SlideShare a Scribd company logo
น.ส. ทิพชรัตน์ ประทุมคำ เลขที่ 7  น.ส. วีรวรรณ พามี เลขที่ 18 นาย ชัยธวัช สุดประเสริฐ เลขที่  20 นายสมภพ ไก่แก้ว เลขที่  21 น.ส. ขนิษฐา เจริญพร เลขที่  22  น.ส. จิราภรณ์ โสภา เลขที่  24 ม. 6/1 ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดิน ดินเป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ เกิดจากการสลายตัวผุพังของหินชนิดต่าง ๆ  หินที่สลายตัวผุกร่อนนี้จะมีขนาดต่าง ๆ กัน เมื่อผสมรวมกับซากพืช ซากสัตว์ น้ำ อากาศ ก็กลายเป็นเนื้อดินซึ่งส่วนประกอบเหล่านี้จะมากน้อยแตกต่างกันไปตามชนิดของดิน ดินเป็นทรัพยากรที่ใช้แล้วทดแทนได้ และยังมีความสัมพันธ์กับทรัพยากรอื่นๆ เช่น ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรแร่ธาตุ ถึงแม้จะเป็นทรัพยากรที่ทดแทนได้แต่ก็ใช้เวลาที่นานมากในการสร้างดินแต่ละชั้น
ชนิดของดิน อนุภาคของดินจะรวมตัวกันเข้าเกิดเป็นเม็ดดิน อนุภาคเหล่านี้จะมีขนาดไม่เท่ากัน ขนาดเล็กที่สุดคืออนุภาคดินเหนียว อนุภาคขนาดกลางเรียกอนุภาคทรายแป้ง อนุภาคขนาดใหญ่เรียกว่า อนุภาคทรายเนื้อดิน จะมีอนุภาคทั้ง 3 กลุ่มนี้ผสมกันอยู่ในสัดส่วนที่ไม่เท่ากันทำให้เกิดลักษณะของดิน 3 ชนิดใหญ่ ๆ คือ ดินเหนียว ดินทราย และดินร่วน
ดินเหนียว ดินเหนียว เป็นดินที่เมื่อเปียกแล้วมีความยืดหยุ่น อาจปั้นเป็นก้อนหรือคลึงเป็นเส้นยาวได้เหนียวเหนอะหนะติดมือ เป็นดินที่มีการระบายน้ำและอากาศไม่ดี มีความสามารถในการอุ้มน้ำได้ดี มีความสามารถในการจับยึดและแลกเปลี่ยนธาตุอาหารพืชได้สูง หรือค่อนข้างสูง เป็นดินที่มีก้อนเนื้อละเอียด เพราะมีปริมาณอนุภาคดินเหนียวอยู่มาก เหมาะที่จะใช้ทำนาปลูกข้าวเพราะเก็บน้ำได้นาน
ดินทราย ดินทราย เป็นดินที่มีการระบายน้ำและอากาศดีมาก มีความสามารถในการอุ้มน้ำต่ำ มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ เพราะความสามารถในการจับยึดธาตุอาหารพืชมีน้อย พืชที่ชั้นบนดินทรายจึงมักขาดทั้งอาหารและน้ำเป็นดินที่มีเนื้อดินทรายเพราะมีปริมาณอนุภาคทรายมาก
ดินร่วน ดินร่วน เป็นดินที่มีเนื้อดินค่อนข้างละเอียดนุ่มมือ ยืดหยุ่นได้บ้าง มีการระบายน้ำได้ดีปานกลาง จัดเป็นเนื้อดินที่เหมาะสมสำหรับการเพาะปลูกในธรรมชาติมักไม่ค่อยพบ แต่จะพบดินที่มีเนื้อดินใกล้เคียงกันมากกว่า สีของดิน สีของดินจะทำให้เราทราบถึงความอุดมสมบูรณ์ปริมาณอินทรียวัตถุที่ปะปนอยู่และแปรสภาพเป็นฮิวมัสในดิน ทำให้สีของดินต่างกันถ้ามีฮิวมัสน้อยสีจะจางลงมีความอุดมสมบูรณ์น้อย ลักษณะโครงสร้างที่ดีของดิน ได้แก่ สภาพที่เม็ดดินเกาะกันเป็นก้อนเล็ก ๆ อยู่รวมกันอย่างหลวม ๆ ตลอดชั้นของหน้าดิน  
องค์ประกอบของดิน ดินมีองค์ประกอบที่สำคัญอยู่ 4 ส่วน ด้วยกันคือ อากาศ น้ำ แร่ธาตุ และอินทรียวัตถุ ดินที่อุดมสมบูรณ์ ให้ผลผลิตสูงและเหมาะสมต่อการเพาะปลูก พบว่ามีองค์ประกอบดังกล่าวในสัดส่วน
