SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
การเตรียมผู้ป่วย
สู่การบาบัดทดแทนไต
นพ.สกานต์ บุนนาค
งานโรคไต กลุ่มงานอายุรศาสตร์
โรงพยาบาลราชวิถี
ผลของไตวาย
จะเกิดอาการที่เกิดจากการเสียหน้าที่ต่างๆของไต เช่น
 เสียหน้าที่ในการขับน้า จะทาให้มีปัสสาวะออกน้อยลง บวม
เหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้
 เสียหน้าที่ในการขับของเสีย เสียสมดุลกรดด่าง และเกลือแร่ ทา
ให้มีอาการ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
คันตามผิวหนัง มีภาวะเลือดออกง่ายหยุดยาก มีอาการกระตุกของ
แขนขา ซึม ชัก หมดสติ หัวใจเต้นผิดจังหวะ หรือหัวใจหยุดเต้น
และเสียชีวิตได้
 เสียหน้าที่ในการสร้างฮอร์โมน ทาให้เกิดภาวะโลหิตจาง และ
กระดูกบาง
ทาไมต้องรับการบาบัดทดแทนไต
 เมื่อผู้ป่วยเข้าสู่ระยะสุดท้ายของโรคไตการรักษาแบบ
ประคับประคองโดยการคุมอาหารร่วมกับยาเพียงอย่างเดียว ไม่
สามารถทาให้ผู้ป่วยดารงชีวิตอยู่ได้ จึงจาเป็นต้องรับการบาบัด
ทดแทนไต
การรักษาโดยการทดแทนการทางานของไต
การฟอกเลือด
ด้วยเครื่องไตเทียม
การล้างไต (ฟอกเลือด)
ทางช่องท้อง
การปลูกถ่ายไต
ฟอกเลือดหรือล้างไตแล้ว
จะช่วยอะไรผู้ป่วยได้บ้าง ?
 อาการบวม หอบ เหนื่อย นอนราบไม่ได้ มักดีขึ้นอย่างรวดเร็ว เห็น
ได้ภายใน 1 - 2 วัน
 แต่ อาการอันเกี่ยวข้องกับระบบประสาท ได้แก่ มึนงง สับสน ไม่รู้
สติ กระตุก รวมทั้งอาการของระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ อาการ
คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหารมักดีขึ้น แต่อาจใช้เวลาอีก 3 - 4 วัน จึง
สังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน
 ความดันโลหิตที่สูงอยู่ก่อน มักลดลงและควบคุมได้ดีขึ้น
 แต่การฟอกเลือดมิได้มีผลต่อการสร้างเม็ดเลือดโดยตรง ดังนั้น
ผู้ป่วยอาจจาเป็น ต้องได้รับการให้เลือด หรือฉีดฮอร์โมนเออริโธร-
พอยอิติน เพื่อกระตุ้นไขกระดูก ให้สร้างเม็ดเลือดแดงให้มากขึ้น
หลักการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
กลไกของการฟอกเลือด
ด้วยเครื่องไตเทียม
เลือด
น้ายาล้างฟอกก
เลือด
ของเสีย
เม็ดเลือด
ชนิดของหลอดเลือดพิเศษ
1.การตัดต่อหลอดเลือด 2.การต่อด้วยหลอดเลือดเทียม 3.สายสวนหลอดเลือดดา
1 2 3
ระยะเวลารอ 2-3 เดือน 2-4 สัปดาห์ ใช้ได้ทันที
ปริมาณเลือดที่ดึงออกมาฟอกได้ ++ +++ +
อายุการใช้งาน +++ ++ +
โอกาสติดเชื้อ + ++ +++
