SlideShare a Scribd company logo
รายชื่อสมาชิก 
1.นางสาวพรพิรุณ ปัดทุม ม.6/4 เลขที่ 6 
2.นางสาวพรรณพร แพนชัยภูมิ ม.6/4 เลขที่ 7 
3.นางสาวพิมพกานต์ พระนคร ม.6/4 เลขที่ 8 
4.นางสาวดาริกา ศรีชัยมูล ม.6/4 เลขที่ 14 
5.นางสาวอัชพร เมาะราศี ม.6/4 เลขที่ 44
เสนอ 
คุณครูนันทนา น้อยพรหม
1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดให้สึนามิ 
คลื่นสึนามิ มีสาเหตุการเกิดหลายประการ เช่น การเคลื่อนตัวของ 
แผ่นเปลือกโลกตามแนวรอยเลื่อนที่ก่อให้เกิดแผ่นดินไหวที่พื้นท้อง 
ทะเล การระเบิดอย่ฟางรุนแรงของภูเขาไฟใต้ทะเล ดินถล่มที่พื้นท้อง 
ทะเล การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ทะเล คลื่นสึนามิในมหาสมุทรหรือ 
ทะเลตรงที่เกิดแผ่นดินไหวเป็นความพยายามที่จะกลับคืนสู่สมดุล 
ภายหลังจากการยกตัวอย่างฉับพลันของพื้นท้องมหาสมุทร
1.4 อุทกภัย 
อุทกภัย(Flood) เป็นภัยที่เกิดจากภาวะน้า ท่วม หรือการที่น้า ทะเล 
หรือน้า ในแม่น้า ลา คลองมีระดับสูงมาก จนกระทั่งท่วมล้นฝั่ง ไหลบ่า 
ไปท่วมบ้านเรือน และสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ทา ให้เกิดความเสียหายต่อชีวิต 
และทรัพย์สินของประชาชน
1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดอุทกภัย 
1. ฝนตกหนัก การที่ฝนตกหนักเป็นเวลานานหลายชั่วโมง ย่อมทา ให้จา นวนน้า มี 
มาก จนไม่สามารถระบายลงสู่แม่น้า ลา คลองได้ทัน น้า จึงไหลบ่าลงสู่ที่ต่า อย่าง 
รวดเร็ว ซึ่งพบมากในบริเวณที่ราบสูง เชิงเขาใกล้ต้นน้า ลา ธาร และบริเวณที่การตัด 
ไม้ทา ลายป่าบริเวณต้นน้า 
2. ลมมรสุม อุทกภัยอาจเกิดจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และลมมรสุม 
ตะวันออกเฉียงเหนือ 
3. พายุหมุนเขตร้อน ซึ่งได้แก่ พายุดีเปรสชั่น พายุโซนร้อน และพายุใต้ฝุ่น ซึ่งทา 
ฝนตกเป็นเวลานาน ติดต่อกัน ทา ให้เกิดภาวะน้า ท่วมได้
4. น้าทะเลหมุน ปรากฎการณ์ที่ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์โคจรมาอยู่ 
แนวเดียวกันและรวมกา ลังกัน จะทา ให้เกิดแรงดึงดูดต่อน้า ในมหาสมุทร ทา 
ให้เกิดภาวะน้า ขึ้นสูงสุดมากกว่าระยะอื่น ที่เรียกว่า ระยะ น้า เกิด ซึ่งมัก 
ปรากฏในเวลาวันข้างขึ้น 15 ค่า หรือแรม 1-2 ค่า 
5. สาเหตุอื่นๆ เช่นแผ่นดินไหว หรือภูเขาไฟระเบิด ทา ให้เปลือกของผิว 
โลกได้รับความกระทบกระเทือน บางส่วนของผิวจะสูงขึ้น บางส่วนจะยุบลง 
โดยเฉพาะเมื่อภูเขาไฟใต้น้า ระเบิด จะทา ให้เกิดคลื่นใหญ่ ในมหาสมุทร เกิด 
ภาวะน้า ท่วมตามหมู่เกาะ หรือเมืองชายทะเล นอกจากนั้นการที่แผ่นดินทรุด 
ก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทา ให้เกิดภาวะน้า ท่วมได้ โดยเฉพาะในเขต 
กรุงเทพมหานคร และการที่หิมะละลายตัว กลายเป็นน้า ไหลลงสู่ที่ต่า อย่าง 
รวดเร็ว ทา ให้เกิดน้า ท่วมได้อย่างฉับพลัน ซึ่งพบในประเทศที่มีอากาศหนาว
1.5 แผ่นดินถล่ม 
แผ่นดินถล่ม (Landslides) คือ การเคลื่อนที่ของแผ่นดิน 
และกระบวนการซึ่งเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของดินและหิน 
ตามบริเวณพื้นที่ลาดชันที่เป็นภูเขาหรือเนินเขา
1. ปัจจัยที่ทาให้เกิดแผ่นดินถล่ม แผ่นดินถล่มเกิดขึ้นเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก 
อาจเลื่อนหลุดออกมาเป็นกระบิดหรือพังทลายลงมาก็ได้ สิ่งที่เป็นตัวกระตุ้นให้ 
เกิดแผ่นดินถล่มมีทั้งที่เป็นธรรมชาติและที่มนุษย์กระทา ขึ้น 
1.1 ปัจจัยจากธรรมชาติ มีดังนี้ 
1) การเกิดแผ่นดินไหวที่รุนแรงมากจะส่งผลให้แผ่นดินบริเวณลาดเขาที่ 
มีความชันเกิดการเคลื่อนที่ลงมาตามแรงดึงดูดของโรค 
2) การเกิดฝนตกหนัก ฝนที่ตกต่อเนื่องกันหลยายๆวัน น้า ฝนจะซึมลง 
อยู่ในเนื้อดิน เมื่อดินไม่สามารถอุ้มน้า ไว้ได้จะลื่นไถลลงตามความลาดชันและ 
มักมีต้นไม้และเศษหินขนาดต่างๆเลื่อนไหลตามไปด้วย
นอกจากนี้แผ่นดินถล่มอาจเกิดจากปัจจัยอื่นๆ เช่น 
ภูเขาไฟปะทุ หิมะตกมากหลายหิมะละลาย คลื่นสึนามิ 
การเปลี่ยนแปลงของน้า ใต้ดิน ไหล่ทวีป เป็นต้น
1.2 ปัจจัยจากมนุษย์ มีดังนี้ 
1) การขุดดินบริเวณไหล่เขา ลาดเขาหรือเชิงเขา เพื่อทา การเกษตร การทา 
ทา ถนน การขยายที่ราบในการพัฒนาที่ดิน 
2) การดูดทรายจากแม่น้า หรือบนแผ่นดิน 
3) การขุดดินลึกๆในการก่อสร้างห้องใตดิ้นของอาคาร 
4) การบดอัดเพื่อทา การก่อสร้างทา ให้เกิดการเคลื่อนของดินในบริเวณใกลเ้คียง
2. สถานการณ์การเกิดแผ่นดินถล่ม การเกิดแผ่นดินไหวใน 
ต่างประเทศและในประเทศไทยมีลักษณะคล้ายกัน คือ มักเกดในพื้นที่ภูเขา 
ที่มีความลาดชัน มีการปรับพื้นที่ป่าดั้งเดิมเป็นพื้นที่กระเกษตรกรรม สร้าง 
บ้านพักอาศัย สร้างรีสอร์ตบริการนักท่องเที่ยว และมีฝนตกชุกต่อเนื่อง 
ยาวนานมากกว่า 24 ชม. มักจะเกิดแผ่นดินถล่มนาเอาดินโคลน เศษหิน ซาก 
ต้นไม้พร้อมกับสายน้า สร้างความเสียหายทั้งต่อชีวิตและทรัพย์สินทุกครั้ง 
และการเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวมักเกิดถี่ขึ้น และรุนแรงมากขึ้นทุกๆครั้งด้วย
3. ผลกระทบที่เกิดจากแผ่นดินถล่ม นอกจากก่อให้เกิดความสูญเสีย 
ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนแล้ว ยังทา ให้บ้านเรือน สาธารณูปโภค 
เส้นทางคมนาคม พื้นที่การเกษตร และสภาพแวดล้อมได้รับความเสียหายอีก 
ด้วย โดยจะทา ให้ดินเสื่อมสภาพ เพราะหน้าดินที่อุดมสมบูรณ์ถูกชะล้างไป 
ส่วนตะกอนดินที่ถูกพัดพาสู่แหล่งน้า ก็ทา ให้มีคุณภาพลดลง ต้องใช้เวลาใน 
การฟื้นฟูเป็นเวลานานกว่าจะกลับสู่สภาพดีดังเดิม ตลอดจนทา ความเสียหาย 
ต่อเขื่อน ทา ให้มีพื้นที่กักเก็บน้อยลง อาจทา ให้เขื่อนพังได้ และนา ไปสู่การ 
เกิดอุทกภัย
4. การระวังภัย 
1) หลีกเลี่ยงการปลูกสร้างที่อยู่อาศัยในบริเวณพื้นที่ลาดชัน ที่เสี่ยงต่อภัย 
