SlideShare a Scribd company logo
LOGO 
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี 
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
รายวิชา วิทยาศาสตร์ 3 ( ว 22101) 
เรื่อง น้า (water) 
โดยครูสุกัญญา นาคอ้น
เมื่อเรียนจบแล้วนักเรียนสามารถ 
1. สารวจและอธิบายลักษณะแหล่งน้า ธรรมชาติ การใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์แหล่ง น้าในท้องถิ่น 2. ทดลองเลียนแบบและอธิบายการเกิด แหล่งน้าใต้ดิน
โลกของเราประกอบขึ้น ด้วยพื้นดินและพื้นน้า โดย ส่วนที่เป็นฝืนน้านั้น มีอยู่ ประมาณ 3 ส่วน (75%) และ เป็นพื้นดิน 1 ส่วน (25%) น้า มีความสาคัญอย่างยิ่งกับ ชีวิตของพืชและสัตว์บน โลกรวมทั้งมนุษย์เราด้วย 
น้า (Water)
น้า (Water) 
ในร่างกายคน มีน้าอยู่ 2 ใน 3 ของน้าหนักตัว 
ผิวโลก มีน้า 71% หรือ 3 ใน 4 ของพื้นที่ผิวโลก
ประเภทของแหล่งน้าบนโลก 
1. น้าผิวดิน 
2. น้าใต้ดิน
น้าผิวดิน 
น้าผิวดิน คือ น้าที่อยู่บนพื้นผิวโลก 
เกิดจากมนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่ อ่างเก็บน้า เขื่อน ฝาย เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ได้แก่ ทะเล แม่น้า ลาคลอง หนอง บึง
น้าใต้ดิน 
น้าใต้ดิน คือ น้าที่เกิดอยู่ใต้ผิวดิน เหนือชั้นหินที่ น้าซึมผ่านได้ยาก ได้แก่ 
1. น้าในดิน เป็นน้าที่ซึมอยู่ในดินเหนือ ชั้นหินที่น้าซึมผ่านได้ยาก ระดับน้าในดินเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลาขึ้นอยู่กับปริมาณ น้าฝน หรือน้าที่ซึมลงไป
น้าใต้ดิน 
2. น้าบาดาล เป็นน้าในดินที่ซึมผ่านชั้น หินที่น้าซึมผ่านได้ยาก ลงไปอยู่ ในช่องว่างของชั้นหินที่มีรูพรุน การสูบน้าบาดาลมาใช้ทาให้ แผ่นดินทรุด
คุณสมบัติของน้า 
คุณสมบัติทางกายภาพ น้าเป็นของเหลวที่อุณหภูมิปกติ น้าบริสุทธิ์ ใส ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส และมีคุณสมบัติต่อไปนี้ 
1.จุดเยือกแข็ง ของน้ามีค่าเท่ากับ 0 °C 
2.มีจุดเดือด 100 °C 3.การระเหย น้าอาจระเหยเป็นไอได้ทุก อุณหภูมิ
คุณสมบัติของน้า 
4. การขยายตัวและการหดตัว ของน้า เมื่อได้รับความร้อน น้าจะมี อุณหภูมิสูงขึ้นและจะขยายตัว เมื่อ อุณหภูมิลดต่าลงน้าจะหดตัว ถ้า อุณหภูมิลดต่าลงไปเรื่อย ๆ น้าจะหดตัว ลงทุกที แต่เมื่ออุณหภูมิลดลงถึง 4 °C น้าจะกลับขยายตัวและจะขยายตัวเพิ่ม มากขึ้นเรื่อย ๆ จนกลายเป็นน้าแข็งที่ 0 °C
