษฐกิจเฟื่องฟู ลักษณะทางสังคมความเป็นอยู่เปลี่ยนแปลงไป เป็นสังคมเมืองอย่างชัดเจน มีการซื้อขายสินค้า มีการติดต่อค้าขายระหว่างพ่อค้าพื้นเมือง กับพ่อค้าจากทั่วสารทิศ เด็กเล็กในยุคนี้มีค่านิยมเปลี่ยนไป ชอบขนมขบเคี้ยว ดื่มน้าอัดลม ไก่ทอดซีพีและเล่นอินเทอร์เน็ตเป็นกิจวัตรประจาวัน อำชีพของรำษฎร จากข้อมูลพื้นฐานของเทศบาลตาบลโนนเจริญ ประชากรของตาบลโนนเจริญส่วน ใหญ่ประกอบอาชีพทานา มีบางส่วนที่ทาสวนยางพารา ทาไร่อ้อย เลี้ยงสัตว์ (โค, กระบือ) และค้าขายเป็นอาชีพเสริม (องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเจริญ, 2552:14 -15) จากข้อมูลของหน่วยธุรกิจในตาบลโนนเจริญจะพบมีโรงสีขนาดเล็กถึง 37 แห่ง ซึ่งชี้ให้เห็นว่าราษฎรในตาบลโนนเจริญยังคงนิยมทานาและเป็นอาชีพหลักของชุมชน 1. อำชีพทำนำ วิทยากรชื่อนางยอม ขิงพรมราช อายุ 51 ปี ให้สัมภาษณ์ว่า อาชีพทานา เป็นอาชีพดั้งเดิมของคนไทย ราษฎรบ้านโนนเจริญ ส่วนใหญ่มีอาชีพทานา ท่านทานามาตั้งแต่อายุ ประมาณ 10 ปี จนกระทั่งปัจจุบัน ปีนี้ท่านลงทุน ในการทานาประมาณ 2,070 บาท มีที่นาทั้งหมด 8 ไร่ ทานาเอง 3 ไร่ ผลผลิตที่ได้ประมาณ 8-10 กระสอบ ที่นาทีเหลือให้ผู้อื่นเช่าทา
  • 8. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 8 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) 2. อำชีพทำสวนยำงพำรำ นายทองเฮง แนวดี ปัจจุบัน อายุ 74 ปี ย้ายถิ่นมาจากอาเภอรัตนบุรี จังหวัด สุรินทร์เช่นกันแต่ย้ายเข้ามาช้ากว่ากลุ่มที่ 3 ประมาณ 2 ปี ปัจจุบันเป็นประธานกลุ่มยางพารา สงเคราะห์นิคมฯ มีการทากิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 มีสมาชิก มากกว่า 700 คน เป็นครอบครัวที่ประสบความสาเร็จในเรื่องการปลูกยางพารา เป็นกลุ่มแรกและได้ผลผลิตจากต้นยางแล้ว (ยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่น กลุ่มที่ 1, 2552:36) อาชีพของประชาชนในหมู่บ้านในช่วงแรก ปลูกข้าวเป็นอาชีพหลัก พืชผักสวนครัวเพื่อใช้ รับประทานและจัดงานบุญกุศล มีการปลูกพืช เศรษฐกิจเพียงชนิดเดียวคือ ปอ ต่อมานุ่นเริ่ม มีราคา และมีการซื้อขาย จึงมีการปลูก โดยทั่วไปในหมู่บ้านเพื่อใช้ในครัวเรือนและแบ่ง ขายตามฤดูกาลประมาณปี พ.ศ. 2531 ทางราชการได้รณรงค์โครงการอีสานเขียวให้ต้นพันธ์ยูคาลิปตัสปลูกในที่ว่างและหัวไร่ปลายนา จึงทาให้เกิดการซื้อขายที่นา ที่สวนในราคาแพง เป็นไร่ละประมาณ 10,000 บาท จากเคยซื้อ ขายกันไร่ละ 1,000 บาท การทานาเริ่มเปลี่ยนแปลงวิธีการทานา จากใช้ควายเป็นแรงงาน เปลี่ยนเป็นรถไถนาเดินตาม จากนาดาเป็นนาหว่าน ค่าแรงคนเพิ่มขึ้นเท่าตัว ประเพณีการลง แขกเกี่ยวข้าวและลงแขกนวดข้าวหายไปใช้รถสีข้าวแทน เพื่อให้ทันกับการนาข้าวไปขายเพื่อใช้ หนี้ ธกส. ในเดือนมีนาคมของทุกปี จากการสัมภาษณ์นายเอี่ยม สิมาจารย์ อายุ 45 ปี บ้านเลขที่ 139 หมู่ที่ 5 ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ สรุปได้ว่าประมาณปี พ.