สาเหตุการเกิดมลพิษทางดิน 1. การทิ้งขยะลงดิน การทิ้งสิ่งของต่างๆลงในดินเป็นสาเหตุให้เกิดการสะสมของสารเคมีสารพิษในดิน ทำให้เกิดปัญหามลพิษและทำให้สมบัติของดินเปลี่ยนไป  สิ่งของที่เราทิ้งลงไปบางชนิดสามารถย่อยได้โดยจุลินทรีย์ที่อยู่ในดิน บางชนิดไม่สามารถย่อยได้เมื่อมีสารเคมีสะสมอนุภาคของดินก็จะดูดซับไว้และถ่ายทอดไปตามโซ่อาหาร
สาเหตุการเกิดมลพิษทางดิน 2.การใช้สารเคมีทางการเกษตร  สารเคมีที่เกษตรกรนิยมใช้ในทางการเกษตรเช่น ปุ๋ยเคมี ชนิดต่างๆ และสารเคมีที่ใช้ในการปราบศัตรูพืชและสัตว์  สารเคมีเหล่านี้เกษตรกรใช้เพื่อต้องการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร  ซึ่งสารบางชนิดก็ตกค้างอยู่ในดิน บางชนิดก็สามารถสลายตัวได้เองโดยธรรมชาติในระยะสั้นและยาวแตกต่างกันตามชนิดของสารเคมี บางชนิดก็ไม่สามารถสลายตัวได้จึงสะสมในดินและถ่ายทอดไปตามโซ่อาหาร
สาเหตุการเกิดมลพิษทางดิน 3.สารกัมมันตรังสี นอกจากนี้ยังมรสารกัมมันตรังสีต่างๆ ที่ใช้ในการแพทย์ การเกษตรกรรม การอุตสาหกรรม และการทดลองระเบิดปรมาณู  สารกัมมันตรังสีเหล่านี้เมื่อมีการรั่วไหลอาจจะกระจายตัวจากแหล่งที่ใช้หรือแหล่งที่เก็บลงสู่ดินและมีอันตรายค่อนข้างสูงต่อสิ่งมีชีวิตและสารพิษมีการถ่ายทอดไปตามโซ่อาหารเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตได้
ปัญหาทรัพยากรดิน ดินส่วนใหญ่ถูกทำลายให้สูญเสียความอุดมสมบูรณ์ หรือตัวเนื้อดินไปเนื่องจากการกระทำของมนุษย์ และการสูญเสียตามธรรมชาติทำให้เราไม่อาจใช้ประโยชน์จากดินได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ การสูญเสียดินเกิดได้จาก      1. การกัดเซาะและพังทลายโดยน้ำ น้ำจำนวนมากที่กระทบผิวดินโดยตรงจะกัดเซาะผิวดิน ให้หลุดลอยไปตามน้ำ การสูญเสียบริเวณผิวดินจะเป็นพื้นที่กว้าง หรือถูกกัดเซาะเป็นร่องเล็ก ๆ ก็ขึ้นอยู่กับความแรง และบริเวณของน้ำที่ไหลบ่าลงมาก
ปัญหาทรัพยากรดิน      2. การตัดไม้ทำลายป่า การเผาป่า ถางป่าทำให้หน้าดินเปิด และถูกชะล้างได้ง่ายโดยน้ำและลมเมื่อฝนตกลงมา น้ำก็ชะล้างเอาหน้าดินที่อุดมสมบูรณ์ไปกับน้ำ ทำให้ดินมีคุณภาพเสื่อมลง        3. การเพาะปลูกและเตรียมดินอย่างไม่ถูกวิธี การเตรียมที่ดินทำการเพาะปลูกนั้นถ้าไม่ถูกวิธีก็จะก่อความเสียหายกับดินได้มากตัวอย่างเช่น การไถพรวนขณะดินแห้งทำให้หน้าดินที่สมบูรณ์หลุดลอยไปกับลมได้ หรือการปลูกพืชบางชนิดจะทำให้ดินเสื่อมเร็ว การเผาป่าไม้ หรือตอข้าวในนา จะทำให้ฮิวมัสในดินเสื่อมสลายเกิดผลเสียกับดินมาก ดินที่เป็นกรด เกษตรกรแก้ไขได้โดยการใช้ปูนขาวหว่าน และไถพรวนให้เข้ากับดิน
การอนุรักษ์ดิน ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการพังทลายหรือการสูญเสียความอุดมสมบูรณ์ของหน้าดินนั้น จะทำให้เกิดปัญหาอื่น ๆ ติดตามมา เช่น ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ทำให้เกษตรกรต้องซื้อปุ๋ยเคมีมาบำรุงดินเสียค่าใช้จ่ายมหาศาล ตะกอนดินที่ถูกชะล้างทำให้แม่น้ำและปากแม่น้ำตื้นเขิน ต้องขุดลอกใช้เงินเป็นจำนวนมาก เราจึงควรป้องกันไม่ให้ดินพังทลายหรือเสื่อมโทรมซึ่งสามารถกระทำได้ด้วยการอนุรักษ์ดิน ดังนี้