 ผู้ป่วยควรเตรียมทาเส้นเลือดดังกล่าวไว้ล่วงหน้าตั้งแต่ยังไม่เข้าสู่
ระยะฟอกเลือด โดยเมื่อเส้นเลือดพร้อมใช้งานแล้วก็ยังไม่
จาเป็นต้องเริ่มฟอกเลือดทันที
 การตัดต่อเส้นเลือดหรือใช้หลอดเลือดเทียม ระยะยาวอาจเกิด
การโป่งพองของเส้นเลือด
 โดยทั่วไปผู้ป่วยจะได้รับการฟอกเลือดครั้งละ 4 - 5 ชั่วโมง สัปดาห์
ละ 2 - 3 ครั้ง
 ต้องทาที่โรงพยาบาล หรือศูนย์ไตเทียม โดยมีพยาบาลและ
เจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญด้านการฟอกเลือดเป็นผู้ดูแล
PD catheter Transfer set
หลักการล้างไตทางช่องท้อง
 เปลี่ยนถ่ายน้าวันละ 4-5 ครั้ง ส่วนใหญ่แต่ละครั้งไม่เกิน 30 นาที
 แต่ในรอบสุดท้ายของวันซึ่งมักทาก่อนเข้านอนจะทิ้งค้างไว้ 6-8
ชั่วโมงโดยไม่จาเป็นต้องตื่นมาเปลี่ยนน้ายากลางดึก
 ทาต่อเนื่องทุกวัน
 ผู้ป่วยจึงสามารถทาการฟอกไตทางช่องท้องที่บ้าน
 มาพบแพทย์เป็นเป็นระยะตามความเหมาะสม เช่น 1-2 เดือนต่อ
ครั้ง
 หากทาให้ถูกต้องตามขั้นตอนที่ได้รับการฝึกสอนแล้วโอกาสติดเชื้อ
เฉลี่ยประมาณ 1-2 ปีต่อครั้งเท่านั้น และส่วนมากใช้เพียงการเติม
ยาฆ่าเชื้อเข้าไปในถุงน้ายาก่อนใส่เข้าไปในช่องท้องก็สามารถ
รักษาการติดเชื้อให้หายได้ มีเพียงส่วนน้อยที่รุนแรงถึงขั้นต้องนอน
โรงพยาบาลหรือผ่าตัดเอาสายออก
• ช่วยลดขั้นตอนหรือช่วยเปลี่ยนถ่ายน้ายาใน
ขณะที่ผู้ป่วยนอนหลับหรือ
• ลดภาระของผู้ดูแลในกรณีที่ผู้ป่วยช่วยเหลือ
ตัวเองไม่ได้
• มีราคาแพงกว่าอุปกรณ์แบบทั่วไปที่ใช้กันอยู่
มาก
• อาจไม่เหมาะกับผู้ที่หลับยากตื่นง่ายเนื่องจาก
มีการทางานของเครื่องขณะนอนหลับ
ล้างไตทางช่องท้อง ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ประสิทธิภาพ เมื่อเทียบต่อ 1 สัปดาห์แล้วไม่แตกต่างกัน
ข้อห้ามทาง
การแพทย์
•เยื่อบุช่องท้องผิดปกติหรือ
มีพังผืด
•มีการรั่วของผนังช่องท้องที่
ไม่อาจซ่อมแซมได้
•มีภาวะที่ทาให้เสี่ยงต่อการ
ติดเชื้อในช่องท้อง
•มีการติดเชื้อบริเวณผนัง
หน้าท้อง อ้วนมาก
•มีระบบไหลเวียนโลหิตไม่
คงที่ มีโรคหัวใจรุนแรง
•มีภาวะหลอดเลือดแข็ง
รุนแรง
•มีภาวะเลือดออกง่ายหยุด
ยากรุนแรง
ล้างไตทางช่องท้อง ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ข้อจากัดทางด้าน
ครอบครัวและ
สังคม
•ผู้ป่วยหรือผู้ช่วยเหลือ
จะต้องทาการเปลี่ยนถ่าย
น้ายาเอง
•ต้องจัดสภาพแวดล้อมใน
บ้านให้สะอาดเหมาะสม
•สามารถกาหนดเวลาการ
เปลี่ยนถ่ายน้ายาได้เอง