5. ความหนาแน่น คือ ตัวเลขที่บอกให้รู้ว่า สารนั้นหนึ่งหน่วย ปริมาตรหนักเท่าใด น้า 1ลูกบาศก์เซนติเมตร หนัก 1 กรัม ดังนั้นค่า ความหนาแน่นของน้าจึงเป็น 1 กรัมต่อหนึ่งลูกบาศก์เซนติเมตร 
การลอยและการจม 
คุณสมบัติของน้า
6. ความตึงผิว ความตึงผิวเป็นสมบัติอย่างหนึ่งของ ของเหลว ความตึงผิวทาให้ผิวหน้าของน้าเป็นเสมือนผิวหนังบาง คลุมน้าข้างใต้ไว้ 
คุณสมบัติของน้า
7. น้ามีแรงดัน 8. มีการรักษาระดับ 9. มีรูปร่างเหมือนภาชนะที่บรรจุ 10. ไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่าเสมอ 
คุณสมบัติของน้า
คุณสมบัติของน้า 
1. น้าเป็นสารประกอบ มีสูตรเคมี H2O หมายความว่า หนึ่งโมเลกุลของน้า ประกอบด้วย H 2 อะตอม และ O 1 อะตอม 
2. น้าเป็นตัวทาละลายที่ดีที่สุด 
คุณสมบัติทางเคมี
วัฏจักรของน้า 
วัฏจักรของน้า คือ การหมุนเวียนเปลี่ยนแปลงของน้าในสถานะต่างๆ กันจากพื้นดินและพื้นน้าเข้าสู่บรรยากาศ แล้วกลับสู่พื้นดินแลพื้นน้าอีก
ประโยชน์จากแหล่งน้า 
1. น้าเป็นสิ่งจาเป็นที่เราใช้สาหรับ การดื่มกิน การประกอบอาหาร ชาระ ร่างกาย ฯลฯ 2. น้ามีความจาเป็นสาหรับการ เพาะปลูกเลี้ยงสัตว์ แหล่งน้าเป็นที่อยู่ อาศัยของปลาและสัตว์น้าอื่น ๆ ซึ่งคนเรา ใช้เป็นอาหาร
ประโยชน์จากแหล่งน้า 
3. ในการอุตสาหกรรม ต้องใช้น้าใน ขบวนการผลิตใช้ล้างของเสียใช้หล่อ เครื่องจักรและระบายความร้อน ฯลฯ 4. การทานาเกลือโดยการระเหยน้าเค็ม จากทะเล 5. น้าเป็นแหล่งพลังงาน พลังงานจากน้า ใช้ทาระหัด ทาเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้า ได้
ประโยชน์จากแหล่งน้า 
6. แม่น้า ลาคลอง ทะเล มหาสมุทร เป็นเส้นทาง คมนาคมขนส่งที่สาคัญ 7. ทัศนียภาพของริมฝั่งทะเลและน้าที่ ใสสะอาดเป็นแหล่งท่องเที่ยวของ มนุษย์
ปัญหาของทรัพยากรน้า 
ปัญหาสาคัญ ๆ ที่เกิดขึ้น คือ 
1. ปัญหาการมีน้าน้อยเกินไป เกิดการขาดแคลนอันเป็นผล เนื่องจากการตัดไม้ทาลายป่า ทาให้ปริมาณน้าฝนน้อยลง เกิดความแห้ง แล้งเสียหายต่อพืชเพาะปลูกและการเลี้ยงสัตว์ แก้ไขโดย การทาฝนหลวง 2. ปัญหาการมีน้ามากเกินไป เป็นผลมาจากการตัดไม้มาก เกินไป ทาให้เกิดน้าท่วมไหลบ่าในฤดูฝน สร้างความเสียหายแก่ชีวิต และทรัพย์สิน
ปัญหาของทรัพยากรน้า 
ปัญหาสาคัญ ๆ ที่เกิดขึ้น คือ 