การอนุรักษ์ดิน       1. การใช้ที่ดินอย่างถูกต้องเหมาะสม การปลูกพืชควรต้องคำนึงถึงชนิดของพืชที่เหมาะสมกับคุณสมบัติของดิน การปลูกพืชและการไถพรวนตามแนวระดับเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน นอกจากนี้ควรจะสงวนรักษาที่ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ไว้ใช้ในกิจการอื่น ๆ เช่น โรงงานอุตสาหกรรม ที่อยู่อาศัย เพราะที่ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์และเหมาะสมในการเพาะปลูกมีอยู่จำนวนน้อย
การอนุรักษ์ดิน     2. การปรับปรุงบำรุงดิน การเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดิน เช่น การใส่ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยคอก การปลูกพืชตะกูลถั่ว การใส่ปูนขาวในดินที่เป็นกรด การแก้ไขพื้นที่ดินเค็มด้วยการระบายน้ำเข้าที่ดิน เป็นต้น      3. การป้องกันการเสื่อมโทรมของดิน ได้แก่ การปลูกพืชคลุมดิน การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชบังลม การไถพรวนตามแนวระดับ การทำคันดินป้องกันการไหลชะล้างหน้าดิน รวมทั้งการไม่เผาป่าหรือการทำไร่เลื่อนลอย
การอนุรักษ์ดิน      4. การให้ความชุ่มชื้นแก่ดิน การระบายน้ำในดินที่มีน้ำขังออกการจัดส่งเข้าสู่ที่ดินและการใช้วัสดุ เช่น หญ้าหรือฟางคลุมหน้าดินจะช่วยให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์        5. การเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน ทำได้โดยการปลูกพืชหมุนเวียน เพราะการปลูกพืชชนิดเดียวกันซ้ำซาก เป็นการทำลายความอุดมสมบูรณ์ของดิน และยังเอื้อต่อการระบาดของโรคและศัตรูพืชอีกด้วย นอกจากนี้การเพิ่มสารอินทรีย์ให้แก่ดินทำได้โดยใช้ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยหมักและปุ๋ยคอก ปุ๋ยอินทรีย์เหล่านี้ช่วยให้ดินสามารถอุ้มน้ำได้ดิน มีช่องว่างให้อากาศแทรกระหว่างอนุภาคดินและยังช่วยลดการสูญเสียหน้าดินลง
การอนุรักษ์ดิน      6. การเลือกใช้ประโยชน์จากที่ดินให้เหมาะสมกับลักษณะของดิน การใช้ประโยชน์จากที่ดินให้เหมาะสมของดินทำให้สามารถนำดินมาใช้ได้ตรงตามศักยภาพของดินและสามารถวางแผนการจัดการทรัพยากรดินได้อย่างเหมาะสมและยั่งยืน รวมถึงสามารถวางแผนการใช้ที่ดินตามสภาพเศรษฐกิจและสังคมของแต่ละพื้นที่ได้ การกำหนดผังเมืองให้ถูกต้องเหมาะสมเพื่อเป็นการรักษาระบบนิเวศ และควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
บรรณานุกรม www.rmuti.ac.th/user/thanyaphak/...3/page6_tem.htm  www.neofarmthailand.com/index.php?lay=show www.mwit.ac.th/.../Human%20&%20natural%20resourse.doc   - .ชีววิทยาเล่ม 6 .กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว,2550