ศ. 2535 เจ้าหน้าที่จากการสงเคราะห์ยางพารา (สกย.) เป็นหน่วยงานตามพระราชดาริของสมเด็จ พระราชินีนาถ ให้ความอนุเคราะห์มอบกิ่งพันธุ์ยางพาราแก่ราษฎรที่เข้าร่วมโครงการ และ ยังสนับสนุนปุ๋ยและเคมีภัณฑ์ เพื่อใช้ในการดูแล ปัจจุบันต้นยางพาราดังกล่าวให้ผลผลิตได้ แล้วและมีประชาชนเปลี่ยนอาชีพจากชาวนาเป็นชาวสวนยางพาราเป็นจานวนมากขึ้นเรื่อย ๆ
  • 9. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 9 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ผู้ให้สัมภาษณ์ได้ประมาณรายได้ 4 ปีย้อนหลัง เมื่อเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2552 จากการทา สวนยาง ประมาณ 5 ไร่ มีรายได้ที่ยังไม่หักค่าใช้จ่าย ดังนี้ รายได้ปี พ.ศ. 2548 ประมาณ 60,000 บาท ราคารับซื้อยางพารา 72 บาท/กิโลกรัม รายได้ปี พ.ศ. 2549 ประมาณ 80,000 บาท ราคารับซื้อยางพารา 80 บาท/กิโลกรัม รายได้ปี พ.ศ. 2550 ประมาณ 100,000 บาท ราคารับซื้อยางพารา100 บาท/กิโลกรัม รายได้ปี พ.ศ. 2551 ประมาณ 50,000 บาท ราคารับซื้อยางพารา 78 บาท/กิโลกรัม ข้อสังเกต รายได้ของชาวสวนยางพาราจะมีรายได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการรับซื้อยางพารา ของพ่อค้ารับซื้อยางพารา ไม่ใช่ปริมาณน้ายางพารา 3. อำชีพทำไร่อ้อย วิทยากรชื่อ นางบัวสอน โคประโคน อายุ 42 ปี ประกอบอาชีพทาไร่อ้อยมาแล้ว 3 ปี ให้ข้อมูลว่า ลงทุนต่อครั้งต่อปี 100,000 บาท มีพื้นที่ทั้งหมด 5 ไร่ ใช้ ระยะเวลา ในการปลูก 1 ปี ผลผลิตต่อครั้งต่อปีทั้งหมด14 ตันๆละ 2,000 บาท แรงบันดาลใจเป็นอาชีพเสริมไม่ต้องทางานไกล และสร้างรายได้ดี 4. อำชีพเลี้ยงสัตว์ วิทยากรชื่อนางสุภาพร สรชัย อายุ 39 ปี ประมาณ 2 ปีลงทุนในการซื้อหมู 1,500 บาท/ตัว ต้นทุนในการซื้ออาหารประมาณ 6,160 บาท การเจริญเติบโตของหมูใช้ระยะเวลา ประมาณ 4 เดือน แรงบันดาลใจในการเลี้ยงหมู เพราะเป็น แม่บ้านอยู่เฉย ๆ จึงเลี้ยงหมูเพื่อเป็นอาชีพเสริม