3. ปัญหาน้าเสีย เป็นปัญหาใหม่ในปัจจุบัน สาเหตุที่ทา ให้เกิดน้าเสีย ได้แก่ น้าทิ้งจากบ้านเรือน ขยะมูลฝอยและสิ่งปฎิกูลที่ ถูกทิ้งสู่แม่น้าลาคลอง น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
ปัญหาของทรัพยากรน้า 
ปัญหาสาคัญ ๆ ที่เกิดขึ้น คือ 
น้าฝนพัดพาเอาสารพิษที่ตกค้างจาก แหล่งเกษตรกรรมลงสู่แม่น้าลาคลอง น้าเสียที่เกิดขึ้นนี้ส่งผลเสียหายทั้งต่อ สุขภาพอนามัย เป็นอันตรายต่อสัตว์น้า และ มนุษย์ ส่งกลิ่นเหม็น รบกวน ทาให้ไม่ สามารถนาแหล่งน้านั้นมาใช้ประโยชน์ได้ทั้ง การอุปโภค บริโภค เกษตรกรรม และ อุตสาหกรรม
น้าเสีย 
น้าเสีย คือ น้าที่ไม่เหมาะสมแก่การอุปโภค บริโภคของมนุษย์และสัตว์ ตลอดจนการดารงชีวิต ของพืชน้าและสัตว์น้า
การกาหนดคุณภาพของน้า 
1. ค่า DO (Dissolved oxygen) หมายถึง ปริมาณออกซิเจนที่ ละลายอยู่ในแหล่งน้า แล่งน้าใดมี DO ต่ากว่า 3 mg/l แหล่งน้านั้น จัดเป็นแหล่งน้าเสีย 
2. ค่า BOD (Biochemical oxygen demand) หมายถึง ปริมาณออกซิเจนในแหล่งน้าที่แอโรบิกแบคทีเรียใช้ในการย่อยสลาย สารอินทรีย์ในแหล่งน้า แหล่งน้าใดมีค่า BOD มากกว่า 100 mg/l แหล่งน้านั้นจัดเป็นน้าเสีย
การกาหนดคุณภาพของน้า 
3. ค่า COD (Chemical oxygen demand) หมายถึง ปริมาณออกซิไดซิงก์เอเจนซ์อย่างแรงที่ต้องการใช้ออกซิไดส์ สารที่ออกซิไดส์ได้ทั้งหมดในแหล่งน้านั้น ให้กลายเป็น CO2 และ H2O ปริมาณดังกล่าวคิดเทียบเป็นปริมาณออกซิเจนในน้าได้
แหล่งที่มา 
สารปนเปื้อนในน้า 
ชนิดของสาร 
ความเสียหาย 
บ้านเรือน 
ขยะ น้าทิ้ง 
สารอินทรีย์ สารอินทรีย์ แบคทีเรีย จุลินทรีย์ 
น้าขาดออกซิเจน น้าเน่า น้าขาดออกซิเจน น้าเน่า น้ามีเชื้อโรค 
โรงงานอุตสาหกรรม 
น้าทิ้ง 
สารอินทรีย์ สารอนินทรีย์ สารกัมมันตรังสี สารพิษ ความร้อน 
น้าขาดออกซิเจน น้าเน่า น้าเป็นพิษ น้าเป็นพิษสัตว์น้าตาย น้าร้อน สัตว์น้าตาย 
ตารางแสดงแหล่งที่มา สารปนเปื้อนในน้า ชนิด และความเสียหาย
แหล่งที่มา 
สารปนเปื้อนในน้า 
ชนิดของสาร 
ความเสียหาย 
การเลี้ยงสัตว์ 
มูลสัตว์ 
สารอินทรีย์ 
แบคทีเรีย จุลินทรีย์ 
น้าขาดออกซิเจน น้าเน่า 
เหมืองแร่ 
น้าทิ้ง 
สารกัมมันตรังสี (สารอนินทรีย์) สารพิษ (สารอนินทรีย์) 
น้าเป็นพิษ พืช และสัตว์น้าตาย น้าเป็นพิษ พืช และสัตว์น้าตาย 
การเผ่าไหม้ 
เถ้าถ่าน ตะกอน ทราย 
สารพิษ 
ไม่มีน้าสะอาดใช้ 