More Related Content

What's hot

มลพิษทางดิน
มลพิษทางดินมลพิษทางดิน
มลพิษทางดิน
Nittaya Jandang
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติป๊อก เบาะ
 
ใบความรู้ ทบทวนดิน ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f17-1page
ใบความรู้  ทบทวนดิน  ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f17-1pageใบความรู้  ทบทวนดิน  ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f17-1page
ใบความรู้ ทบทวนดิน ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f17-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำRoongroeng
 
เพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดินเพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดิน
Passakorn TheJung
 
ทรัพยากรและเศรษฐกิจของโลก
ทรัพยากรและเศรษฐกิจของโลกทรัพยากรและเศรษฐกิจของโลก
ทรัพยากรและเศรษฐกิจของโลก
Kru Ongart Sripet
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำjintana533
 
งานนำเสนLlอ32
งานนำเสนLlอ32งานนำเสนLlอ32
งานนำเสนLlอ32
Papawadee Yatra
 
โครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินโครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินLittleZozind
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมBoom Rattamanee Boom
 
ความลับของดิน
ความลับของดินความลับของดิน
ความลับของดินKomgid
 
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
Kru Ongart Sripet
 
เพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดินเพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดิน
Sumitomo Rubber - Thailand
 
เพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดินเพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดิน
Sumitomo Rubber - Thailand
 

What's hot (17)

มลพิษทางดิน
มลพิษทางดินมลพิษทางดิน
มลพิษทางดิน
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
ใบความรู้ ทบทวนดิน ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f17-1page
ใบความรู้  ทบทวนดิน  ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f17-1pageใบความรู้  ทบทวนดิน  ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f17-1page
ใบความรู้ ทบทวนดิน ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f17-1page
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
เพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดินเพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดิน
 
ทรัพยากรและเศรษฐกิจของโลก
ทรัพยากรและเศรษฐกิจของโลกทรัพยากรและเศรษฐกิจของโลก
ทรัพยากรและเศรษฐกิจของโลก
 
น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
งานนำเสนLlอ32
งานนำเสนLlอ32งานนำเสนLlอ32
งานนำเสนLlอ32
 
โครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินโครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดิน
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียม
 
ความลับของดิน
ความลับของดินความลับของดิน
ความลับของดิน
 
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
 
เพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดินเพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดิน
 
เพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดินเพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดิน
 

Viewers also liked

ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำlinnoi
 
พลังงาน
พลังงานพลังงาน
พลังงานJiraporn
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
sedwong Pam
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
dnavaroj
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติApinun Nadee
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงLookNam Intira
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงsavokclash
 
แบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพแบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพJiraporn
 
Best practice2013
Best practice2013Best practice2013
Best practice2013Jiraporn
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่าJiraporn
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมJiraporn
 