แผ่นดานถล่ม และไม่ปลูกสร้างสิ่งใดขวางทางน้า หรือใกล้ลา ห้วยมาก 
จนเกินไป 
2) เมื่อฝนตกหนักต่อเนื่องกันต้องสังเกตสีน้า ตามห้วย ลา ธาร หากมีสีแดง 
ขุ่นๆก็ต้องเตรียมตัวอพยพ 
3) ลดการตัดไม้ทา ลายป่า และการปลูกพืชบริเวณเชิงเขาที่มีความลาดชัน 
มาก
1.6 การกัดเซาะชายฝั่ง 
การกัดเซาะชายฝั่ง (Coastal Erosion) คือ การที่ชายฝั่งทะเลถูก 
กัดเซาะจากการกระทา ของคลื่นและลมในทะเลทา ให้ชายฝั่งร่นถอย 
แนวข้าไปในแผ่นดิน ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการดา รงชีวิต 
ของมนุษย์
1. ปัจจัยที่ทาให้เกิดการกัดเซาะชายฝั่ง มีดังต่อไปนี้ 
1) ธรณีพิบัติภัยที่เกิดในชายฝั่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทา ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างเด่นชัด เช่น 
แผ่นดินไหว ภูเขาไฟปะทุ แผ่นดินถล่ม เป็นต้น 
2) การเปลี่ยนแปลงของอากาศ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทา ให้โลกมีสภาพแวดล้อมต่างๆกัน อุณหภูมิอากาศ 
โลกที่สูงขึ้น อากาศที่ร้อนขึ้นทา ให้ลักษณะของลม คลื่นรุนแรง ระดับน้า ขึ้นน้า ลงเปลี่ยนแปลง เกิด 
พายุรุนแรงและถี่ขึ้นกว่าเดิม 
3) ระดับน้า ทะเลสูงขึ้น ระดับน้า ทะเลที่สูงขึ้นส่วนหนึ่งเกิดจากอากาศมีอุณหภูมิสูงขึ้น ทา ให้น้า ทะเล 
ขยายตัว และยังทา ให้ธารน้า แข็งในบริเวณขั้วโลกและบนภูเขาสูงละลายไหลลงสู่มหาสมุทร 
4) ลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาทางท้องทะเลที่มีการเคลื่อนที่ตามแผ่นเลือกท้องทะเล ทา ให้เกิด 
การทรุดตัวของพื้นที่ เช่น การสูบน้าดานขึ้นมาใช้ในปริมาณมากๆ ทา ให้เกิดการทรุดตัวของพื้นที่ 
เป็นต้น 
5) ปริมาณตะกอนไหลลงสู่ท้องทะเลน้อยลง จากการที่มีสิ่งก่อสร้างปิดกั้นการไหลของน้า ตาม 
ธรรมชาติ ทา ให้ตะกอนตามแนวชายฝั่งลดลง การกัดเซาะจึงเกิดขึ้นง่าย 
6) กิจกรรมของมนุษย์บนชายฝั่งที่พัฒนาขึ้นมาโดยไม่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมชานฝั่ง เช่น การ 
สร้างตึกสูงตามแนวหาดทรายด้านนอกที่อยู่ติดทะเล การถมทะเลเพื่อการพัฒนาที่ดิน
2. สถานการณ์ชายฝั่งถูกกัดเซาะ จาการวัดระดับน้า ทะเลโดยสถานีวัดน้า ทะเล 
ทวีปต่างๆทั่วโลกพบว่า มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น 12-15 cm. บางแห่งที่มี 
ระดับน้า ทะเลเพิ่มขึ้นจะเกิดการทรุดตัวของแผ่นดิน
3. ผลกระทบที่เกิดจากชายฝั่งถูกกัดเซาะ การกัดเซาะชายฝั่งที่เกิดขึ้นในหลาย 
พื้นที่ชายฝั่งของภูมิภาคต่างๆและชาฝั่งของประเทศไทยส่งผลกระทบในด้าน 
ต่างๆ ดังนี้ 
1) ระบบนิเวศชาฝั่ง ทา ให้ระบบนิเวศชายฝั่งถูกทา ลาย ส่งผลให้สภาพแวดชาย 
แวดล้อมฝั่งเสื่อมโทรมลง 
2) สภาพเศรษฐกิจ เมื่อพื้นที่ชายฝั่งทะเลไม่อุดมสมบูรณ์ ไม่มีความสวยงาม 
ตามธรรมชาติ ส่งผลให้นักท่องเที่ยวลดน้อยลง กระทบอุตสาหกรรมการ 
ท่องเที่ยว ซึ่งเป็นรายได้สา คัญของประเทศ และกระทบต่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า 
ชายฝั่ง ส่งผลให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจจา นวนมาก 
3) การดา รงชีวิตของประชาชน การกัดเซาะชายฝั่งทา ให้สิ่งปลูกสร้างเสียหาย 
สูญเสียที่ดินและทรัพย์สินต่างๆ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและวิถีชีวิตของ 
คนในชุมชนเปลี่ยนแปลงไป หลายชุมชนต้องอพยพออกจากพื้นที่
4. การแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง 
4.1 วิธีการทางธรรมชาติ ได้แก่ การฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าชยเลน ป่าชาหาด 
แหล่งหญ้าทะเล โดยเฉพาะการอนุรักษ์ป่าชายเลน ซึ่งนอกจากจะเป็นการปราการ 
สา คัญในการช่วยลดความรุนแรงของคลื่นลม ซึ่งเป็นสาเหตุสา คัญประการหนึ่งของ 
การเกิดการกัดเซาะชาฝั่งแล้ว ป่าชายเลนยังเป็นที่อยู่อาศัย หลบภัย แพร่พันธุ์ของสัตว์ 
ทะเลซึ่งถือเป็นแหล่งอาหารของผู้คนในท้องถิ่นอีกด้วย
4.2 วิธีการทางวิศวกรรม การแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง โดยวิธีการ 
ทางวิศวกรรมนั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อดักตะกอนทรายชายหาด สลายพลังงานคลื่น 
พยายามรักษาสภาพชายหาดให้เกิดความสมดุล โดยวิธีการทางวิศวกรรมที่ใช้ 
แก้ปัญหา เช่น การสร้างเขื่อน การสร้างปะการังเทียม เป็นต้น
1.7 วาตภัย 
วาตภัย (storms) เป็นภัยธรรมชาติซึ่งเกิดจากพายุลมแรง สามารถแบ่ง 
ลักษณะของวาตภัยได้ตามความเร็วลม สถานที่ที่เกิด เช่น พายุฝนฟ้าคะนอง 
พายุดีเปรชชั่น พายุโซนร้อน พายุใต้ฝุ่น เป็นต้น ทา ให้เกิดความเสียหายแก่ 
ชีวิตมนุษย์ อาคารบ้านเรือน ต้นไม้ และสิ่งก่อสร้างต่างๆ
1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดวาตภัย มีสาเหตุมาจากปรากฏการณ์ธรรมชาติ ดังนี้ 
1.1 พายุหมุนเขตร้อน เป็นพายุหมุนที่เกิดเหนือทะเลหรือมหาสมุทรในเขต 
ร้อน ได้แก่ พายุดีเปรชชั่น พายุโซนร้อน พายุใต้ฝุ่น พายุหมุนเขตร้อนมีชื่อ 
เรียกต่างกันไปตามแหล่งกา เนิด เช่น พายุที่เกินในอ่าวเบงกอลและมหาสมุทร 
อินเดียเรียกว่า “ไซโคลน” (cyclone) พายุที่เกิดขึ้นในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ 
และทะเลแครบเบียน อ่าวเม็กโก และทางด้านฝั่งตะวันตกมหาสมุทรแปวิฟิก 
ใต้เรียกว่า “เฮอริเคน” (hurricane) พายุที่เกิดขึ้นในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ 
ทางด้านตะวันตกมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ และทะเลจีนใต้ เรียกว่า “ใต้ฝุ่น” 
(Typhoon) พายุที่เกิดในทวีปออสเตรียเลีย เรียกว่า “วิลลี วิลลี”(willy-willy) หรือ 
เรียกชื่อตามบริเวณที่เกิด
1.2 ลมงวง หรือ พายุทอร์นาโด เป็นพายุหมุนรุนแรงขนาดเล็กที่เกิดจากการ 