ตารางแสดงแหล่งที่มา สารปนเปื้อนในน้า ชนิด และความเสียหาย
แหล่งที่มา 
สารปนเปื้อน ในน้า 
ชนิดของสาร 
ความเสียหาย 
การเพาะปลูก 
ปุ๋ย ยาฆ่าแมลง ยากาจัดศัตรูพืช 
สารอินทรีย์ (อาหารพืช) 
สารอินทรีย์ สารอินทรีย์ 
สาหร่ายโตเร็ว น้าขาดออกซิเจน น้ามีสารพิษ สัตว์น้าตาย น้ามีสารพิษ สัตว์น้าตาย 
ตารางแสดงแหล่งที่มา สารปนเปื้อนในน้า ชนิด และความเสียหาย
ผลกระทบของน้าเสียต่อสิ่งแวดล้อม 
1. เป็นแหล่งแพร่ระบาดของเชื้อโรค เช่น อหิวาตกโรค บิด ท้องเสีย 2. เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงนาโรคต่าง ๆ 3. ทาให้เกิดปัญหามลพิษต่อดิน น้า และอากาศ 4. ทาให้เกิดเหตุราคาญ เช่น กลิ่นเหม็นของน้า โสโครก
ผลกระทบของน้าเสียต่อสิ่งแวดล้อม 
5. ทาให้เกิดการสูญเสียทัศนียภาพ เกิด สภาพที่ไม่น่าดู เช่น สภาพน้าที่มีสีดาคล้าไปด้วย ขยะ และสิ่งปฎิกูล 
6. ทาให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ เช่น การสูญเสียพันธุ์ปลาบางชนิดจานวนสัตว์น้าลดลง 
7.ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศใน ระยะยาว
การอนุรักษ์น้า 
1. การใช้น้าอย่างประหยัด การใช้น้า อย่างประหยัดนอกจากจะลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ ค่าน้าลงได้แล้ว ยังทาให้ปริมาณน้าเสียที่จะทิ้ง ลงแหล่งน้ามีปริมาณน้อย และป้องกันการขาด แคลนน้าได้ด้วย 2. การสงวนน้าไว้ใช้ ในบางฤดูหรือ ในสภาวะที่มีน้ามากเหลือใช้ควรมีการเก็บน้า ไว้ใช้ เช่น การทาบ่อเก็บน้า การสร้างโอ่งน้า ขุดลอกแหล่งน้า รวมทั้งการสร้างอ่างเก็บน้า และระบบชลประทาน
การอนุรักษ์น้า 
3. การพัฒนาแหล่งน้า ในบางพื้นที่ที่ขาดแคลนน้า จาเป็นที่จะต้องหา แหล่งน้าเพิ่มเติม เพื่อให้สามารถมีน้าไว้ใช้ ทั้งในครัวเรือนและในการเกษตร ได้อย่างพอเพียง ปัจจุบันการนาน้าบาดาลขึ้นมาใช้กาลังแพร่หลายมากขึ้นแต่ อาจมีปัญหาเรื่องแผ่นดินทรุด
การอนุรักษ์น้า 
4. การป้องกันน้าเสีย การไม่ทิ้งขยะและสิ่ง ปฏิกูลและสารพิษลงในแหล่งน้า น้าเสียที่เกิดจาก โรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล ควรมีการบาบัด และขจัดสารพิษก่อนที่จะปล่อยลงสู่แหล่งน้า 5. การนาน้าเสียกลับไปใช้ น้าที่ไม่สามารถ ใช้ได้ในกิจการอย่างหนึ่งอาจใช้ได้ในอีกกิจการหนึ่ง เช่น น้าทิ้งจากการล้างภาชนะอาหาร สามารถนาไป รดต้นไม้ได้
การผลิตน้าประปา
LOGO