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)Panupong Sinthawee
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงIntrapan Suwan
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
Retail Idea
Retail IdeaRetail Idea
Retail Idea
sachin chaudhary
 
Planhub
PlanhubPlanhub
Planhub
家璿 周
 
AMI - Bringing Your Own Device to ITAM
AMI - Bringing Your Own Device to ITAMAMI - Bringing Your Own Device to ITAM
AMI - Bringing Your Own Device to ITAM
AMI - Asset Management International
 

Viewers also liked (20)

ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
พลังงาน
พลังงานพลังงาน
พลังงาน
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพแบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพ
 
Best practice2013
Best practice2013Best practice2013
Best practice2013
 
Doc23
Doc23Doc23
Doc23
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
Retail Idea
Retail IdeaRetail Idea
Retail Idea
 
Planhub
PlanhubPlanhub
Planhub
 
AMI - Bringing Your Own Device to ITAM
AMI - Bringing Your Own Device to ITAMAMI - Bringing Your Own Device to ITAM
AMI - Bringing Your Own Device to ITAM
 

Similar to ทรัพยากรดิน

โครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินโครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินlalipat
 
ทรัพยากรและเศรษฐกิจของโลก
ทรัพยากรและเศรษฐกิจของโลกทรัพยากรและเศรษฐกิจของโลก
ทรัพยากรและเศรษฐกิจของโลก
Kru Ongart Sripet
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1Nuttayaporn2138
 
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝกโครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝกBeam_Kantaporn
 
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝกโครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝกBeam_Kantaporn
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
Wan Ngamwongwan
 
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้Alatreon Deathqz
 
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติเพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
June Fghijklmnopqrsteovl
 
โครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินโครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินlalipat
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1nananattie
 
รายงานสังคม
รายงานสังคมรายงานสังคม
รายงานสังคมthnaporn999
 
งานSh
งานShงานSh
งานShdekbao
 

Similar to ทรัพยากรดิน (15)

โครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินโครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดิน
 
ทรัพยากรและเศรษฐกิจของโลก
ทรัพยากรและเศรษฐกิจของโลกทรัพยากรและเศรษฐกิจของโลก
ทรัพยากรและเศรษฐกิจของโลก
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
 
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝกโครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
 
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝกโครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
เพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดินเพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดิน
 
เพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดินเพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดิน
 
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
 
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติเพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
 
โครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินโครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดิน
 
ดินในประเทศไทย
ดินในประเทศไทยดินในประเทศไทย
ดินในประเทศไทย
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1
 
