SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
บทที่ 6 การติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสารมีความสาคัญและมีความจาเป็นสาหรับคนเราในการดารงอยู่ใน
สังคมที่ต้องพึ่งพาอาศัยกันและกัน ในชีวิตประจาวันเราจะต้องติดต่อสัมพันธ์กับบุคคลอยู่
ตลอดเวลาทั้งที่เป็นบุคคลในครอบครัวและคนทั่วไป จากการศึกษาพบว่าปกติคนเราใช้เวลา
ในการติดต่อสื่อสารถึงร้อยล่ะ 80 ของเวลาทั้งหมดที่บุคคลทากิจกรรมขณะตื่นแต่บ่อยที่
คนเราเข้าใจไม่ตรงกัน เป็ นสาเหตุของความขัดแย้ง จากสาเหตุดังกล่าวจากการ
ติดต่อสื่อสาร ดังนั้นมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต้องมีพื้นฐานมาจากการติดต่อสื่อสารที่มีคุณภาพ
ทั้งนี้เพราะการติดต่อสื่อสารเป็นกระบวนการและการถ่ายทอด ข้อเท็จจริง ความคิด อารมณ์
ความรู้สึก ทัศนคติ และความต้องการจากบุคคลไปสู่บุคคลหรือไปสู่กลุ่ม หรือจากกลุ่มไปสู่
กลุ่มเพื่อสร้างความเข้าใจ ดังที่
เบรท(Breth,1969:6) กล่าวว่า “เราไม่สามารถสร้างมนุษยสัมพันธ์ได้ ถ้าไม่มีการ
ปรับปรุงการติดต่อสื่อสาร”
จุดมุ่งหมายของการติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสารกันในแต่ละระดับ ย่อมมีจุดมุ่งหมายที่แตกต่างกันไปโดยภาพรวม
แล้วการติดต่อสื่อสารมีจุดมุ่งหมาย ดังนี้
1.เพื่อรับและส่งข่าวสารด้านต่างๆ สาหรับผู้ที่มาติดต่อเกี่ยวข้องกัน โดยมุ่งให้ความรู้และสร้าง
ความเข้าใจที่ถูกต้อง
2.เพื่อจูงใจให้เกิดความร่วมมือ สร้างกาลังใจแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องกัน และนาไปสู่การปรับปรุงแก้ไข
3.เพื่อรับ-ส่ง ความรู้สึกที่ดี และมุ่งรักษามิตรภาพต่อกัน
องค์ประกอบของการติดต่อสื่อสาร
ลักษณะของการติดต่อสื่อสารทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อสื่อสารแบบง่ายๆ
จนไปถึงการติดต่อสื่อสารที่สลับซับซ้อน จะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 ประการ
1.ผู้ส่งข่าวสาร (Sender) หมายถึง ผู้พูด ผู้เขียน หรือเจ้าของข้อความหรือความคิด ซึ่ง
อาจเป็นกลุ่มเดียวหรือบุคคลอื่นก็ได้ ผู้ส่งเป็นผู้ถ่ายทอดข่าวสารจะโดยวิธีใดแล้วแต่
จุดมุ่งหมายให้ผู้ใช้เข้าใจความหมายหรือความคิดของตนให้ถูกต้อง และสามารถโต้ตอบได้
ถูกต้องในเรื่องเดียวกัน
2.ข่าวสาร (Message) หมายถึง ตัวข่าวสารหรือเรื่องราวที่ผู้ส่งส่งไปยังยังผู้รับเช่น
คาสั่ง รายงาน รหัส หรือกิริยาท่าทางทีมีความหมายและเรื่องราวต่างๆ
3.ผู้รับข่าวสาร (Receiver) หมายถึง ผู้ที่รับข่าวสารนั้นๆเช่น ผู้ฟัง ผู้รับคาสั่ง ผู้รับเมื่อ
รับข่าวสารจากผู้ส่งจะได้โดยวิธีใดก็แล้วแต่ ผู้รับพยายามแปลความหรือตีความข่าวสารนั้น
ให้เข้าใจตรงกับผู้ส่งต้องการจะเข้าใจและสามารถโต้ตอบไปอย่างถูกต้องในเรื่องเดียวกัน
องค์ประกอบของการติดต่อสื่อสาร(ต่อ)
4.สื่อหรือเครื่องหมายที่ใช้ในการตืดต่อสื่อสาร (Media of
Communication)
หมายถึง ตัวกลางหรือวิธีการที่ผู้ส่งและผู้รับใช้เป็นสื่อกลางที่จะสร้างความเข้าใจแห่ง
ความคิดซึ่งกันและกันซึ่งอาจจะเป็นคาพูด คาสั่งด้วยวาจา ระเบียบข้อบังคับ วิทยุ โทรทัศน์