  • 10. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 10 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว ได้อธิบายถึงเศรษฐกิจในหมู่บ้านโนนเจริญ สรุปได้ว่า หมู่บ้านโนนเจริญมีตลาดสดครั้งแรกในสมัยนายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว รับตาแหน่งกานันตาบล โนนเจริญ ประมาณปี พ.ศ. 2521 อยู่บริเวณข้างวัดบ้านโนนเจริญ เป็นอาคารไม้ชั้นเดียว ทอดยาวโล่งทั้งอาคาร มีเวทีสาหรับการแสดงอยู่บริเวณหน้าตลาด ปัจจุบันเป็นที่ตั้งที่ทาการ องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเจริญ ราวปี พ.ศ. 2537 ตลาดสดจึงย้ายไปตั้งที่บริเวณที่ว่าง ข้างหนองบ้านโนนเจริญ ซึ่งทาการรื้อถอนโรงไฟฟ้าเครื่องปั่นไฟซึ่งไม่ได้ใช้งานแล้วสร้างตลาด สดแห่งใหม่ มีแม่ค้าท้องถิ่นมาขายเฉพาะวันตลาดนัด ทุกวันที่ 5, 15 และ 25 ของทุกเดือน ต่อมามีการค้าขายรูปแบบใหม่เข้ามาแทรก เรียกว่า “ตลาดไนท์” ตอนเย็นวันอังคารเป็นตลาด อาหารพื้นบ้านตอนเย็นวันพฤหัสบดี และตลาดนัดตอนเย็นวันศุกร์ ทาให้แม่ค้าแผงลอยใน หมู่บ้านเดือนร้อนขายอาหารสดไม่ได้จึงร้องเรียนไปยัง องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเจริญ ประมาณปีพ.ศ. 2547 องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเจริญจึงอนุญาตให้มีตลาดนัดเพียง 2 แห่ง คือ ตลาดไนท์ ตอนเย็นวันอังคาร และตลาดนัดตอนเย็นวันศุกร์ ยกเลิกตลาดนัดทุกวันที่ 5, 15 และ 25 ของทุกเดือนและตลาดอาหารพื้นบ้านตอนเย็นวันพฤหัสบดี (ยุววิจัยประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น กลุ่มที่ 1, 2552: 40-46) ชื่อภาพ : ตลาดไนท์ทุกเย็นวันอังคาร ชื่อภาพ : ตลาดนัดทุกเย็นวันศุกร์
  • 11. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 11 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) 5. อำชีพเสริมในตลำดไนท์วันอังคำร ชื่อวิทยากรนายสนิท สาระบุตร ชื่อเล่น สนิท ปัจจุบัน อายุ 36 ปี ขายสินค้า เสื้อผ้า ขายมาแล้ว 5 ปี ให้ข้อมูลว่า เมื่อก่อนนายสนิทมีอาชีพขาย ผลไม้ และทานาแต่รายได้ไม่มากพอที่จะ นามาจุนเจือครอบครัวจึงเปลี่ยนมาขาย เสื้อผ้าเป็นอาชีพหลัก และทานาเป็นอาชีพ เสริมแรงบันดาลใจมาจากการอยากใช้ชีวิตอยู่กับครอบครัวโดยการสร้างอาชีพไม่ต้องจาก ครอบครัวไปทางานที่กรุงเทพฯและการขายเสื้อผ้าเป็นอาชีพสุจริต รายได้ดี มีเวลาอยู่กับ ครอบครัว การเช่าที่ขายเสื้อผ้าจะจ่ายครั้งละ 40–50 บาท เพื่อเป็นภาษีบารุงท้องที่ให้กับ เทศบาลตาบลโนนเจริญ เทศบาลก็จะนาไปบริหารพัฒนาท้องที่ต่อไป รายได้จากการขาย เสื้อผ้าในแต่ละเดือนประมาณ 7,000-10,000 บาท