รายงานสังคม
รายงานสังคมรายงานสังคม
รายงานสังคม
 
งานSh
งานShงานSh
งานSh
 

ทรัพยากรดิน

  • 1. น.ส. ทิพชรัตน์ ประทุมคำ เลขที่ 7 น.ส. วีรวรรณ พามี เลขที่ 18 นาย ชัยธวัช สุดประเสริฐ เลขที่ 20 นายสมภพ ไก่แก้ว เลขที่ 21 น.ส. ขนิษฐา เจริญพร เลขที่ 22 น.ส. จิราภรณ์ โสภา เลขที่ 24 ม. 6/1 ทรัพยากรดิน
  • 2. ทรัพยากรดิน ดินเป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ เกิดจากการสลายตัวผุพังของหินชนิดต่าง ๆ หินที่สลายตัวผุกร่อนนี้จะมีขนาดต่าง ๆ กัน เมื่อผสมรวมกับซากพืช ซากสัตว์ น้ำ อากาศ ก็กลายเป็นเนื้อดินซึ่งส่วนประกอบเหล่านี้จะมากน้อยแตกต่างกันไปตามชนิดของดิน ดินเป็นทรัพยากรที่ใช้แล้วทดแทนได้ และยังมีความสัมพันธ์กับทรัพยากรอื่นๆ เช่น ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรแร่ธาตุ ถึงแม้จะเป็นทรัพยากรที่ทดแทนได้แต่ก็ใช้เวลาที่นานมากในการสร้างดินแต่ละชั้น
  • 3. ชนิดของดิน อนุภาคของดินจะรวมตัวกันเข้าเกิดเป็นเม็ดดิน อนุภาคเหล่านี้จะมีขนาดไม่เท่ากัน ขนาดเล็กที่สุดคืออนุภาคดินเหนียว อนุภาคขนาดกลางเรียกอนุภาคทรายแป้ง อนุภาคขนาดใหญ่เรียกว่า อนุภาคทรายเนื้อดิน จะมีอนุภาคทั้ง 3 กลุ่มนี้ผสมกันอยู่ในสัดส่วนที่ไม่เท่ากันทำให้เกิดลักษณะของดิน 3 ชนิดใหญ่ ๆ คือ ดินเหนียว ดินทราย และดินร่วน
  • 4. ดินเหนียว ดินเหนียว เป็นดินที่เมื่อเปียกแล้วมีความยืดหยุ่น อาจปั้นเป็นก้อนหรือคลึงเป็นเส้นยาวได้เหนียวเหนอะหนะติดมือ เป็นดินที่มีการระบายน้ำและอากาศไม่ดี มีความสามารถในการอุ้มน้ำได้ดี มีความสามารถในการจับยึดและแลกเปลี่ยนธาตุอาหารพืชได้สูง หรือค่อนข้างสูง เป็นดินที่มีก้อนเนื้อละเอียด เพราะมีปริมาณอนุภาคดินเหนียวอยู่มาก เหมาะที่จะใช้ทำนาปลูกข้าวเพราะเก็บน้ำได้นาน
  • 5.
  • 6. ดินทราย ดินทราย เป็นดินที่มีการระบายน้ำและอากาศดีมาก มีความสามารถในการอุ้มน้ำต่ำ มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ เพราะความสามารถในการจับยึดธาตุอาหารพืชมีน้อย พืชที่ชั้นบนดินทรายจึงมักขาดทั้งอาหารและน้ำเป็นดินที่มีเนื้อดินทรายเพราะมีปริมาณอนุภาคทรายมาก
  • 7. ดินร่วน ดินร่วน เป็นดินที่มีเนื้อดินค่อนข้างละเอียดนุ่มมือ ยืดหยุ่นได้บ้าง มีการระบายน้ำได้ดีปานกลาง จัดเป็นเนื้อดินที่เหมาะสมสำหรับการเพาะปลูกในธรรมชาติมักไม่ค่อยพบ แต่จะพบดินที่มีเนื้อดินใกล้เคียงกันมากกว่า สีของดิน สีของดินจะทำให้เราทราบถึงความอุดมสมบูรณ์ปริมาณอินทรียวัตถุที่ปะปนอยู่และแปรสภาพเป็นฮิวมัสในดิน ทำให้สีของดินต่างกันถ้ามีฮิวมัสน้อยสีจะจางลงมีความอุดมสมบูรณ์น้อย ลักษณะโครงสร้างที่ดีของดิน ได้แก่ สภาพที่เม็ดดินเกาะกันเป็นก้อนเล็ก ๆ อยู่รวมกันอย่างหลวม ๆ ตลอดชั้นของหน้าดิน  
  • 8.
  • 9.
  • 10. องค์ประกอบของดิน ดินมีองค์ประกอบที่สำคัญอยู่ 4 ส่วน ด้วยกันคือ อากาศ น้ำ แร่ธาตุ และอินทรียวัตถุ ดินที่อุดมสมบูรณ์ ให้ผลผลิตสูงและเหมาะสมต่อการเพาะปลูก พบว่ามีองค์ประกอบดังกล่าวในสัดส่วน