หนังสือพิมพ์ สัญลักษณ์ ตลอดจนการแสดงกิริยาท่าทางต่างๆ เช่น การก้มศีรษะ การพยัก
หน้า การยิ้ม เป็นต้น
ผู้ส่งสาร สาร(ข้อมูล)
ภาษาพูด (วาจา)
-คาพูด
-เพลง คากลอน
ภาษาเขียน
-จดหมาย
-คาสั่ง
ฯลฯ
สัญลักษณ์
รูปภาพ
สื่อต่างๆ
-วิทยุ
-โทรทัศน์
-โทรศัพท์
ฯลฯ
ผู้รับข่าวสาร
ข้อมูลย้อนกลับ
ภาพแสดงองค์ประกอบของการติดต่อสื่อสาร
กระบวนการติดต่อสื่อสาร
กระบวนการติดต่อสื่อสารที่จะกล่าวถึงนี้เป็นกระบวนการติดต่อสื่อสารระหว่าง
บุคคล (Interpersonal Communication) ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1.ขั้นเกิดความคิด เป็นขั้นที่ผู้ส่งสารเกิดความคิด และความต้องการที่จะส่งความคิด
อารมณ์ ความรู้สึกรวมทั้งความต้องการไปยังผู้รับสาร
2.ขั้นประมวลความคิด ผู้ส่งสารเรียบเรียงความคิด ผสมผสานกับข้อมูลหรือสารที่ได้รับ
จากบุคคลอื่น กลุ่ม หรือองค์การ ให้เป็นข้อมูลใหม่ เป็นสัญลักษณ์หรือรหัส เป็นผลของการ
กลั้นกรองความคิดและข้อมูลให้เหมาะกับผู้รับสารและสถานการณ์
3.ขั้นถ่ายทอดความคิดและข้อมูล เป็นขั้นที่ผู้ส่งสารผ่านสื่อ ผู้ส่งควรจะรู้ว่าเมื่อไรควรใช้
ภาษาพูด ภาษาเขียน กิริยาท่าทาง รูปภาพ สัญลักษณ์หรือสื่อต่างๆ เช่น โทรศัพท์
อินเทอร์เน็ต เพื่อให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว เช่น บุคคลจะส่งความสุขปีใหม่ เขาควรจะส่ง
การ์ด ส.ค.ส หรือจดหมาย หรือโทรศัพท์ ประกอบกับการพิจารณาผู้รับด้วยว่าเขาเป็นใคร
การถ่ายทอดความคิด และข่าวสารโดยใช้สื่อที่เหมาะสม กับจุดประสงค์ เวลา โอกาส
สถานการณ์ และบุคคล เพื่อก่อให้เกิดสัมพันธภาพที่ดีต่อบุคคล
กระบวนการติดต่อสื่อสาร (ต่อ)
4.ขั้นการรับสาร ผู้รับสารจะรับสารจากสื่อแล้วแปลความจากสัญลักษณ์หรือรหัสจากการ
ได้เห็น ได้ฟัง การได้กลิ่น ลิ้มรส การสัมผัส โดยอาศัยประสบการณ์ การแปลความอาจจะไม่
ตรงกับความเป็นจริงก็ได้ ถ้าหากเกิดการผิดจากความเป็นจริงก็ทาให้เกิดความขัดแย้งที่
นาไปสู่ความสัมพันธ์ที่ไม่ดี
5.ขั้นการตอบสนอง เป็นพฤติกรรมการตอบสนองของผู้รับสารหลังจากรับสาร ถ้าผู้รับสาร
แปลความไปในบวก พฤติกรรมตอบสนองก็จะเป็นไปในทางบวก สัมพันธภาพที่ดีก็จะเกิดขึ้น
เกิดความคิด ประมวล
ความคิด
สาร
ภาษาพูด
ภาษาเขียน
กิริยาท่าทาง
สื่อต่างๆ
เช่น
อินเทอร์เน็ต
โทรศัพท์
ฯลฯ
ถ่ายทอดผ่านสื่อ
รับสาร
ถอด
ความ
ตอบสนอง
ข้อมูลย้อนกลับ
ภาพแสดงกระบวนการติดต่อสื่อสาร
กระบวนการติดต่อสื่อสาร (ต่อ)
การติดต่อสื่อสารบางทีก็มีความซับซ้อน ซึ่งถึงแม้ผู้ที่ติดต่อสื่อสารจะอยู่ใน
วัฒนธรรมเดียวกัน เข้าใจภาษาเดียวกันแล้วก็มิได้หมายความว่าจะเข้าใจกันทั้งหมด เพราะ
ในการติดต่อสื่อสารนั้นยังมีความเกี่ยวข้องกับ เจตคติ อารมณ์ บทบาทที่คาดหวัง ความ
แตกต่างทางเพศ และอวัจนพฤติกรรม ของผู้ที่มาติดต่อกัน ทั้งของผู้ส่งและผู้รับ
องค์ประกอบต่างๆดังกล่าว มีส่วนที่จะส่งเสริมการติดต่อสื่อสารให้บรรลุผลสาเร็จและ
ประสบความล้มเหลว ได้ทั้ง 2 ประการ ขึ้นอยู่กับขณะที่ที่มีการติดต่อนั้นจะมีแรงกระทบมา
จากปัจจัยใด ทาให้มีการส่งข้อมูลย้อนกลับไปในข้อมูลเชิงบวกและเชิงลบ นอกจากนั้น
ส่วนประกอบของข้อมูล ยังมิใช่ภาษาหรือถ้อยคาเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงข้อต่อไปนี้