  • 12. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 12 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) 6. อำชีพเสริมในตลำดไนท์วันอังคำร ชื่อวิทยากร นางวารุณี ศรีคา ชื่อเล่น นี ปัจจุบัน อายุ 48 ปี สินค้าที่จาหน่าย อาหารสด ขนม น้าอัดลม จานวนปีที่ขาย จานวน 1 ปี ให้ข้อมูลว่า นาสินค้ามาขายเป็นล็อก ในการเช่าล็อกจ่ายเป็นเงินค่าเช่าช่องละ 20 บาท นางวารุณีเป็นคนที่ทากับข้าวอร่อย จึงเกิดความคิดสร้างสรรค์ในการทากับข้าวขายตามตลาดและได้กับข้าวมากมายขายรวมกับ ขนมน้าอัดลมในการลงทุนเฉลี่ย ประมาณ 300 บาทต่อวันขายได้กาไรประมาณ600-700 บาทต่อวัน
  • 13. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 13 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) 7. อำชีพเสริมในตลำดไนท์วันอังคำร ชื่อวิทยากร นางเพชร จันทร์แก้ว ชื่อเล่น เพชร ปัจจุบัน อายุ 36 ปี สินค้าที่จาหน่าย เนื้อสุกร จานวนปีที่จาหน่าย 2 ปี ให้ข้อมูลว่า เริ่มขายเนื้อสุกรมาสักพัก ได้กาไรดีไม่ขาดทุนคนที่มาซื้อส่วนมาก จะเป็นผู้หญิงที่เป็นแม่บ้านโดยจะซื้อมา ประกอบอาหาร ขายราคากิโลกรัมละ 130-140 บาท ในการซื้อสุกรแต่ละครั้งรายจ่าย ประมาณ 50,000 บาท/เดือน รายได้ในการขายประมาณ 100,000 บาท/เดือน การขายเนื้อ สุกรในแต่ละครั้งจะขายได้ประมาณ 1 ตัว การขายเนื้อสุกรทาให้มีรายได้มากนอกเหนือจาก การทานาและไม่ควรเป็นแม่ค้าอย่างเดียว
  • 14. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 14 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) 8. อำชีพเสริมในตลำดไนท์วันอังคำร ชื่อวิทยากร นางสมร บุตรสิงห์ ชื่อเล่น สมร ปัจจุบัน อายุ 35 ปี ขายสินค้า เบ็ดเตล็ด ขายมาแล้ว 2 ปี ให้ข้อมูลว่า การขายของเบ็ดเตล็ดในตลาดไนท์ ขายค่อนข้างดีเพราะเป็นของที่จาเป็นต่อ ครอบครัวและเป็นของใช้ในชีวิตประจาวัน มีรายได้ครั้งละ 1,000.- 2,000.บาท สรุปได้ว่า การ ขายของใช้เบ็ดเตล็ดเป็นอาชีพที่น่าสนใจมีรายได้เลี้ยงชีพพอสมควร 9. อำชีพเสริมในตลำดไนท์วันอังคำร วิทยากร นางเพชร จันทร์แก้ว ชื่อเล่น เพชร ปัจจุบัน อายุ 40 ปี สินค้าที่ขาย เนื้อสุกร ขายมาแล้ว 2 ปี นางเพชรให้ข้อมูลว่า การขายเนื้อสุกรขายดีเพราะจาเป็นต่อการนาไปประกอบอาหาร นามาประกอบอาหารแต่บางครั้งอาจขายไม่ดีเพราะราคาสุกรมีราคาสูงขึ้น รายได้ต่อครั้ง ครั้งละประมาณ 1,000 บาท
  • 15. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 15 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) 10. อำชีพเสริมในตลำดไนท์วันอังคำร ชื่อวิทยากร นายปองศักดิ์ ดารง ชื่อเล่น ป๋อ ปัจจุบัน อายุ 29. ปี สินค้าที่ขาย ปลาหมึกย่าง ขายมาแล้ว 2 ปี ให้ข้อมูลว่า ปลาหมึกย่างเป็นอาหารที่เด็ก ๆ นิยมรับประทานจึงขายดี มีรายได้ครั้งละ ประมาณ 3,000 บาท