More Related Content

What's hot

ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงาน
ratanapornwichadee
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์Biobiome
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
Ball Prasertsang
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
Wichai Likitponrak
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
Wichai Likitponrak
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
Thitaree Samphao
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
Ta Lattapol
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
Thitaree Samphao
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
วิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสารSaowanee Sondech
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
Pinutchaya Nakchumroon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9tum17082519
 
สมบัติสารบริสุทธิ์และสารผสม ชั้นม.1.pptx
สมบัติสารบริสุทธิ์และสารผสม ชั้นม.1.pptxสมบัติสารบริสุทธิ์และสารผสม ชั้นม.1.pptx
สมบัติสารบริสุทธิ์และสารผสม ชั้นม.1.pptx
janyaaunla
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
Pannipa Saetan
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 

What's hot (20)

ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงาน
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสาร
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
 
สมบัติสารบริสุทธิ์และสารผสม ชั้นม.1.pptx
สมบัติสารบริสุทธิ์และสารผสม ชั้นม.1.pptxสมบัติสารบริสุทธิ์และสารผสม ชั้นม.1.pptx
สมบัติสารบริสุทธิ์และสารผสม ชั้นม.1.pptx
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
กิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศกิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศ
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 

Similar to น้ำ (Water) m2

หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศmaleela
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศcrunui
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำJiraporn
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารkrupornpana55
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพLPRU
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
Water pollution
Water pollutionWater pollution
Water pollution
SuphakornLuekchanthu
 
1384945915
13849459151384945915
1384945915
ssuserf2dcbb
 
ตอนที่2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง1
ตอนที่2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง1ตอนที่2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง1
ตอนที่2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง1Muk52
 

Similar to น้ำ (Water) m2 (20)

หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
Bio physics period1
Bio physics period1Bio physics period1
Bio physics period1
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
Water pollution
Water pollutionWater pollution
Water pollution
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
Tutur(biology)0 net 1
Tutur(biology)0 net 1Tutur(biology)0 net 1
Tutur(biology)0 net 1
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
1384945915
13849459151384945915
1384945915
 
ตอนที่2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง1
ตอนที่2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง1ตอนที่2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง1
ตอนที่2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง1
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
พัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
พัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
พัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
พัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
พัน พัน
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
พัน พัน
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