1.ระดับเสียง ซึ่งเป็นตัวบ่งบอกภาวะทางออกของอารมณ์ของผู้ที่มาติดต่อกัน ระดับเสียงที่
ดังแสดงภาวะอารมณ์โกรธ ไม่พอใจ ระดับเสียงเบาและค่อย แสดงภาวะอารมณ์เศร้า เป็น
ต้น ซึ่งคนเราไม่สามารถจะแยกอารมณ์ออกจาการกระทาใดๆได้ บุคคลที่มีความไวต่อ
ความรู้สึกของตนเอง ก็ไวต่อความเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่นได้ด้วย
กระบวนการติดต่อสื่อสาร (ต่อ)
2.การกล้าแสดงตนหรือการเปิดเผยตนเอง เป็นพฤติกรรมที่พร้อมจะต้อนรับหรือพร้อมที่
จะติดต่อกัน ด้วยการแสดงออกที่สามารถรับรู้ความรู้สึกที่เกิดซึ้งกันและกันจะช่วยเสริมความ
เข้าใจดี
3.การฟัง เป็นส่วนสาคัญในการติดต่อสื่อสาร มีบุคคลจานวนมากไม่เข้าใจว่าเป็นการฟัง
พฤติกรรมที่ต้องลงมือกระทา(Active Activity) แต่เข้าใจว่าการฟังเป็นเพียงการตั้งรับ
ข้อมูล(Passive Activity) การฟังเป็นกิจกรรมรวมมีองค์ประกอบ 3 ประการ
3.1 การได้ยิน(Hearing) รับรู้เสียงทางประสาทหู
3.2 ความเข้าใจสาระ (Comprehending)
3.3 ความจา (Remembering)เป็นความสามารถที่จะคงเนื้อหา สาระ และ
ความเข้าใจไว้ได้
สรุปได้ว่า การฟังเป็นการแสดงความใส่ใจ (Pay Attention) ต่อคนอื่นนั้นเอง
กระบวนการติดต่อสื่อสาร (ต่อ)
4.การส่งและรับข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) มีผลและเกี่ยวข้องกับกระบวนการ
ติดต่อสื่อสารมาก ในการช่วยส่งเสริมความแน่ใจว่า การส่ง-รับข้อมูลนั้นถูกต้อง ซึ่งการส่ง-
รับข้อมูล ย้อมกลับสามารถแสดงออกท่าทางทางอวัจนพฤติกรรม เช่น การป้ อนคาถามที่
เกี่ยวข้อง หรือการตอบสนองว่า เข้าใจว่าอย่างไร
5.การแสดงออกทางใบหน้าและท่าทาง สีหน้าและท่าทางเป็นการถ่ายทอดความรู้สึกนึก
คิดภายในบุคคลซึ่งจะช่วยให้เกิดความเข้าใจกันมากขึ้น
ภาคผนวก
ภาคผนวก (ต่อ)
แบบฝึกหัด
1.จุดมุ่งหมายของการติดต่อสื่อสารแต่ละระดับมีอะไรบ้าง?
ก. เพื่อรับและส่งข่าวสารในด้านต่างๆ
ข. เพื่อจูงใจให้เกิดความร่วมมือ
ค. เพื่อรับ-ส่งความรู้สึกที่ดี
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
2.องค์ประกอบของการติดต่อสื่อสารมีกี่องค์ประกอบ?
ก. 3 องค์ประกอบ ข. 4 องค์ประกอบ
ค. 5 องค์ประกอบ ง. 6 องค์ประกอบ
3.คาว่าผู้ส่งข่าวสาร ข้อใดต่อไปนี้ผิด?
ก. ผู้เขียน ข. ผู้พูด
ค. เจ้าของข้อความ ง. ผู้ฟัง
4. ผู้รับข่าวสารคือใคร?
ก. ผู้ฟัง ข. ผู้รับคาสั่ง
ค.ผู้รับข่าวสาร ง. ถูกทุกข้อ
5.กระบวนการติดต่อสื่อสารมีกี่ขั้นตอน
ก. 5 ขั้นตอน ข. 3 ขั้นตอน
ค. 4 ขั้นตอน ง. 6 ขั้นตอน
6.”ตัวข่าวสารหรือเรื่องราวที่ผู้ส่งส่งไปยังผู้รับ”หมายถึงข้อใด?
ก.ผู้ส่งข่าวสาร ข.ผู้รับข่าวสาร
ค.ข่าวสาร ง.สื่อหรือเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร
7.การฟังมีองค์ประกอบย่อยกี่ประการ
ก.2 ข.3
ค.4 ง.5
8.ขั้นเกิดความคิด คืออะไร
ก.เป็นขั้นที่ผู้ส่งสารเกิดความคิด
ข.เป็นขั้นที่ผู้ส่งสารเรียบเรียงความคิด
ค.เป็นขั้นที่ผู้ส่งสารผ่านสื่อ
ง.เป็นขั้นที่ผู้รับข่าวสารจากสื่อแล้วแปลความหมายจากสัญลักษณ์
9.ระดับเสียงคืออะไร
ก.เป็นตัวบ่งบอกภาวะทางออกของอารมณ์ผู้ติดต่อกัน