•จะต้องมีสายออกมาทาง
หน้าท้อง
•พุงจะยื่นและทาให้เสีย
บุคลิก
•ผู้ป่วยจะต้องเดินทางไปที่
ศูนย์ฟอกเลือด ซึ่งบางครั้ง
อยู่ไกล
•ถ้าต้องเดินทางไปที่อื่น
นานๆ ผู้ป่วยจะต้องติดต่อ
หาศูนย์ฟอกเลือด
•เส้นเลือดที่ใช้ฟอกเลือด
อาจจะเกิดการโป่งพอง
ล้างไตทางช่องท้อง ฟอกเลือดด้วยเครื่องไต
เทียม
ความปลอดภัย ถ้าผู้ป่วยได้รับการเลือกการรักษาให้เหมาะสมและปฏิบัติ
ตามคาแนะนาอย่างเคร่งครัดแล้ว อัตราการเจ็บป่วยและ
อัตราการเสียชีวิตของการรักษาทั้ง 2 วิธีนี้ไม่แตกต่างกัน
ผลต่อภาวะ
โภชนาการ
มีการสูญเสียโปรตีนออกไป
มากกว่า
มีการจากัดน้าและอาหาร
มากกว่า
การปลูกถ่ายไตการบาบัดทดแทนไตที่ดีที่สุด
เปรียบเทียบอัตราตาย ระหว่างผู้ป่วยที่เข้ารับการปลูกถ่ายไตครั้งแรก
กับผู้ป่วยที่ทาการฟอกเลือด
2.84
1.00
0.32
ความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต
จานวนวันหลังการปลูกถ่าย
106 183 365 548
เสี่ยงมากกว่า
เสี่ยงน้อยกว่า
ภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
การติดเชื้อ
ปฏิกิริยาการปฏิเสธอวัยวะ
คุณภาพชีวิต
ชนิดของการปลูกถ่ายไต
Oการปลูกถ่ายไตที่ได้รับบริจาคจากผู้ป่วยที่มีภาวะสมองตาย
(cadaveric KT, deceased donor KT)
Oการปลูกถ่ายไตที่ได้รับบริจาคจากผู้ที่มีชีวิตปกติ (living
related KT)
ข้อแตกต่างระหว่างการปลูกถ่ายไตทั้ง 2 ชนิด
จากผู้ป่วยที่มีภาวะสมองตาย จากผู้ที่มีชีวิตปกติ
เป็นไตที่ไม่สมบูรณ์ 100% เป็นไตที่สมบูรณ์เกือบ 100%
ไม่สามารถคาดเดาได้แน่นอนว่า
ต้องรอนานเท่าใด
ระยะเวลาการรอคอยไม่นาน
ความเข้ากันของเนื้อเยื่อน้อยกว่า ความเข้ากันของเนื้อเยื่อดีกว่า
เทคนิคการตัดต่อไตง่ายกว่า เทคนิคการตัดต่อยากกว่า
อายุการใช้งานสั้นกว่า อายุการใช้งานนานกว่า
ผู้บริจาคไม่มีความเสี่ยง ผู้บริจาคมีความเสี่ยงอยู่บ้าง
หมู่เลือดและเนื้อเยื่อเข้ากันได้
หมู่เลือดผู้รับ หมู่เลือดผู้บริจาค
A A,O
B B,O
AB A, B, AB, O
O O
ไตจากผู้บริจาคที่มีชีวิต
การประเมินความพร้อมผู้รับไต
ไตจากผู้บริจาคที่เสียชีวิตจากภาวะสมองตาย
ประเมินความพร้อมผู้บริจาค
แพทย์วินิจฉัยภาวะสมองตายของผู้ป่วย
ทาการขอบริจาคไตจากญาติสายตรงของผู้ป่วย
แจ้งไปยังกาชาด
เพื่อตรวจความเข้ากันของเนื้อเยื่อ
ผู้รับไตสมัครเข้าโครงการเปลี่ยนไตกับกาชาด
และส่งเลือดให้กาชาดทุกเดือน เพื่อใช้ตรวจ
ความเข้ากันของเนื้อเยื่อ และตรวจการติดเชื้อ
กาชาดทาการแจกจ่ายไตให้แก่ผู้รับที่เหมาะสม