น้ำ (Water) m2

  • 1. LOGO โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ 3 ( ว 22101) เรื่อง น้า (water) โดยครูสุกัญญา นาคอ้น
  • 2. เมื่อเรียนจบแล้วนักเรียนสามารถ 1. สารวจและอธิบายลักษณะแหล่งน้า ธรรมชาติ การใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์แหล่ง น้าในท้องถิ่น 2. ทดลองเลียนแบบและอธิบายการเกิด แหล่งน้าใต้ดิน
  • 3. โลกของเราประกอบขึ้น ด้วยพื้นดินและพื้นน้า โดย ส่วนที่เป็นฝืนน้านั้น มีอยู่ ประมาณ 3 ส่วน (75%) และ เป็นพื้นดิน 1 ส่วน (25%) น้า มีความสาคัญอย่างยิ่งกับ ชีวิตของพืชและสัตว์บน โลกรวมทั้งมนุษย์เราด้วย น้า (Water)
  • 4. น้า (Water) ในร่างกายคน มีน้าอยู่ 2 ใน 3 ของน้าหนักตัว ผิวโลก มีน้า 71% หรือ 3 ใน 4 ของพื้นที่ผิวโลก
  • 6. น้าผิวดิน น้าผิวดิน คือ น้าที่อยู่บนพื้นผิวโลก เกิดจากมนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่ อ่างเก็บน้า เขื่อน ฝาย เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ได้แก่ ทะเล แม่น้า ลาคลอง หนอง บึง
  • 7. น้าใต้ดิน น้าใต้ดิน คือ น้าที่เกิดอยู่ใต้ผิวดิน เหนือชั้นหินที่ น้าซึมผ่านได้ยาก ได้แก่ 1. น้าในดิน เป็นน้าที่ซึมอยู่ในดินเหนือ ชั้นหินที่น้าซึมผ่านได้ยาก ระดับน้าในดินเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลาขึ้นอยู่กับปริมาณ น้าฝน หรือน้าที่ซึมลงไป
  • 8. น้าใต้ดิน 2. น้าบาดาล เป็นน้าในดินที่ซึมผ่านชั้น หินที่น้าซึมผ่านได้ยาก ลงไปอยู่ ในช่องว่างของชั้นหินที่มีรูพรุน การสูบน้าบาดาลมาใช้ทาให้ แผ่นดินทรุด
  • 9. คุณสมบัติของน้า คุณสมบัติทางกายภาพ น้าเป็นของเหลวที่อุณหภูมิปกติ น้าบริสุทธิ์ ใส ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส และมีคุณสมบัติต่อไปนี้ 1.จุดเยือกแข็ง ของน้ามีค่าเท่ากับ 0 °C 2.มีจุดเดือด 100 °C 3.การระเหย น้าอาจระเหยเป็นไอได้ทุก อุณหภูมิ
  • 10. คุณสมบัติของน้า 4. การขยายตัวและการหดตัว ของน้า เมื่อได้รับความร้อน น้าจะมี อุณหภูมิสูงขึ้นและจะขยายตัว เมื่อ อุณหภูมิลดต่าลงน้าจะหดตัว ถ้า อุณหภูมิลดต่าลงไปเรื่อย ๆ น้าจะหดตัว ลงทุกที แต่เมื่ออุณหภูมิลดลงถึง 4 °C น้าจะกลับขยายตัวและจะขยายตัวเพิ่ม มากขึ้นเรื่อย ๆ จนกลายเป็นน้าแข็งที่ 0 °C
  • 11. 5. ความหนาแน่น คือ ตัวเลขที่บอกให้รู้ว่า สารนั้นหนึ่งหน่วย ปริมาตรหนักเท่าใด น้า 1ลูกบาศก์เซนติเมตร หนัก 1 กรัม ดังนั้นค่า ความหนาแน่นของน้าจึงเป็น 1 กรัมต่อหนึ่งลูกบาศก์เซนติเมตร การลอยและการจม คุณสมบัติของน้า
  • 12. 6. ความตึงผิว ความตึงผิวเป็นสมบัติอย่างหนึ่งของ ของเหลว ความตึงผิวทาให้ผิวหน้าของน้าเป็นเสมือนผิวหนังบาง คลุมน้าข้างใต้ไว้ คุณสมบัติของน้า
  • 13. 7. น้ามีแรงดัน 8. มีการรักษาระดับ 9. มีรูปร่างเหมือนภาชนะที่บรรจุ 10. ไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่าเสมอ คุณสมบัติของน้า
  • 14. คุณสมบัติของน้า 1. น้าเป็นสารประกอบ มีสูตรเคมี H2O หมายความว่า หนึ่งโมเลกุลของน้า ประกอบด้วย H 2 อะตอม และ O 1 อะตอม 2. น้าเป็นตัวทาละลายที่ดีที่สุด คุณสมบัติทางเคมี