หมุนเวียนของลมภายใต้เมฆก่อตัวในแนวดิ่ง หรือเมฆฝนฟ้าคะนอง (เมฆคิวมู 
โลนิมบัส) ที่มีฐานเมฆต่า กระแสมวนที่มีความเร็วสูงนี้ จะทา ให้กระแสอากาศเป็น 
ลา พุ่งขึ้นสู่ท้องฟ้า หรือย้อยลงมาจากฐานเมฆดูคล้ายกับงวงหรือปล่องยื่นลงมา ถ้า 
ถึงพื้นดินก็จา ทา ความเสียหายแก่บ้านเรือน ต้นไม้และสิ้งปลูกสร้างได้
1.3 พายุฤดูร้อน เป็นพายุที่เกิดขึ้นในฤดูร้อน ในประเทศไทยส่วนมากมักจะเกิด 
ระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน โดยจะเกิดบ่อยครั้งในภาคเหนือและภาค 
ตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนภาคกลางและภาคตะวันออก การเกิดน้อยครั้งกว่า สา หรับ 
ภาคใต้ก็สามารถเกิดขึ้นได้แต่ไม่บ่อยนัก โดยพายุฤดูร้อนจะเกิดในช่วงที่มีลักษณะอากาศ 
ร้อนอบอ้าวติดต่อกันหลายวันแล้วมีกระแสเย็นจากความกดอากาศสูงในประเทศจีนพัด 
มาปะทะกัน ทา ให้เกิดฝนฟ้าคะนอง มีพายุลมแรง และอาจมีลูกเห็บตกได้ โดยจะทา ความ 
เสียหายในบริเวณที่ไม่กว้างนักประมาณ 20-30 ตารางกิโลเมตร
2. สถานการณ์การเกิดวาตภัย วาตภัยครั้งร้ายแรงในประเทศต่างๆ เช่น 
พายุใต้ฝุ่นหมาง้อน เกิดเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เป็นพายุที่มีความรุนแรงระดับสูง พัดขึ้นฝั่ง 
ด้านใต้ของประเทศญี่ปุ่น ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 5 คน และสูญหาย 3 คน รวมความเสียหายทั้งหมดคิดเป็นมูลค่า 
27.8 ล้านเหรียญสหรัฐ 
พายุเฮอริเคนไอริน เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2554เป็นพายุที่สร้างความเสียหายมากต่อหลาย 
ประเทศในเขตแคริบเบียน เช่น ประเทศเปอร์โตริโก หมู่เกาะบาฮามาส และบริเวณภาคตะวันออกของประเทศ 
สหรัฐอเมริกา ประเมินความเสียหายเบื้องต้นเป็นมูลค่า 3100 ล้านเหรียญสหรัฐ 
พายุใต้ฝุ่น เกิดขึ้นเมื่อ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2554 เป็นพายุที่ก่อให้เกิดฝนตกหนักจนทา ให้แม่น้า ล้นตลิ่ง 
และเกิดดินถล่มบริเวณชายฝั่งบนเกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ส่งผลทา ให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 1200 
สร้างความเสียหายมากกว่า23ล้านเหรียญสหรัฐ 
ส่วนวาตภัยครั้งร้ายแรงที่เกิดขึ้นในประเทศไทยเช่น 
พายุใต้ฝุ่น “เกย์” ที่พัดเข้าสู่จังหวัดชุมพร เมื่อ พ.ศ. 2532 
พายุไต้ฝุ่น “ลินดา” ที่พัดเข้าสู่ทางภาคใต้ของไทย เมื่อ พ.ศ. 2540 
พายุโซนร้อน “ไหหมา” “นกเตน” “ไหทาง” “เนสาด” และ “นาลแก” พายุทั้งห้าลูก พัดเข้าสู่ประเทศ 
ไทยตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 นับเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทา ให้เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ในประเทศ 
ไทย
3. ผลกระทบที่เกิดจากวาตภัย 
ในทะเล มีลมพัด คลื่นใหญ่ เรือขนาดใหญ่อาจถูกพัดพาไปเกยฝั่ง 
หรือชนหินโสโครกทา ให้จมมิด เรือทุกชนิดควรงดออกจากฝั่ง หลีกเหลี่ 
ยงการเดินทางเข้าศูนย์กลางพายุมีคลื่นใหญ่ซัดฝั่งทา ให้ระดับน้า สูงท่วม 
อาคารบ้านเรือนบริเวณริมฝั่งทะเล พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้า ชายฝั่ง ลมอาจ 
กวาดสิ่งก่อสร้างที่ไม่เข้มแข็งแรงลงทะเลได้ เรือประมงบริเวณชายฝั่งจะ 
ถูกทา ลาย
บนบก ต้นไม้ถอนรากถอนโคน ต้นไม้ทับบ้านเรือนพัง เรือกสวนไร่นา 
เสียหายหนักมาก บ้านเรือนที่ไม่แข็งแรงไม่สามารถต้านความรุนแรงของลม 
พัดได้พังระเนระนาด หลังคาบ้านที่ทา ด้วยสังกะสีจะถูกพัดเปิดคนจน 
กระเบื้องหลังคาปลิวว่อน เป็นอันตรายต่อผู้ที่อยู่ในโล่งแจ้ง เสาไฟฟ้า และเสา 
โทรศัพท์ล้ม สายไฟขาด ไฟฟ้าลัดวงจร เกิดเพลิงไหม้ผู้คนเสียชีวิตจากไฟฟ้า 
ดูดได้ ผู้ที่พักยู่อาศัยอยู่ริมทะเลถูกคลื่นวัดท่วมบ้านเรือนและกวาดลงทะเล 
ผู้คนอาจจมน้า ตายในใต้ทะเล ฝนตกหนักมากทั้งวันทั้งคืน เกิดอุทกภัยตาม 
น้า ป่าจากภูเขาไหลหลากลงมาอย่างรุนแรง ท่วมบ้านเรือน ถนน และ 
เรือกสวนไร่นา เส้นทางคมนาคมทางรถไฟ สะพาน และถนนถูกตัดขาด
1.8 ไฟป่า 
ไฟป่า(Wild Fire) คือ ไฟที่เกิดขึ้นแล้วลุกลามไปได้โดยปราศจาก 
การควบคุมไฟป่าอาจเกิดขึ้นจากสาเหตุธรรมชาติ หรืออาจเกิดจากการ 
กระทา ของมนุษย์ แล้วส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการดา รงชีวิต 
ของมนุษย์
1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดไฟป่า 
1. เกิดจากธรรมชาติ ไฟป่าที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติเกิดขึ้นจาก 
หลายสาเหตุ เช่นฟ้าผ่า กิ่งไม้เสียดสีกัน ภูเขาไฟระเบิด ก้อนหินกระทบ 
กัน แสงแดดตกกระทบผลึกหิน แสงแดดส่องผ่านหยดน้า ปฏิกริยาเคมี 
ในดินป่าพรุ การลุกไหม้ในตัวเองของสิ่งมีชีวิต (Spontaneous 
Combustion) แต่สาเหตุที่สา คัญ คือ 
1.1 ฟ้าผ่า เป็นสาเหตุสา คัญของการเกิดไฟป่าในเขตอบอุ่น ใน 
ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศแคนาดา พบว่ากว่าครึ่งหนึ่งของไฟ 
ป่าที่เกิดขึ้นมีสาเหตุมาจากฟ้าผ่า
1.2 กิ่งไม้เสียดสีกัน อาจเกิดขึ้นได้ในพื้นที่ป่าที่มีไม้ขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น 
และมีสภาพอากาศแห้งจัด เช่น ในป่าไผ่หรือป่าสน
2. สาเหตุจากมนุษย์ 
1) เก็บหาของป่า เป็นสาเหตุที่ทา ให้เกิดไฟป่ามากที่สุด การเก็บหาของ 
ป่าส่วนใหญ่ได้แก่ ไข่มดแดง เห็ด ใบตองตึง ไม้ไผ่ น้า ผึ้ง ผักหวาน และไม้ 
ฟืน การจุดไฟส่วนใหญ่เพื่อให้พื้นป่าโล่ง เดินสะดวก หรือให้แสงสว่างใน 
ระหว่างการเดินทางผ่านป่าในเวลากลางคืน หรือจุดเพื่อกระตุ้นการงอกของ 
เห็ด หรือกระตุ้นการแตกใบใหม่ของผักหวานและใบตองตึง หรือจุดเพื่อไล่ 
ตัวมดแดงออกจากรัง รมควันไล่ผึ้ง หรือไล่แมลงต่างๆ ในขณะที่อยู่ในป่า 