ตรวจความเข้ากันของเนื้อเยื่อ
ผู้รับไต (recipient)ผู้บริจาคไต (donor) ผู้บริจาคไต (donor)
ทาการปลูกถ่ายไต
กรรมการพิจารณาการปลูกถ่ายไต
เกณฑ์การให้คะแนนของกาชาด
• ความเข้ากันของหมู่เลือด และ เนื้อเยื่อ
• โอกาสที่จะมีคนบริจาคไตที่เข้าได้กับผู้ป่วย
• ระยะเวลาการรอ
• เด็ก
สาเหตุที่พบบ่อยที่ทาให้ระยะเวลารอคอยนาน
 ผู้ป่วยมีการสร้างภูมิต้านทานต่อเนื้อเยื่อของคนในประชากร
(PRA สูง)
◦ เคยได้รับเลือดบ่อยๆ
◦ เคยตั้งครรภ์หลายครั้ง
◦ เคยได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะมาก่อน
การประเมินผู้รับไต
 สาเหตุของไตวาย
บางโรคกลับเป็นซ้าหลังเปลี่ยนไตและเป็นสาเหตุทาให้สูญเสีย
ไตที่เปลี่ยนได้
 โรคประจาตัว
โรคที่ไม่ควรผ่าตัดปลูกถ่ายไต ; ผู้ป่วยโรคมะเร็งที่โรคหายขาด
มา < 2-5 ปี, ผู้ป่วยโรคปอด , โรคตับและโรคหัวใจรุนแรง , ผู้ป่วยที่มี
การติดเชื้ออยู่ในร่างกาย , ผู้ป่วย HIV , ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทาง
กายวิภาคของทางเดินปัสสาวะ
 อายุ ยังไม่มีเกณฑ์ที่แน่นอน
 สภาพร่างกายทั่วไป และสภาพจิตใจ
 เศรษฐฐานะ
 ความสามารถในการปฏิบัติตัวได้ตามแผนการรักษา
การประเมินผู้บริจาคไตที่มีชีวิต
 ผู้ที่ไม่ควรบริจาคไต
◦ อายุ <18 ปีหรือ > 60 ปี
◦ เบาหวาน, ความดันโลหิตสูง, โรคปอด, โรคหัวใจ, โรคตับ,
และโรคทางอายุรกรรมที่รุนแรง
◦ ผู้ป่วยมะเร็ง
◦ ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ B,C และ HIV
◦ ผู้ป่วยจิตเวช
◦ อ้วนมากๆ
◦ มีความผิดปกติของไตหรือทางเดินปัสสาวะ
ข้อดีและความเสี่ยงของผู้บริจาคไตที่มีชีวิต
 ข้อดี
◦ ไม่มีข้อดีด้านสุขภาพต่อผู้บริจาค
◦ ข้อดีต่อด้านจิตใจระหว่างผู้บริจาคกับผู้รับเนื่องจากเป็นการ
ให้ที่ยิ่งใหญ่ ผู้ป่วยหลายคนรู้สึกเหมือนมีชีวิตใหม่ ทาให้
ความสัมพันธ์ระหว่างกันเหนียวแน่นยิ่งขึ้น และทาให้ตัวผู้
บริจาคภูมิใจ
ข้อดีและความเสี่ยงของผู้บริจาคไตที่มีชีวิต
 ความเสี่ยง
◦ การผ่าตัดนาไตออก มีโอกาสเสียชีวิตประมาณ 3 ใน 10,000
(เทียบเท่ากับการผ่าตัดคลอดบุตร) และมีโอกาสเกิด
ภาวะแทรกซ้อนใกล้เคียงการผ่าตัดทั่วไป
◦ โอกาสเกิดไตวายภายใน 15 ปีหลังบริจาคไต ประมาณร้อยละ
2-3 เปรียบเทียบกับคนสุขภาพดีเท่ากันที่ไม่ได้บริจาคไต
ประมาณร้อยละ 0.1-0.7
◦ ทาให้ผู้บริจาคไม่มีไตสารอง หากเกิดการสูญเสียไตจาก
อุบัติเหตุ หรือ มะเร็งเป็นต้น
การผ่าตัดปลูกถ่ายไต