  • 15. วัฏจักรของน้า วัฏจักรของน้า คือ การหมุนเวียนเปลี่ยนแปลงของน้าในสถานะต่างๆ กันจากพื้นดินและพื้นน้าเข้าสู่บรรยากาศ แล้วกลับสู่พื้นดินแลพื้นน้าอีก
  • 16. ประโยชน์จากแหล่งน้า 1. น้าเป็นสิ่งจาเป็นที่เราใช้สาหรับ การดื่มกิน การประกอบอาหาร ชาระ ร่างกาย ฯลฯ 2. น้ามีความจาเป็นสาหรับการ เพาะปลูกเลี้ยงสัตว์ แหล่งน้าเป็นที่อยู่ อาศัยของปลาและสัตว์น้าอื่น ๆ ซึ่งคนเรา ใช้เป็นอาหาร
  • 17. ประโยชน์จากแหล่งน้า 3. ในการอุตสาหกรรม ต้องใช้น้าใน ขบวนการผลิตใช้ล้างของเสียใช้หล่อ เครื่องจักรและระบายความร้อน ฯลฯ 4. การทานาเกลือโดยการระเหยน้าเค็ม จากทะเล 5. น้าเป็นแหล่งพลังงาน พลังงานจากน้า ใช้ทาระหัด ทาเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้า ได้
  • 18. ประโยชน์จากแหล่งน้า 6. แม่น้า ลาคลอง ทะเล มหาสมุทร เป็นเส้นทาง คมนาคมขนส่งที่สาคัญ 7. ทัศนียภาพของริมฝั่งทะเลและน้าที่ ใสสะอาดเป็นแหล่งท่องเที่ยวของ มนุษย์
  • 19. ปัญหาของทรัพยากรน้า ปัญหาสาคัญ ๆ ที่เกิดขึ้น คือ 1. ปัญหาการมีน้าน้อยเกินไป เกิดการขาดแคลนอันเป็นผล เนื่องจากการตัดไม้ทาลายป่า ทาให้ปริมาณน้าฝนน้อยลง เกิดความแห้ง แล้งเสียหายต่อพืชเพาะปลูกและการเลี้ยงสัตว์ แก้ไขโดย การทาฝนหลวง 2. ปัญหาการมีน้ามากเกินไป เป็นผลมาจากการตัดไม้มาก เกินไป ทาให้เกิดน้าท่วมไหลบ่าในฤดูฝน สร้างความเสียหายแก่ชีวิต และทรัพย์สิน
  • 20. ปัญหาของทรัพยากรน้า ปัญหาสาคัญ ๆ ที่เกิดขึ้น คือ 3. ปัญหาน้าเสีย เป็นปัญหาใหม่ในปัจจุบัน สาเหตุที่ทา ให้เกิดน้าเสีย ได้แก่ น้าทิ้งจากบ้านเรือน ขยะมูลฝอยและสิ่งปฎิกูลที่ ถูกทิ้งสู่แม่น้าลาคลอง น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
  • 21. ปัญหาของทรัพยากรน้า ปัญหาสาคัญ ๆ ที่เกิดขึ้น คือ น้าฝนพัดพาเอาสารพิษที่ตกค้างจาก แหล่งเกษตรกรรมลงสู่แม่น้าลาคลอง น้าเสียที่เกิดขึ้นนี้ส่งผลเสียหายทั้งต่อ สุขภาพอนามัย เป็นอันตรายต่อสัตว์น้า และ มนุษย์ ส่งกลิ่นเหม็น รบกวน ทาให้ไม่ สามารถนาแหล่งน้านั้นมาใช้ประโยชน์ได้ทั้ง การอุปโภค บริโภค เกษตรกรรม และ อุตสาหกรรม
  • 22. น้าเสีย น้าเสีย คือ น้าที่ไม่เหมาะสมแก่การอุปโภค บริโภคของมนุษย์และสัตว์ ตลอดจนการดารงชีวิต ของพืชน้าและสัตว์น้า
  • 23. การกาหนดคุณภาพของน้า 1. ค่า DO (Dissolved oxygen) หมายถึง ปริมาณออกซิเจนที่ ละลายอยู่ในแหล่งน้า แล่งน้าใดมี DO ต่ากว่า 3 mg/l แหล่งน้านั้น จัดเป็นแหล่งน้าเสีย 2. ค่า BOD (Biochemical oxygen demand) หมายถึง ปริมาณออกซิเจนในแหล่งน้าที่แอโรบิกแบคทีเรียใช้ในการย่อยสลาย สารอินทรีย์ในแหล่งน้า แหล่งน้าใดมีค่า BOD มากกว่า 100 mg/l แหล่งน้านั้นจัดเป็นน้าเสีย
  • 24. การกาหนดคุณภาพของน้า 3. ค่า COD (Chemical oxygen demand) หมายถึง ปริมาณออกซิไดซิงก์เอเจนซ์อย่างแรงที่ต้องการใช้ออกซิไดส์ สารที่ออกซิไดส์ได้ทั้งหมดในแหล่งน้านั้น ให้กลายเป็น CO2 และ H2O ปริมาณดังกล่าวคิดเทียบเป็นปริมาณออกซิเจนในน้าได้