2) เผาไร่เป็นสาเหตุที่สา คัญรองลงมา การเผาไร่ก็เพื่อกา จัดวัชพืชหรือเศษ 
ซากพืชที่เหลืออยู่ภายหลังการเก็บเกี่ยว ทั้งนี้เพื่อเตรียมพื้นที่เพาะปลูกในรอบ 
ต่อไป ทั้งนี้โดยปราศจากการทา แนวกันไฟและปราศจากการควบคุม ไฟจึง 
ลามเข้าป่าที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง 
3) แกล้งจุดไฟเผาป่า ในกรณีที่ประชาชนในพื้นที่มีปัญหาความขัดแย้ง 
กับหน่วยงานของรัฐในพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเรื่องที่ทา กินหรือถูก 
จับกุมจากการกระทา ผิดในเรื่องป่าไม้ ก็มักจะหาทางแก้แค้นเจ้าหน้าที่ด้วย 
การเผาป่า
4) ความประมาท เกิดจากการเข้าไปพักแรมในป่า ก่อกองไฟแล้ว 
ลืมดับ หรือทิ้งก้นบุหรี่ลงบนพื้นป่า เป็นต้น 
5) ล่าสัตว์โดยใช้วิธีไล่เหล่า คือจุดไฟไล่ให้สัตว์หนีออกจากที่ซ่อน 
หรือจุดไฟเพื่อให้แมลงบินหนีไฟ นกชนิดต่างๆ จะบินมากินแมลง แล้ว 
ดักยิงนกอีกทอดหนึ่ง หรือจุดไฟเผาทุ่งหญ้า เพื่อให้หญ้าใหม่แตกระบัด 
ล่อให้สัตว์ชนิดต่างๆ เช่น กระทิง กวาง กระต่าย มากินหญ้า แล้วดักรอ 
ยิงสัตว์นั้นๆ
2) สถานการณ์การเกิดไฟป่า 
การสารวจความเสียหายจากไฟป่า มีขึ้นครั้งแรกในปี 2514 เมื่อ Mr. 
J.C.Macleodผู้เชี่ยวชาญไฟป่าจากประเทศแคนาดา ได้เข้ามาศึกษาวิเคราะห์ 
สถานการณ์ไฟป่าในประเทศไทย และได้ประเมินว่า มีไฟไหม้ป่าในประเทศไทย 
ประมาณปีละ 117 ล้านไร่ โดยส่วนใหญ่เกิดในภาคเหนือและภาค 
ตะวันออกเฉียงเหนือ 
ต่อมา ในระหว่างปี 2527-2529 กรมป่าไม้ได้ใช้เครื่องบินสา รวจพื้นที่ป่าที่ถูก 
ไฟไหม้ทั่วประเทศ พบว่ามีพื้นที่ป่าที่ถูกไฟไหม้ถึงปีละ 19.48 ล้านไร่ หรือคิดเป็น 
20.92 % ของพื้นที่ป่าทั่วประเทศ (ตารางที่ 2.1) ในปี 2535 ได้มีการสา รวจทาง 
อากาศอีกครั้งหนึ่ง พบว่ามีพื้นที่ป่าถูกไฟไหม้ 12.13 ล้านไร่ หรือคิดเป็น 14.85 % 
ของพื้นที่ป่าทั่วประเทศ
2.1 ภาวะโลกร้อน 
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) คือภาวะที่บรรยากาศของโลกมี 
อุณหภูมิโดยเฉลี่ยสูงขึ้นซึ่งเป็นสาเหตุทา ให้ภูมิอากาศของโลก 
เปลี่ยนแปลง ภาวะโลกร้อนอาจนา ไปสู่การเปลี่ยนแปลงของปริมาณ 
น้า ฝน ระดับน้า ทะเล และส่งผลกระทบต่อพืช สัตว์ และมนุษย์อย่างมาก
1. ปัจจัยทที่า ให้เกิดภาวะโลกร้อน ปัจจัยสา คัญที่ทา ให้อุณหภูมิของโลก 
สูงขึ้นคือ “ปรากฏการณ์เรือนกระจก” (Greenhouse Effect) ซึ่งเกิดจากการที่ 
ที่มนุษย์ได้ปล่อยแก๊สเรือนกระจกออกสู่บรรยากาศในปริมาณมาก ได้แก่ 
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สมีเทน แก๊สไนตรัสออกไซด์ และสารประกอบ 
คลอโรฟลูออโรคาร์บอน จากการทา กิจกรรมต่างๆ เช่น การทา การเกษตร 
อุตสาหกรรม การคมนาคมขนส่ง การตัดไม้ทา ลายป่า เป็นต้น แก๊สเรือน 
กระจกจะกักเก็บความร้อนที่แผ่ออกมาจากดวงอาทิตย์และสะท้อนคลื่นความ 
ร้อนมาสู่พื้นโลก จนทา ให้เกิดภาวะโลกร้อนขึ้น
2) สถานการณ์การเกิดภาวะโลกร้อน หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า 
โลกร้อนขึ้น คือ ปริมาณน้า แข็งและหิมะในปัจจุบันบริเวณขั้วโลกและ 
บนเทือกเขาสูง เช่น เทือกเขาหิมาลัยในทวีปเอเชีย เทือกเขาคิลิมันจาโร 
ในทวีปแอฟริกา มีปริมาณน้า แข็งและหิมะลดลงอย่างเห็นได้ชัดเมื่อ 
เทียบกับอดีต 
สาหรับประเทศไทยได้รับผลกระทบจากภาวะโลกร้อน คือ 
อุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้นส่งผลให้เกิดภัยพิบัติจากน้า ท่วม ภัยแล้ง ดิน 
ถล่มบ่อยครั้ง และทวีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจและ 
ความมั่นคงของประเทศ
3) ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน 
1. เกิดพายุหมุนบ่อยขึ้น และ มีความรุนแรงมากขึ้น 
2. ปัญหาฝนแล้งและไฟป่า อุณหภูมิของอากาศที่สูงขึ้น ทา ให้ปริมาณน้า และ 
ความชุ่มชื้นระเหยไปอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ฝนแล้งยังทา ให้เกิดไฟป่าขึ้นได้ง่าย 
3. ระดับน้า ทะเลสูงขึ้น เป็นผลมาจากการขยายตัวของน้า ทะเลเนื่องจากอุณหภูมิ 
น้า สูงขึ้น และธารน้า แข็งที่ขั้วโลกละลายเร็วกว่าปกติ การละลายของธารน้า แข็งจะทา 
ให้ระดับน้า ทะเลสูงขึ้นท่วมพื้นที่ชายฝั่งทะเล 
4. ปัญหาชายฝั่งทะเลถูกกัดเซาะ เป็นปัญหาสืบเนื่องมาจากการที่ระดับน้า ทะเล 
สูงขึ้น เพราะปริมาณน้า จะไปกัดเซาะชายฝั่งทะเลให้พังทลายมากขึ้นกว่าเดิม
4) การระวังภัยจากภาวะโลกร้อน 
1. ลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติก เพราะถุงพลาสติกไม่สามารถย่อยสลายเองได้ตาม 
ธรรมชาติ ต้องกา จัดโดยการเผาในเตาเผาขยะ ซึ่งทา ให้มีแก๊สเรือนกระจกเพิ่มขึ้นใน 
บรรยากาศ 
2. แยกขยะอินทรีย์ เช่น เศษผัก เศษอาหาร ออกจากขยะอื่นๆ ที่สามารถนา ไปใช้ให้ 
เกิดประโยชน์ใหม่ได้ เป็นการป้องกันการปล่อยแก๊สมีเทนสู่บรรยากาศ 
3. ใช้รถส่วนตัวให้น้อยลง หันไปใช้จักรยาน ใช้บริการรถโดยสารประจา ทาง หรือ 
ใช้การเดิน เมื่อต้องไปทา กิจกรรมหรือธุระใกล้บ้าน 
4. ประหยัดการใช้พลังงานไฟฟ้า ด้วยการปิดโทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ เครื่องเสียง 
และเครื่องไฟฟ้าอื่นๆ เมื่อไม่ได้ใช้งาน 
5. สนับสนุนสินค้าและผลิตผลจากการเกษตรกรในท้องถิ่น ช่วยให้เกษตรกรใน 
พื้นที่ไม่ต้องขนส่งผลิตผลให้พ่อค้าคนกลางนา ไปขายในพื้นที่ไกลๆ
2.2 การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ 
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Climate Change) คือ การที่อุณหภูมิของ 
โลกค่อยๆเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อย อันเนื่องมาจาก 2 ปัจจัยสา คัญ ได้แก่ 
ปัจจัยทางธรรมชาติ และปัจจัยจากกาเปลี่ยนแปลงปริมาณและความ 
เข้มข้นของแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ

More Related Content

What's hot

บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
Moll Kim
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
spk906
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปchanok
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
Patt Thank
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
Pasika Chuchuea
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการSumalee Khvamsuk
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
Pannaray Kaewmarueang
 
เนื้อหาสารและสมบัติของสาร
เนื้อหาสารและสมบัติของสารเนื้อหาสารและสมบัติของสาร
เนื้อหาสารและสมบัติของสาร
ชัญญานุช เนริกูล
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
พัน พัน
 
การเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรป
การเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรปการเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรป
การเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรป
Tin Savastham
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1juckit009
 
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.suchinmam
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 

What's hot (20)

ประวัติศาสตร์ ม.5
ประวัติศาสตร์ ม.5ประวัติศาสตร์ ม.5
ประวัติศาสตร์ ม.5
 
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
 
ข้อสอบ
ข้อสอบข้อสอบ
ข้อสอบ
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
เนื้อหาสารและสมบัติของสาร
เนื้อหาสารและสมบัติของสารเนื้อหาสารและสมบัติของสาร
เนื้อหาสารและสมบัติของสาร
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
การเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรป
การเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรปการเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรป
การเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรป
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1
 
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 

Similar to เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ

ภัยพิบัติทางธรมมชาติ
ภัยพิบัติทางธรมมชาติภัยพิบัติทางธรมมชาติ
ภัยพิบัติทางธรมมชาติ
Pookyoon Soshi'girl
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1nananattie
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนpangminpm
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1mingpimon
 
ปัญหาน้ำท่วม
ปัญหาน้ำท่วมปัญหาน้ำท่วม
ปัญหาน้ำท่วม
fluke11111
 
ภูมิภาคชายฝั่ง
ภูมิภาคชายฝั่งภูมิภาคชายฝั่ง
ภูมิภาคชายฝั่ง
jumjaP
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์Aungkana Na Na
 
โครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินโครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินlalipat
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1Nuttayaporn2138
 
ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินRoongroeng
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
sedwong Pam
 
รายงานสังคม
รายงานสังคมรายงานสังคม
รายงานสังคมthnaporn999
 
การสูญเสียป่าชายเลน
การสูญเสียป่าชายเลน การสูญเสียป่าชายเลน
การสูญเสียป่าชายเลน
Supitchaya Tuntada
 
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
Dr.Choen Krainara
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกโครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกmint123n
 

Similar to เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ (20)

ภัยพิบัติทางธรมมชาติ
ภัยพิบัติทางธรมมชาติภัยพิบัติทางธรมมชาติ
ภัยพิบัติทางธรมมชาติ
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
 
ปัญหาน้ำท่วม
ปัญหาน้ำท่วมปัญหาน้ำท่วม
ปัญหาน้ำท่วม
 
ภูมิภาคชายฝั่ง
ภูมิภาคชายฝั่งภูมิภาคชายฝั่ง
ภูมิภาคชายฝั่ง
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์
 
ต้นกก
ต้นกกต้นกก
ต้นกก
 
โครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินโครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดิน
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
 
ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดิน
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
02
0202
02
 
รายงานสังคม
รายงานสังคมรายงานสังคม
รายงานสังคม
 
การสูญเสียป่าชายเลน
การสูญเสียป่าชายเลน การสูญเสียป่าชายเลน
การสูญเสียป่าชายเลน
 
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกโครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝก
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ

  • 1.
  • 2. รายชื่อสมาชิก 1.นางสาวพรพิรุณ ปัดทุม ม.6/4 เลขที่ 6 2.นางสาวพรรณพร แพนชัยภูมิ ม.6/4 เลขที่ 7 3.นางสาวพิมพกานต์ พระนคร ม.6/4 เลขที่ 8 4.นางสาวดาริกา ศรีชัยมูล ม.6/4 เลขที่ 14 5.นางสาวอัชพร เมาะราศี ม.6/4 เลขที่ 44
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17. 1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดให้สึนามิ คลื่นสึนามิ มีสาเหตุการเกิดหลายประการ เช่น การเคลื่อนตัวของ แผ่นเปลือกโลกตามแนวรอยเลื่อนที่ก่อให้เกิดแผ่นดินไหวที่พื้นท้อง ทะเล การระเบิดอย่ฟางรุนแรงของภูเขาไฟใต้ทะเล ดินถล่มที่พื้นท้อง ทะเล การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ทะเล คลื่นสึนามิในมหาสมุทรหรือ ทะเลตรงที่เกิดแผ่นดินไหวเป็นความพยายามที่จะกลับคืนสู่สมดุล ภายหลังจากการยกตัวอย่างฉับพลันของพื้นท้องมหาสมุทร
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21. 1.4 อุทกภัย อุทกภัย(Flood) เป็นภัยที่เกิดจากภาวะน้า ท่วม หรือการที่น้า ทะเล หรือน้า ในแม่น้า ลา คลองมีระดับสูงมาก จนกระทั่งท่วมล้นฝั่ง ไหลบ่า ไปท่วมบ้านเรือน และสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ทา ให้เกิดความเสียหายต่อชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน
  • 22. 1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดอุทกภัย 1. ฝนตกหนัก การที่ฝนตกหนักเป็นเวลานานหลายชั่วโมง ย่อมทา ให้จา นวนน้า มี มาก จนไม่สามารถระบายลงสู่แม่น้า ลา คลองได้ทัน น้า จึงไหลบ่าลงสู่ที่ต่า อย่าง รวดเร็ว ซึ่งพบมากในบริเวณที่ราบสูง เชิงเขาใกล้ต้นน้า ลา ธาร และบริเวณที่การตัด ไม้ทา ลายป่าบริเวณต้นน้า 2. ลมมรสุม อุทกภัยอาจเกิดจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ 3. พายุหมุนเขตร้อน ซึ่งได้แก่ พายุดีเปรสชั่น พายุโซนร้อน และพายุใต้ฝุ่น ซึ่งทา ฝนตกเป็นเวลานาน ติดต่อกัน ทา ให้เกิดภาวะน้า ท่วมได้
  • 23. 4. น้าทะเลหมุน ปรากฎการณ์ที่ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์โคจรมาอยู่ แนวเดียวกันและรวมกา ลังกัน จะทา ให้เกิดแรงดึงดูดต่อน้า ในมหาสมุทร ทา ให้เกิดภาวะน้า ขึ้นสูงสุดมากกว่าระยะอื่น ที่เรียกว่า ระยะ น้า เกิด ซึ่งมัก ปรากฏในเวลาวันข้างขึ้น 15 ค่า หรือแรม 1-2 ค่า 5. สาเหตุอื่นๆ เช่นแผ่นดินไหว หรือภูเขาไฟระเบิด ทา ให้เปลือกของผิว โลกได้รับความกระทบกระเทือน บางส่วนของผิวจะสูงขึ้น บางส่วนจะยุบลง โดยเฉพาะเมื่อภูเขาไฟใต้น้า ระเบิด จะทา ให้เกิดคลื่นใหญ่ ในมหาสมุทร เกิด ภาวะน้า ท่วมตามหมู่เกาะ หรือเมืองชายทะเล นอกจากนั้นการที่แผ่นดินทรุด ก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทา ให้เกิดภาวะน้า ท่วมได้ โดยเฉพาะในเขต กรุงเทพมหานคร และการที่หิมะละลายตัว กลายเป็นน้า ไหลลงสู่ที่ต่า อย่าง รวดเร็ว ทา ให้เกิดน้า ท่วมได้อย่างฉับพลัน ซึ่งพบในประเทศที่มีอากาศหนาว
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29. 1.5 แผ่นดินถล่ม แผ่นดินถล่ม (Landslides) คือ การเคลื่อนที่ของแผ่นดิน และกระบวนการซึ่งเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของดินและหิน ตามบริเวณพื้นที่ลาดชันที่เป็นภูเขาหรือเนินเขา
  • 30. 1. ปัจจัยที่ทาให้เกิดแผ่นดินถล่ม แผ่นดินถล่มเกิดขึ้นเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก อาจเลื่อนหลุดออกมาเป็นกระบิดหรือพังทลายลงมาก็ได้ สิ่งที่เป็นตัวกระตุ้นให้ เกิดแผ่นดินถล่มมีทั้งที่เป็นธรรมชาติและที่มนุษย์กระทา ขึ้น 1.1 ปัจจัยจากธรรมชาติ มีดังนี้ 1) การเกิดแผ่นดินไหวที่รุนแรงมากจะส่งผลให้แผ่นดินบริเวณลาดเขาที่ มีความชันเกิดการเคลื่อนที่ลงมาตามแรงดึงดูดของโรค 2) การเกิดฝนตกหนัก ฝนที่ตกต่อเนื่องกันหลยายๆวัน น้า ฝนจะซึมลง อยู่ในเนื้อดิน เมื่อดินไม่สามารถอุ้มน้า ไว้ได้จะลื่นไถลลงตามความลาดชันและ มักมีต้นไม้และเศษหินขนาดต่างๆเลื่อนไหลตามไปด้วย
  • 31. นอกจากนี้แผ่นดินถล่มอาจเกิดจากปัจจัยอื่นๆ เช่น ภูเขาไฟปะทุ หิมะตกมากหลายหิมะละลาย คลื่นสึนามิ การเปลี่ยนแปลงของน้า ใต้ดิน ไหล่ทวีป เป็นต้น
  • 32. 1.2 ปัจจัยจากมนุษย์ มีดังนี้ 1) การขุดดินบริเวณไหล่เขา ลาดเขาหรือเชิงเขา เพื่อทา การเกษตร การทา ทา ถนน การขยายที่ราบในการพัฒนาที่ดิน 2) การดูดทรายจากแม่น้า หรือบนแผ่นดิน 3) การขุดดินลึกๆในการก่อสร้างห้องใตดิ้นของอาคาร 4) การบดอัดเพื่อทา การก่อสร้างทา ให้เกิดการเคลื่อนของดินในบริเวณใกลเ้คียง
  • 33. 2. สถานการณ์การเกิดแผ่นดินถล่ม การเกิดแผ่นดินไหวใน ต่างประเทศและในประเทศไทยมีลักษณะคล้ายกัน คือ มักเกดในพื้นที่ภูเขา ที่มีความลาดชัน มีการปรับพื้นที่ป่าดั้งเดิมเป็นพื้นที่กระเกษตรกรรม สร้าง บ้านพักอาศัย สร้างรีสอร์ตบริการนักท่องเที่ยว และมีฝนตกชุกต่อเนื่อง ยาวนานมากกว่า 24 ชม. มักจะเกิดแผ่นดินถล่มนาเอาดินโคลน เศษหิน ซาก ต้นไม้พร้อมกับสายน้า สร้างความเสียหายทั้งต่อชีวิตและทรัพย์สินทุกครั้ง และการเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวมักเกิดถี่ขึ้น และรุนแรงมากขึ้นทุกๆครั้งด้วย
  • 34. 3. ผลกระทบที่เกิดจากแผ่นดินถล่ม นอกจากก่อให้เกิดความสูญเสีย ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนแล้ว ยังทา ให้บ้านเรือน สาธารณูปโภค เส้นทางคมนาคม พื้นที่การเกษตร และสภาพแวดล้อมได้รับความเสียหายอีก ด้วย โดยจะทา ให้ดินเสื่อมสภาพ เพราะหน้าดินที่อุดมสมบูรณ์ถูกชะล้างไป ส่วนตะกอนดินที่ถูกพัดพาสู่แหล่งน้า ก็ทา ให้มีคุณภาพลดลง ต้องใช้เวลาใน การฟื้นฟูเป็นเวลานานกว่าจะกลับสู่สภาพดีดังเดิม ตลอดจนทา ความเสียหาย ต่อเขื่อน ทา ให้มีพื้นที่กักเก็บน้อยลง อาจทา ให้เขื่อนพังได้ และนา ไปสู่การ เกิดอุทกภัย
  • 35. 4. การระวังภัย 1) หลีกเลี่ยงการปลูกสร้างที่อยู่อาศัยในบริเวณพื้นที่ลาดชัน ที่เสี่ยงต่อภัย แผ่นดานถล่ม และไม่ปลูกสร้างสิ่งใดขวางทางน้า หรือใกล้ลา ห้วยมาก จนเกินไป 2) เมื่อฝนตกหนักต่อเนื่องกันต้องสังเกตสีน้า ตามห้วย ลา ธาร หากมีสีแดง ขุ่นๆก็ต้องเตรียมตัวอพยพ 3) ลดการตัดไม้ทา ลายป่า และการปลูกพืชบริเวณเชิงเขาที่มีความลาดชัน มาก
  • 36. 1.6 การกัดเซาะชายฝั่ง การกัดเซาะชายฝั่ง (Coastal Erosion) คือ การที่ชายฝั่งทะเลถูก กัดเซาะจากการกระทา ของคลื่นและลมในทะเลทา ให้ชายฝั่งร่นถอย แนวข้าไปในแผ่นดิน ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการดา รงชีวิต ของมนุษย์