สรุปได้ว่าการขายปลาหมึกย่างเป็น อาชีพที่น่าสนใจรายได้ดี 11. อำชีพเสริมในตลำดนัดวันศุกร์ ชื่อวิทยากร นายเตื้อ บุญชีรัมย์ ชื่อเล่น เตื้อ ปัจจุบัน อายุ 47 ปี สินค้าที่ขายกระเทียม พริกแห้ง ขายมาแล้ว 3 ปี ให้ข้อมูลว่า การขายพริกแห้งขายดีเพราะมี ราคาดีและมีความจาเป็นต่อการดารงชีวิต ประจาวัน มีรายได้ครั้งละประมาณ 3,000 บาท สรุป อาชีพขายพริกแห้งสามารถเลี้ยงชีพอยู่ได้
  • 16. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 16 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) 12. อำชีพเสริมในตลำดนัดวันศุกร์ ชื่อวิทยากร นายสุวิท ศิริพงษ์ ชื่อเล่น วิท ปัจจุบันอายุ 53 ปี สินค้าที่ขาย ไส้กรอกย่าง ขายมาแล้ว 2 ปี ให้ข้อมูลว่า การขายไส้กรอกขายดีเพราะคน นิยมรับประทาน มีรายได้ครั้งละประมาณ 1,000 บาท สรุปได้ว่า อาชีพขายไส้กรอกเป็นอาชีพที่ดีเพราะคนนิยมรับประทาน 13. อำชีพเสริมในตลำดนัดวันศุกร์ ชื่อวิทยากร นางพรยลา พิลาวุธ ชื่อเล่น จ่อย ปัจจุบัน อายุ 35 ปี สินค้าที่ขาย เสื้อผ้า ขายมาแล้ว 5 ปี ให้ข้อมูลว่า การขายเสื้อผ้าเป็นอาชีพที่ขายดีเพราะเสื้อผ้าคือสิ่งจาเป็น ต่อการดารงชีวิตของมนุษย์มีรายได้ครั้งละประมาณ 2,500 บาท สรุปได้ว่า การขายเสื้อผ้าเป็นอาชีพที่น่าสนใจเพราะมีรายได้ดี
  • 17. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 17 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) 14. กลุ่มงำนประดิษฐ์จำกชุมชน ชื่อวิทยากร นายทองใบ คาประเวช ชื่อเล่น เคน. ปัจจุบัน อายุ 62 ปี สินค้า หวดนึ่งข้าวเหนียว ขายมาแล้ว 2 ปี ให้ข้อมูลว่า หวดขายดีเพราะคนนิยมซื้อไป ประกอบอาหาร สรุปได้ว่า การสานหวด ทาให้มีรายได้เสริมประมาณ 1,500 บาท/เดือน 15. กลุ่มงำนประดิษฐ์จำกชุมชน ชื่อวิทยากร นางบัวลอง สวัสดี. ชื่อเล่น ลอง ปัจจุบัน อายุ 47 ปี สินค้า เสื่อไหล ขายมาแล้ว 2 ปี ให้ข้อมูลว่าการทอเสื่อขายนั้น ขายดี เพราะจาเป็นต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ สรุปได้ว่ารายได้ 1,500 บาท/เดือน
  • 18. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 18 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) 17. กลุ่มงำนประดิษฐ์จำกชุมชน ชื่อวิทยากร นางยวน แกะรัมย์ ชื่อเล่น ยวน ปัจจุบัน อายุ 57 ปี สินค้า กระเป๋า ขายมาแล้ว 4 ปี ให้ข้อมูลว่าได้เย็บกระเป๋ามานาน 4 ปี กระเป๋าจะถูกส่งออกไปยังกรุงเทพ โดยจะมีรถมารับจากที่บ้านทุกอาทิตย์ เย็บได้รายได้ราคากระเป๋าละ 12–15 บาท แล้วแต่ ขนาดของกระเป๋า แรงบันดาลใจมาจากการที่คนแถวบ้านทากันเป็นสินค้าส่งออกที่สาคัญ และมีคนมาชักชวนให้ประกอบอาชีพนี้ สาหรับอาชีพนี้ก็ทาเวลาว่างจากฤดูทานา รายได้ไม่ มากนักแต่สามารถนามาเลี้ยงครอบครัว สรุปได้ว่า มีรายเสริมจากการทากระเป๋าประมาณ 30,000 บาท/ปี รายได้สามารถนามาจุนเจือครอบครัวได้