  • 11. สาเหตุการเกิดมลพิษทางดิน 1. การทิ้งขยะลงดิน การทิ้งสิ่งของต่างๆลงในดินเป็นสาเหตุให้เกิดการสะสมของสารเคมีสารพิษในดิน ทำให้เกิดปัญหามลพิษและทำให้สมบัติของดินเปลี่ยนไป สิ่งของที่เราทิ้งลงไปบางชนิดสามารถย่อยได้โดยจุลินทรีย์ที่อยู่ในดิน บางชนิดไม่สามารถย่อยได้เมื่อมีสารเคมีสะสมอนุภาคของดินก็จะดูดซับไว้และถ่ายทอดไปตามโซ่อาหาร
  • 12. สาเหตุการเกิดมลพิษทางดิน 2.การใช้สารเคมีทางการเกษตร สารเคมีที่เกษตรกรนิยมใช้ในทางการเกษตรเช่น ปุ๋ยเคมี ชนิดต่างๆ และสารเคมีที่ใช้ในการปราบศัตรูพืชและสัตว์ สารเคมีเหล่านี้เกษตรกรใช้เพื่อต้องการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งสารบางชนิดก็ตกค้างอยู่ในดิน บางชนิดก็สามารถสลายตัวได้เองโดยธรรมชาติในระยะสั้นและยาวแตกต่างกันตามชนิดของสารเคมี บางชนิดก็ไม่สามารถสลายตัวได้จึงสะสมในดินและถ่ายทอดไปตามโซ่อาหาร
  • 13. สาเหตุการเกิดมลพิษทางดิน 3.สารกัมมันตรังสี นอกจากนี้ยังมรสารกัมมันตรังสีต่างๆ ที่ใช้ในการแพทย์ การเกษตรกรรม การอุตสาหกรรม และการทดลองระเบิดปรมาณู สารกัมมันตรังสีเหล่านี้เมื่อมีการรั่วไหลอาจจะกระจายตัวจากแหล่งที่ใช้หรือแหล่งที่เก็บลงสู่ดินและมีอันตรายค่อนข้างสูงต่อสิ่งมีชีวิตและสารพิษมีการถ่ายทอดไปตามโซ่อาหารเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตได้
  • 14. ปัญหาทรัพยากรดิน ดินส่วนใหญ่ถูกทำลายให้สูญเสียความอุดมสมบูรณ์ หรือตัวเนื้อดินไปเนื่องจากการกระทำของมนุษย์ และการสูญเสียตามธรรมชาติทำให้เราไม่อาจใช้ประโยชน์จากดินได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ การสูญเสียดินเกิดได้จาก 1. การกัดเซาะและพังทลายโดยน้ำ น้ำจำนวนมากที่กระทบผิวดินโดยตรงจะกัดเซาะผิวดิน ให้หลุดลอยไปตามน้ำ การสูญเสียบริเวณผิวดินจะเป็นพื้นที่กว้าง หรือถูกกัดเซาะเป็นร่องเล็ก ๆ ก็ขึ้นอยู่กับความแรง และบริเวณของน้ำที่ไหลบ่าลงมาก
  • 15. ปัญหาทรัพยากรดิน 2. การตัดไม้ทำลายป่า การเผาป่า ถางป่าทำให้หน้าดินเปิด และถูกชะล้างได้ง่ายโดยน้ำและลมเมื่อฝนตกลงมา น้ำก็ชะล้างเอาหน้าดินที่อุดมสมบูรณ์ไปกับน้ำ ทำให้ดินมีคุณภาพเสื่อมลง 3. การเพาะปลูกและเตรียมดินอย่างไม่ถูกวิธี การเตรียมที่ดินทำการเพาะปลูกนั้นถ้าไม่ถูกวิธีก็จะก่อความเสียหายกับดินได้มากตัวอย่างเช่น การไถพรวนขณะดินแห้งทำให้หน้าดินที่สมบูรณ์หลุดลอยไปกับลมได้ หรือการปลูกพืชบางชนิดจะทำให้ดินเสื่อมเร็ว การเผาป่าไม้ หรือตอข้าวในนา จะทำให้ฮิวมัสในดินเสื่อมสลายเกิดผลเสียกับดินมาก ดินที่เป็นกรด เกษตรกรแก้ไขได้โดยการใช้ปูนขาวหว่าน และไถพรวนให้เข้ากับดิน
  • 16. การอนุรักษ์ดิน ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการพังทลายหรือการสูญเสียความอุดมสมบูรณ์ของหน้าดินนั้น จะทำให้เกิดปัญหาอื่น ๆ ติดตามมา เช่น ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ทำให้เกษตรกรต้องซื้อปุ๋ยเคมีมาบำรุงดินเสียค่าใช้จ่ายมหาศาล ตะกอนดินที่ถูกชะล้างทำให้แม่น้ำและปากแม่น้ำตื้นเขิน ต้องขุดลอกใช้เงินเป็นจำนวนมาก เราจึงควรป้องกันไม่ให้ดินพังทลายหรือเสื่อมโทรมซึ่งสามารถกระทำได้ด้วยการอนุรักษ์ดิน ดังนี้