  • 37. 1. ปัจจัยที่ทาให้เกิดการกัดเซาะชายฝั่ง มีดังต่อไปนี้ 1) ธรณีพิบัติภัยที่เกิดในชายฝั่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทา ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างเด่นชัด เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟปะทุ แผ่นดินถล่ม เป็นต้น 2) การเปลี่ยนแปลงของอากาศ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทา ให้โลกมีสภาพแวดล้อมต่างๆกัน อุณหภูมิอากาศ โลกที่สูงขึ้น อากาศที่ร้อนขึ้นทา ให้ลักษณะของลม คลื่นรุนแรง ระดับน้า ขึ้นน้า ลงเปลี่ยนแปลง เกิด พายุรุนแรงและถี่ขึ้นกว่าเดิม 3) ระดับน้า ทะเลสูงขึ้น ระดับน้า ทะเลที่สูงขึ้นส่วนหนึ่งเกิดจากอากาศมีอุณหภูมิสูงขึ้น ทา ให้น้า ทะเล ขยายตัว และยังทา ให้ธารน้า แข็งในบริเวณขั้วโลกและบนภูเขาสูงละลายไหลลงสู่มหาสมุทร 4) ลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาทางท้องทะเลที่มีการเคลื่อนที่ตามแผ่นเลือกท้องทะเล ทา ให้เกิด การทรุดตัวของพื้นที่ เช่น การสูบน้าดานขึ้นมาใช้ในปริมาณมากๆ ทา ให้เกิดการทรุดตัวของพื้นที่ เป็นต้น 5) ปริมาณตะกอนไหลลงสู่ท้องทะเลน้อยลง จากการที่มีสิ่งก่อสร้างปิดกั้นการไหลของน้า ตาม ธรรมชาติ ทา ให้ตะกอนตามแนวชายฝั่งลดลง การกัดเซาะจึงเกิดขึ้นง่าย 6) กิจกรรมของมนุษย์บนชายฝั่งที่พัฒนาขึ้นมาโดยไม่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมชานฝั่ง เช่น การ สร้างตึกสูงตามแนวหาดทรายด้านนอกที่อยู่ติดทะเล การถมทะเลเพื่อการพัฒนาที่ดิน
  • 38. 2. สถานการณ์ชายฝั่งถูกกัดเซาะ จาการวัดระดับน้า ทะเลโดยสถานีวัดน้า ทะเล ทวีปต่างๆทั่วโลกพบว่า มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น 12-15 cm. บางแห่งที่มี ระดับน้า ทะเลเพิ่มขึ้นจะเกิดการทรุดตัวของแผ่นดิน
  • 39. 3. ผลกระทบที่เกิดจากชายฝั่งถูกกัดเซาะ การกัดเซาะชายฝั่งที่เกิดขึ้นในหลาย พื้นที่ชายฝั่งของภูมิภาคต่างๆและชาฝั่งของประเทศไทยส่งผลกระทบในด้าน ต่างๆ ดังนี้ 1) ระบบนิเวศชาฝั่ง ทา ให้ระบบนิเวศชายฝั่งถูกทา ลาย ส่งผลให้สภาพแวดชาย แวดล้อมฝั่งเสื่อมโทรมลง 2) สภาพเศรษฐกิจ เมื่อพื้นที่ชายฝั่งทะเลไม่อุดมสมบูรณ์ ไม่มีความสวยงาม ตามธรรมชาติ ส่งผลให้นักท่องเที่ยวลดน้อยลง กระทบอุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยว ซึ่งเป็นรายได้สา คัญของประเทศ และกระทบต่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ชายฝั่ง ส่งผลให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจจา นวนมาก 3) การดา รงชีวิตของประชาชน การกัดเซาะชายฝั่งทา ให้สิ่งปลูกสร้างเสียหาย สูญเสียที่ดินและทรัพย์สินต่างๆ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและวิถีชีวิตของ คนในชุมชนเปลี่ยนแปลงไป หลายชุมชนต้องอพยพออกจากพื้นที่
  • 40.
  • 41. 4. การแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง 4.1 วิธีการทางธรรมชาติ ได้แก่ การฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าชยเลน ป่าชาหาด แหล่งหญ้าทะเล โดยเฉพาะการอนุรักษ์ป่าชายเลน ซึ่งนอกจากจะเป็นการปราการ สา คัญในการช่วยลดความรุนแรงของคลื่นลม ซึ่งเป็นสาเหตุสา คัญประการหนึ่งของ การเกิดการกัดเซาะชาฝั่งแล้ว ป่าชายเลนยังเป็นที่อยู่อาศัย หลบภัย แพร่พันธุ์ของสัตว์ ทะเลซึ่งถือเป็นแหล่งอาหารของผู้คนในท้องถิ่นอีกด้วย
  • 42. 4.2 วิธีการทางวิศวกรรม การแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง โดยวิธีการ ทางวิศวกรรมนั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อดักตะกอนทรายชายหาด สลายพลังงานคลื่น พยายามรักษาสภาพชายหาดให้เกิดความสมดุล โดยวิธีการทางวิศวกรรมที่ใช้ แก้ปัญหา เช่น การสร้างเขื่อน การสร้างปะการังเทียม เป็นต้น
  • 43. 1.7 วาตภัย วาตภัย (storms) เป็นภัยธรรมชาติซึ่งเกิดจากพายุลมแรง สามารถแบ่ง ลักษณะของวาตภัยได้ตามความเร็วลม สถานที่ที่เกิด เช่น พายุฝนฟ้าคะนอง พายุดีเปรชชั่น พายุโซนร้อน พายุใต้ฝุ่น เป็นต้น ทา ให้เกิดความเสียหายแก่ ชีวิตมนุษย์ อาคารบ้านเรือน ต้นไม้ และสิ่งก่อสร้างต่างๆ
  • 44. 1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดวาตภัย มีสาเหตุมาจากปรากฏการณ์ธรรมชาติ ดังนี้ 1.1 พายุหมุนเขตร้อน เป็นพายุหมุนที่เกิดเหนือทะเลหรือมหาสมุทรในเขต ร้อน ได้แก่ พายุดีเปรชชั่น พายุโซนร้อน พายุใต้ฝุ่น พายุหมุนเขตร้อนมีชื่อ เรียกต่างกันไปตามแหล่งกา เนิด เช่น พายุที่เกินในอ่าวเบงกอลและมหาสมุทร อินเดียเรียกว่า “ไซโคลน” (cyclone) พายุที่เกิดขึ้นในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ และทะเลแครบเบียน อ่าวเม็กโก และทางด้านฝั่งตะวันตกมหาสมุทรแปวิฟิก ใต้เรียกว่า “เฮอริเคน” (hurricane) พายุที่เกิดขึ้นในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ ทางด้านตะวันตกมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ และทะเลจีนใต้ เรียกว่า “ใต้ฝุ่น” (Typhoon) พายุที่เกิดในทวีปออสเตรียเลีย เรียกว่า “วิลลี วิลลี”(willy-willy) หรือ เรียกชื่อตามบริเวณที่เกิด
  • 45. 1.2 ลมงวง หรือ พายุทอร์นาโด เป็นพายุหมุนรุนแรงขนาดเล็กที่เกิดจากการ หมุนเวียนของลมภายใต้เมฆก่อตัวในแนวดิ่ง หรือเมฆฝนฟ้าคะนอง (เมฆคิวมู โลนิมบัส) ที่มีฐานเมฆต่า กระแสมวนที่มีความเร็วสูงนี้ จะทา ให้กระแสอากาศเป็น ลา พุ่งขึ้นสู่ท้องฟ้า หรือย้อยลงมาจากฐานเมฆดูคล้ายกับงวงหรือปล่องยื่นลงมา ถ้า ถึงพื้นดินก็จา ทา ความเสียหายแก่บ้านเรือน ต้นไม้และสิ้งปลูกสร้างได้
  • 46. 1.3 พายุฤดูร้อน เป็นพายุที่เกิดขึ้นในฤดูร้อน ในประเทศไทยส่วนมากมักจะเกิด ระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน โดยจะเกิดบ่อยครั้งในภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนภาคกลางและภาคตะวันออก การเกิดน้อยครั้งกว่า สา หรับ ภาคใต้ก็สามารถเกิดขึ้นได้แต่ไม่บ่อยนัก โดยพายุฤดูร้อนจะเกิดในช่วงที่มีลักษณะอากาศ ร้อนอบอ้าวติดต่อกันหลายวันแล้วมีกระแสเย็นจากความกดอากาศสูงในประเทศจีนพัด มาปะทะกัน ทา ให้เกิดฝนฟ้าคะนอง มีพายุลมแรง และอาจมีลูกเห็บตกได้ โดยจะทา ความ เสียหายในบริเวณที่ไม่กว้างนักประมาณ 20-30 ตารางกิโลเมตร
  • 47. 2. สถานการณ์การเกิดวาตภัย วาตภัยครั้งร้ายแรงในประเทศต่างๆ เช่น พายุใต้ฝุ่นหมาง้อน เกิดเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เป็นพายุที่มีความรุนแรงระดับสูง พัดขึ้นฝั่ง ด้านใต้ของประเทศญี่ปุ่น ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 5 คน และสูญหาย 3 คน รวมความเสียหายทั้งหมดคิดเป็นมูลค่า 27.8 ล้านเหรียญสหรัฐ พายุเฮอริเคนไอริน เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2554เป็นพายุที่สร้างความเสียหายมากต่อหลาย ประเทศในเขตแคริบเบียน เช่น ประเทศเปอร์โตริโก หมู่เกาะบาฮามาส และบริเวณภาคตะวันออกของประเทศ สหรัฐอเมริกา ประเมินความเสียหายเบื้องต้นเป็นมูลค่า 3100 ล้านเหรียญสหรัฐ พายุใต้ฝุ่น เกิดขึ้นเมื่อ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2554 เป็นพายุที่ก่อให้เกิดฝนตกหนักจนทา ให้แม่น้า ล้นตลิ่ง และเกิดดินถล่มบริเวณชายฝั่งบนเกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ส่งผลทา ให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 1200 สร้างความเสียหายมากกว่า23ล้านเหรียญสหรัฐ ส่วนวาตภัยครั้งร้ายแรงที่เกิดขึ้นในประเทศไทยเช่น พายุใต้ฝุ่น “เกย์” ที่พัดเข้าสู่จังหวัดชุมพร เมื่อ พ.ศ. 2532 พายุไต้ฝุ่น “ลินดา” ที่พัดเข้าสู่ทางภาคใต้ของไทย เมื่อ พ.ศ. 2540 พายุโซนร้อน “ไหหมา” “นกเตน” “ไหทาง” “เนสาด” และ “นาลแก” พายุทั้งห้าลูก พัดเข้าสู่ประเทศ ไทยตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 นับเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทา ให้เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ในประเทศ ไทย