  • 19. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 19 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) 18. กลุ่มงำนประดิษฐ์จำกชุมชน ชื่อวิทยากร นางนวล อ่วงประโคน ชื่อเล่น แนะ ปัจจุบันอายุ 53 ปี สินค้าที่ขาย ผ้าไหมไทย ขายมาแล้ว 15 ปี ให้ข้อมูลว่า การทอผ้าไหมเป็นงานที่ต้องใช้ ความประณีตสร้างลวดลายที่สวยงาม มีลวดลาย ที่ซับซ้อนมีความงาม มีความละเอียดภายในตัวคนที่ทอจะต้องใจเย็น ใช้เวลานานเป็นอาทิตย์ กว่าจะทอเสร็จเป็นผืน โดยคุณป้าจะทอผ้าไหมเป็นอาชีพเสริมเมื่อว่างจากการทานางานทอผ้า ไหมเป็นงานที่ยากและไม่ค่อยได้กาไรมากนัก แต่ก็สามารถทาเป็นงานอาชีพเมื่อว่างจากการ ทานาได้แรงบันดาลใจเพื่ออนุรักษ์ความสวยงามของลายผ้าให้ดูสวยงามและมีคุณค่าในความ เป็นไทยมากขึ้นสรุปรายได้ในแต่ละครั้งที่ขายต่อปีประมาณ 25,000 บาท
  • 20. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 20 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) 19. กลุ่มงำนประดิษฐ์จำกชุมชน ชื่อวิทยากร นางสมหวัง ศิลป์โสภา ชื่อเล่น หวัง ปัจจุบัน อายุ 58 ปี สินค้ากลุ่มทอผ้ากี่กระตุก ขายมาแล้ว 12 ปี ให้ข้อมูลว่า เป็นการรวมกลุ่มทอผ้า มีประธานคือนางมะลิ แก้วสีดา ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ 2544 มีสมาชิกทั้งหมด 20 คน ใช้เวลาใน การผลิต 1 ผืนใช้เวลา 2 วัน ขายในราคาผืนละ 300 บาท และมีหน่วยงานที่สนับสนุนดังนี้- กองทุนชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชน อาเภอบ้านกรวดมูลนิธิศุภนิมิตสาขาบุรีรัมย์ สหกรณ์ การเกษตรศุภนิมิตบ้านกรวดจากัด สรุปได้ว่ากลุ่มทอผ้ามรรายได้ประมาณปีละ 200,000 บาท รายได้ในการจาหน่ายจะแบ่งตามจานวนเงินที่ผลิตผ้าไหมได้เมื่อสิ้นปีจะแบ่งปันผล
  • 21. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 21 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) บรรณำนุกรม แหลม พาชื่นใจ และคณะ . (2548). หนังสืออนุสรณ์ในงำนฉลองอัฐิพ่อสิมมำ พำชื่นใจ บุรีรัมย์ : เรวัตการพิมพ์. ยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่น กลุ่มที่ 1. (2552). กำรสร้ำงบ้ำนแปงเมืองบ้ำนโนนเจริญ บุรีรัมย์ : อัดสาเนา. องค์การบริหารส่วนตาบล. (2552). รำยงำนผลกำรปฏิบัติงำนของเทศบำลตำบลโนนเจริญ. บุรีรัมย์ : อัดสาเนา.