More Related Content

What's hot

ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายชนิกานต์ บุญชู
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57Sirinoot Jantharangkul
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจWan Ngamwongwan
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)Sureerut Physiotherapist
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 

What's hot (20)

ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
Ppt.DLP
Ppt.DLPPpt.DLP
Ppt.DLP
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจ
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 

Viewers also liked

คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559Kamol Khositrangsikun
 
คู่มือ59 เล่ม3 ไต
คู่มือ59 เล่ม3 ไตคู่มือ59 เล่ม3 ไต
คู่มือ59 เล่ม3 ไตChuchai Sornchumni
 
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
Centre management -  PD quality นพ.สกานต์Centre management -  PD quality นพ.สกานต์
Centre management - PD quality นพ.สกานต์Kamol Khositrangsikun
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตchalunthorn teeyamaneerat
 
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
National kpi for pd _ ร่าง 28 กุมภาพันธ์ 2558
National kpi for pd _ ร่าง 28 กุมภาพันธ์ 2558National kpi for pd _ ร่าง 28 กุมภาพันธ์ 2558
National kpi for pd _ ร่าง 28 กุมภาพันธ์ 2558Kamol Khositrangsikun
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้CAPD AngThong
 
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Diseaseโรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney DiseaseCAPD AngThong
 
Kpi guidelines pd quality 2016-final
Kpi guidelines pd quality 2016-finalKpi guidelines pd quality 2016-final
Kpi guidelines pd quality 2016-finalKamol Khositrangsikun
 
KPI IN PD นครศรีธรรมราช 2559
KPI IN PD นครศรีธรรมราช 2559KPI IN PD นครศรีธรรมราช 2559
KPI IN PD นครศรีธรรมราช 2559Kamol Khositrangsikun
 
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่องแนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่องPPtocky
 
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชUtai Sukviwatsirikul
 
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559Kamol Khositrangsikun
 
Center management - PD Quality Baxter 27 มีนาคม 2559
Center management - PD Quality  Baxter  27 มีนาคม 2559 Center management - PD Quality  Baxter  27 มีนาคม 2559
Center management - PD Quality Baxter 27 มีนาคม 2559 Kamol Khositrangsikun
 
Steroid Withdrawal after kidney transplantation
Steroid Withdrawal after kidney transplantationSteroid Withdrawal after kidney transplantation
Steroid Withdrawal after kidney transplantationChristos Argyropoulos
 
The Kidney Transplantation Patient Pathway at the QEHB
The Kidney Transplantation Patient Pathway at the QEHBThe Kidney Transplantation Patient Pathway at the QEHB
The Kidney Transplantation Patient Pathway at the QEHBmeducationdotnet
 

Viewers also liked (20)

คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
คู่มือ59 เล่ม3 ไต
คู่มือ59 เล่ม3 ไตคู่มือ59 เล่ม3 ไต
คู่มือ59 เล่ม3 ไต
 
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
Centre management -  PD quality นพ.สกานต์Centre management -  PD quality นพ.สกานต์
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไต
 
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
National kpi for pd _ ร่าง 28 กุมภาพันธ์ 2558
National kpi for pd _ ร่าง 28 กุมภาพันธ์ 2558National kpi for pd _ ร่าง 28 กุมภาพันธ์ 2558
National kpi for pd _ ร่าง 28 กุมภาพันธ์ 2558
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Diseaseโรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
 
Kpi guidelines pd quality 2016-final
Kpi guidelines pd quality 2016-finalKpi guidelines pd quality 2016-final
Kpi guidelines pd quality 2016-final
 
KPI IN PD นครศรีธรรมราช 2559
KPI IN PD นครศรีธรรมราช 2559KPI IN PD นครศรีธรรมราช 2559
KPI IN PD นครศรีธรรมราช 2559
 
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่องแนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
 
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
 
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559
 
Center management - PD Quality Baxter 27 มีนาคม 2559
Center management - PD Quality  Baxter  27 มีนาคม 2559 Center management - PD Quality  Baxter  27 มีนาคม 2559
Center management - PD Quality Baxter 27 มีนาคม 2559
 
Steroid Withdrawal after kidney transplantation
Steroid Withdrawal after kidney transplantationSteroid Withdrawal after kidney transplantation
Steroid Withdrawal after kidney transplantation
 
Renal Failure
Renal FailureRenal Failure
Renal Failure
 
Rr rx
Rr rxRr rx
Rr rx
 
The Kidney Transplantation Patient Pathway at the QEHB
The Kidney Transplantation Patient Pathway at the QEHBThe Kidney Transplantation Patient Pathway at the QEHB
The Kidney Transplantation Patient Pathway at the QEHB
 

More from CAPD AngThong

การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อการวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อCAPD AngThong
 
การจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pcการจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ PcCAPD AngThong
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPCAPD AngThong
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifeCAPD AngThong
 
PC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcPC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcCAPD AngThong
 
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationCAPD AngThong
 
PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative careCAPD AngThong
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsCAPD AngThong
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative careCAPD AngThong
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative careCAPD AngThong
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcCAPD AngThong
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCCAPD AngThong
 
PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care CAPD AngThong
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1CAPD AngThong
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีCAPD AngThong
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔CAPD AngThong
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559CAPD AngThong
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริCAPD AngThong
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิชCAPD AngThong
 

More from CAPD AngThong (20)

การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อการวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
 
การจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pcการจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pc
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACP
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of life
 
PC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcPC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pc
 
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
 
PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative care
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative care
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pc
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 
PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
 

แนวทางการบำบัดทดแทนไต