ข.ระดับเสียงที่แสดงภาวะอารมณ์โกรธ ไม่พอใจ
ค.ระดับเสียงเบา และค่อยแสดงภาวะอารมณ์เศร้า
ง.ถูกทุกข้อ
10.ขั้นการรับสาร ข้อใดถูกต้อง
ก.การได้กลิ่น
ข.ลิ้มรส
ค.การสัมผัส
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย
1.ง
2.ข
3.ง
4.ง
5.ก
6.ค
7.ข
8.ก
9.ง
10.ง
กลุ่มที่ 1
1.นาย ณัฐวุฒิ กาแก้ว 580112417036
2.นาย วุฒิชัย มาขุมเหล็ก 580112417043
3.นาย สราวุฒิ เดชอาจ 580112417045
4.นาย อธิวัฒน์ สัตถาวะโห 580112417046
5.น.ส.ปนัดดา หอมหวล 580112417053
สาขา เทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มวิชาการจัดการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา หมู่ 2 ปี 2

More Related Content

Similar to บทที่-6-การติดต่อสื่อสาร

บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 
หลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสารหลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสารMagicianslove Beer
 
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)PoMpam KamOlrat
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
Chapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of cultureChapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of cultureTeetut Tresirichod
 
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่นEbook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่นPanda Jing
 
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่นEbook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่นPanda Jing
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงIFon Lapthavon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงsukhom
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมChalit Arm'k
 
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2สรสิช ขันตรีมิตร
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurstya035
 

Similar to บทที่-6-การติดต่อสื่อสาร (20)

บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
หลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสารหลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสาร
 
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
Chapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of cultureChapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of culture
 
ข้อ 2
ข้อ 2ข้อ 2
ข้อ 2
 
Fff
FffFff
Fff
 
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่นEbook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
 
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่นEbook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
 
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
 
Se appl chapter 1
Se appl chapter 1Se appl chapter 1
Se appl chapter 1
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 

บทที่-6-การติดต่อสื่อสาร