  • 17. การอนุรักษ์ดิน 1. การใช้ที่ดินอย่างถูกต้องเหมาะสม การปลูกพืชควรต้องคำนึงถึงชนิดของพืชที่เหมาะสมกับคุณสมบัติของดิน การปลูกพืชและการไถพรวนตามแนวระดับเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน นอกจากนี้ควรจะสงวนรักษาที่ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ไว้ใช้ในกิจการอื่น ๆ เช่น โรงงานอุตสาหกรรม ที่อยู่อาศัย เพราะที่ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์และเหมาะสมในการเพาะปลูกมีอยู่จำนวนน้อย
  • 18. การอนุรักษ์ดิน 2. การปรับปรุงบำรุงดิน การเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดิน เช่น การใส่ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยคอก การปลูกพืชตะกูลถั่ว การใส่ปูนขาวในดินที่เป็นกรด การแก้ไขพื้นที่ดินเค็มด้วยการระบายน้ำเข้าที่ดิน เป็นต้น 3. การป้องกันการเสื่อมโทรมของดิน ได้แก่ การปลูกพืชคลุมดิน การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชบังลม การไถพรวนตามแนวระดับ การทำคันดินป้องกันการไหลชะล้างหน้าดิน รวมทั้งการไม่เผาป่าหรือการทำไร่เลื่อนลอย
  • 19. การอนุรักษ์ดิน 4. การให้ความชุ่มชื้นแก่ดิน การระบายน้ำในดินที่มีน้ำขังออกการจัดส่งเข้าสู่ที่ดินและการใช้วัสดุ เช่น หญ้าหรือฟางคลุมหน้าดินจะช่วยให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ 5. การเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน ทำได้โดยการปลูกพืชหมุนเวียน เพราะการปลูกพืชชนิดเดียวกันซ้ำซาก เป็นการทำลายความอุดมสมบูรณ์ของดิน และยังเอื้อต่อการระบาดของโรคและศัตรูพืชอีกด้วย นอกจากนี้การเพิ่มสารอินทรีย์ให้แก่ดินทำได้โดยใช้ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยหมักและปุ๋ยคอก ปุ๋ยอินทรีย์เหล่านี้ช่วยให้ดินสามารถอุ้มน้ำได้ดิน มีช่องว่างให้อากาศแทรกระหว่างอนุภาคดินและยังช่วยลดการสูญเสียหน้าดินลง
  • 20. การอนุรักษ์ดิน 6. การเลือกใช้ประโยชน์จากที่ดินให้เหมาะสมกับลักษณะของดิน การใช้ประโยชน์จากที่ดินให้เหมาะสมของดินทำให้สามารถนำดินมาใช้ได้ตรงตามศักยภาพของดินและสามารถวางแผนการจัดการทรัพยากรดินได้อย่างเหมาะสมและยั่งยืน รวมถึงสามารถวางแผนการใช้ที่ดินตามสภาพเศรษฐกิจและสังคมของแต่ละพื้นที่ได้ การกำหนดผังเมืองให้ถูกต้องเหมาะสมเพื่อเป็นการรักษาระบบนิเวศ และควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
  • 21. บรรณานุกรม www.rmuti.ac.th/user/thanyaphak/...3/page6_tem.htm www.neofarmthailand.com/index.php?lay=show www.mwit.ac.th/.../Human%20&%20natural%20resourse.doc - .ชีววิทยาเล่ม 6 .กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว,2550