  • 25. แหล่งที่มา สารปนเปื้อนในน้า ชนิดของสาร ความเสียหาย บ้านเรือน ขยะ น้าทิ้ง สารอินทรีย์ สารอินทรีย์ แบคทีเรีย จุลินทรีย์ น้าขาดออกซิเจน น้าเน่า น้าขาดออกซิเจน น้าเน่า น้ามีเชื้อโรค โรงงานอุตสาหกรรม น้าทิ้ง สารอินทรีย์ สารอนินทรีย์ สารกัมมันตรังสี สารพิษ ความร้อน น้าขาดออกซิเจน น้าเน่า น้าเป็นพิษ น้าเป็นพิษสัตว์น้าตาย น้าร้อน สัตว์น้าตาย ตารางแสดงแหล่งที่มา สารปนเปื้อนในน้า ชนิด และความเสียหาย
  • 26. แหล่งที่มา สารปนเปื้อนในน้า ชนิดของสาร ความเสียหาย การเลี้ยงสัตว์ มูลสัตว์ สารอินทรีย์ แบคทีเรีย จุลินทรีย์ น้าขาดออกซิเจน น้าเน่า เหมืองแร่ น้าทิ้ง สารกัมมันตรังสี (สารอนินทรีย์) สารพิษ (สารอนินทรีย์) น้าเป็นพิษ พืช และสัตว์น้าตาย น้าเป็นพิษ พืช และสัตว์น้าตาย การเผ่าไหม้ เถ้าถ่าน ตะกอน ทราย สารพิษ ไม่มีน้าสะอาดใช้ ตารางแสดงแหล่งที่มา สารปนเปื้อนในน้า ชนิด และความเสียหาย
  • 27. แหล่งที่มา สารปนเปื้อน ในน้า ชนิดของสาร ความเสียหาย การเพาะปลูก ปุ๋ย ยาฆ่าแมลง ยากาจัดศัตรูพืช สารอินทรีย์ (อาหารพืช) สารอินทรีย์ สารอินทรีย์ สาหร่ายโตเร็ว น้าขาดออกซิเจน น้ามีสารพิษ สัตว์น้าตาย น้ามีสารพิษ สัตว์น้าตาย ตารางแสดงแหล่งที่มา สารปนเปื้อนในน้า ชนิด และความเสียหาย
  • 28. ผลกระทบของน้าเสียต่อสิ่งแวดล้อม 1. เป็นแหล่งแพร่ระบาดของเชื้อโรค เช่น อหิวาตกโรค บิด ท้องเสีย 2. เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงนาโรคต่าง ๆ 3. ทาให้เกิดปัญหามลพิษต่อดิน น้า และอากาศ 4. ทาให้เกิดเหตุราคาญ เช่น กลิ่นเหม็นของน้า โสโครก
  • 29. ผลกระทบของน้าเสียต่อสิ่งแวดล้อม 5. ทาให้เกิดการสูญเสียทัศนียภาพ เกิด สภาพที่ไม่น่าดู เช่น สภาพน้าที่มีสีดาคล้าไปด้วย ขยะ และสิ่งปฎิกูล 6. ทาให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ เช่น การสูญเสียพันธุ์ปลาบางชนิดจานวนสัตว์น้าลดลง 7.ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศใน ระยะยาว
  • 30. การอนุรักษ์น้า 1. การใช้น้าอย่างประหยัด การใช้น้า อย่างประหยัดนอกจากจะลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ ค่าน้าลงได้แล้ว ยังทาให้ปริมาณน้าเสียที่จะทิ้ง ลงแหล่งน้ามีปริมาณน้อย และป้องกันการขาด แคลนน้าได้ด้วย 2. การสงวนน้าไว้ใช้ ในบางฤดูหรือ ในสภาวะที่มีน้ามากเหลือใช้ควรมีการเก็บน้า ไว้ใช้ เช่น การทาบ่อเก็บน้า การสร้างโอ่งน้า ขุดลอกแหล่งน้า รวมทั้งการสร้างอ่างเก็บน้า และระบบชลประทาน
  • 31. การอนุรักษ์น้า 3. การพัฒนาแหล่งน้า ในบางพื้นที่ที่ขาดแคลนน้า จาเป็นที่จะต้องหา แหล่งน้าเพิ่มเติม เพื่อให้สามารถมีน้าไว้ใช้ ทั้งในครัวเรือนและในการเกษตร ได้อย่างพอเพียง ปัจจุบันการนาน้าบาดาลขึ้นมาใช้กาลังแพร่หลายมากขึ้นแต่ อาจมีปัญหาเรื่องแผ่นดินทรุด
  • 32. การอนุรักษ์น้า 4. การป้องกันน้าเสีย การไม่ทิ้งขยะและสิ่ง ปฏิกูลและสารพิษลงในแหล่งน้า น้าเสียที่เกิดจาก โรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล ควรมีการบาบัด และขจัดสารพิษก่อนที่จะปล่อยลงสู่แหล่งน้า 5. การนาน้าเสียกลับไปใช้ น้าที่ไม่สามารถ ใช้ได้ในกิจการอย่างหนึ่งอาจใช้ได้ในอีกกิจการหนึ่ง เช่น น้าทิ้งจากการล้างภาชนะอาหาร สามารถนาไป รดต้นไม้ได้
  • 34. LOGO