  • 48. 3. ผลกระทบที่เกิดจากวาตภัย ในทะเล มีลมพัด คลื่นใหญ่ เรือขนาดใหญ่อาจถูกพัดพาไปเกยฝั่ง หรือชนหินโสโครกทา ให้จมมิด เรือทุกชนิดควรงดออกจากฝั่ง หลีกเหลี่ ยงการเดินทางเข้าศูนย์กลางพายุมีคลื่นใหญ่ซัดฝั่งทา ให้ระดับน้า สูงท่วม อาคารบ้านเรือนบริเวณริมฝั่งทะเล พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้า ชายฝั่ง ลมอาจ กวาดสิ่งก่อสร้างที่ไม่เข้มแข็งแรงลงทะเลได้ เรือประมงบริเวณชายฝั่งจะ ถูกทา ลาย
  • 49. บนบก ต้นไม้ถอนรากถอนโคน ต้นไม้ทับบ้านเรือนพัง เรือกสวนไร่นา เสียหายหนักมาก บ้านเรือนที่ไม่แข็งแรงไม่สามารถต้านความรุนแรงของลม พัดได้พังระเนระนาด หลังคาบ้านที่ทา ด้วยสังกะสีจะถูกพัดเปิดคนจน กระเบื้องหลังคาปลิวว่อน เป็นอันตรายต่อผู้ที่อยู่ในโล่งแจ้ง เสาไฟฟ้า และเสา โทรศัพท์ล้ม สายไฟขาด ไฟฟ้าลัดวงจร เกิดเพลิงไหม้ผู้คนเสียชีวิตจากไฟฟ้า ดูดได้ ผู้ที่พักยู่อาศัยอยู่ริมทะเลถูกคลื่นวัดท่วมบ้านเรือนและกวาดลงทะเล ผู้คนอาจจมน้า ตายในใต้ทะเล ฝนตกหนักมากทั้งวันทั้งคืน เกิดอุทกภัยตาม น้า ป่าจากภูเขาไหลหลากลงมาอย่างรุนแรง ท่วมบ้านเรือน ถนน และ เรือกสวนไร่นา เส้นทางคมนาคมทางรถไฟ สะพาน และถนนถูกตัดขาด
  • 50. 1.8 ไฟป่า ไฟป่า(Wild Fire) คือ ไฟที่เกิดขึ้นแล้วลุกลามไปได้โดยปราศจาก การควบคุมไฟป่าอาจเกิดขึ้นจากสาเหตุธรรมชาติ หรืออาจเกิดจากการ กระทา ของมนุษย์ แล้วส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการดา รงชีวิต ของมนุษย์
  • 51. 1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดไฟป่า 1. เกิดจากธรรมชาติ ไฟป่าที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติเกิดขึ้นจาก หลายสาเหตุ เช่นฟ้าผ่า กิ่งไม้เสียดสีกัน ภูเขาไฟระเบิด ก้อนหินกระทบ กัน แสงแดดตกกระทบผลึกหิน แสงแดดส่องผ่านหยดน้า ปฏิกริยาเคมี ในดินป่าพรุ การลุกไหม้ในตัวเองของสิ่งมีชีวิต (Spontaneous Combustion) แต่สาเหตุที่สา คัญ คือ 1.1 ฟ้าผ่า เป็นสาเหตุสา คัญของการเกิดไฟป่าในเขตอบอุ่น ใน ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศแคนาดา พบว่ากว่าครึ่งหนึ่งของไฟ ป่าที่เกิดขึ้นมีสาเหตุมาจากฟ้าผ่า
  • 53. 2. สาเหตุจากมนุษย์ 1) เก็บหาของป่า เป็นสาเหตุที่ทา ให้เกิดไฟป่ามากที่สุด การเก็บหาของ ป่าส่วนใหญ่ได้แก่ ไข่มดแดง เห็ด ใบตองตึง ไม้ไผ่ น้า ผึ้ง ผักหวาน และไม้ ฟืน การจุดไฟส่วนใหญ่เพื่อให้พื้นป่าโล่ง เดินสะดวก หรือให้แสงสว่างใน ระหว่างการเดินทางผ่านป่าในเวลากลางคืน หรือจุดเพื่อกระตุ้นการงอกของ เห็ด หรือกระตุ้นการแตกใบใหม่ของผักหวานและใบตองตึง หรือจุดเพื่อไล่ ตัวมดแดงออกจากรัง รมควันไล่ผึ้ง หรือไล่แมลงต่างๆ ในขณะที่อยู่ในป่า 2) เผาไร่เป็นสาเหตุที่สา คัญรองลงมา การเผาไร่ก็เพื่อกา จัดวัชพืชหรือเศษ ซากพืชที่เหลืออยู่ภายหลังการเก็บเกี่ยว ทั้งนี้เพื่อเตรียมพื้นที่เพาะปลูกในรอบ ต่อไป ทั้งนี้โดยปราศจากการทา แนวกันไฟและปราศจากการควบคุม ไฟจึง ลามเข้าป่าที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง 3) แกล้งจุดไฟเผาป่า ในกรณีที่ประชาชนในพื้นที่มีปัญหาความขัดแย้ง กับหน่วยงานของรัฐในพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเรื่องที่ทา กินหรือถูก จับกุมจากการกระทา ผิดในเรื่องป่าไม้ ก็มักจะหาทางแก้แค้นเจ้าหน้าที่ด้วย การเผาป่า
  • 54. 4) ความประมาท เกิดจากการเข้าไปพักแรมในป่า ก่อกองไฟแล้ว ลืมดับ หรือทิ้งก้นบุหรี่ลงบนพื้นป่า เป็นต้น 5) ล่าสัตว์โดยใช้วิธีไล่เหล่า คือจุดไฟไล่ให้สัตว์หนีออกจากที่ซ่อน หรือจุดไฟเพื่อให้แมลงบินหนีไฟ นกชนิดต่างๆ จะบินมากินแมลง แล้ว ดักยิงนกอีกทอดหนึ่ง หรือจุดไฟเผาทุ่งหญ้า เพื่อให้หญ้าใหม่แตกระบัด ล่อให้สัตว์ชนิดต่างๆ เช่น กระทิง กวาง กระต่าย มากินหญ้า แล้วดักรอ ยิงสัตว์นั้นๆ
  • 55. 2) สถานการณ์การเกิดไฟป่า การสารวจความเสียหายจากไฟป่า มีขึ้นครั้งแรกในปี 2514 เมื่อ Mr. J.C.Macleodผู้เชี่ยวชาญไฟป่าจากประเทศแคนาดา ได้เข้ามาศึกษาวิเคราะห์ สถานการณ์ไฟป่าในประเทศไทย และได้ประเมินว่า มีไฟไหม้ป่าในประเทศไทย ประมาณปีละ 117 ล้านไร่ โดยส่วนใหญ่เกิดในภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ต่อมา ในระหว่างปี 2527-2529 กรมป่าไม้ได้ใช้เครื่องบินสา รวจพื้นที่ป่าที่ถูก ไฟไหม้ทั่วประเทศ พบว่ามีพื้นที่ป่าที่ถูกไฟไหม้ถึงปีละ 19.48 ล้านไร่ หรือคิดเป็น 20.92 % ของพื้นที่ป่าทั่วประเทศ (ตารางที่ 2.1) ในปี 2535 ได้มีการสา รวจทาง อากาศอีกครั้งหนึ่ง พบว่ามีพื้นที่ป่าถูกไฟไหม้ 12.13 ล้านไร่ หรือคิดเป็น 14.85 % ของพื้นที่ป่าทั่วประเทศ
  • 56.
  • 57.
  • 58.
  • 59. 2.1 ภาวะโลกร้อน ภาวะโลกร้อน (Global Warming) คือภาวะที่บรรยากาศของโลกมี อุณหภูมิโดยเฉลี่ยสูงขึ้นซึ่งเป็นสาเหตุทา ให้ภูมิอากาศของโลก เปลี่ยนแปลง ภาวะโลกร้อนอาจนา ไปสู่การเปลี่ยนแปลงของปริมาณ น้า ฝน ระดับน้า ทะเล และส่งผลกระทบต่อพืช สัตว์ และมนุษย์อย่างมาก
  • 60. 1. ปัจจัยทที่า ให้เกิดภาวะโลกร้อน ปัจจัยสา คัญที่ทา ให้อุณหภูมิของโลก สูงขึ้นคือ “ปรากฏการณ์เรือนกระจก” (Greenhouse Effect) ซึ่งเกิดจากการที่ ที่มนุษย์ได้ปล่อยแก๊สเรือนกระจกออกสู่บรรยากาศในปริมาณมาก ได้แก่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สมีเทน แก๊สไนตรัสออกไซด์ และสารประกอบ คลอโรฟลูออโรคาร์บอน จากการทา กิจกรรมต่างๆ เช่น การทา การเกษตร อุตสาหกรรม การคมนาคมขนส่ง การตัดไม้ทา ลายป่า เป็นต้น แก๊สเรือน กระจกจะกักเก็บความร้อนที่แผ่ออกมาจากดวงอาทิตย์และสะท้อนคลื่นความ ร้อนมาสู่พื้นโลก จนทา ให้เกิดภาวะโลกร้อนขึ้น
  • 61. 2) สถานการณ์การเกิดภาวะโลกร้อน หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า โลกร้อนขึ้น คือ ปริมาณน้า แข็งและหิมะในปัจจุบันบริเวณขั้วโลกและ บนเทือกเขาสูง เช่น เทือกเขาหิมาลัยในทวีปเอเชีย เทือกเขาคิลิมันจาโร ในทวีปแอฟริกา มีปริมาณน้า แข็งและหิมะลดลงอย่างเห็นได้ชัดเมื่อ เทียบกับอดีต สาหรับประเทศไทยได้รับผลกระทบจากภาวะโลกร้อน คือ อุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้นส่งผลให้เกิดภัยพิบัติจากน้า ท่วม ภัยแล้ง ดิน ถล่มบ่อยครั้ง และทวีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจและ ความมั่นคงของประเทศ
  • 62. 3) ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน 1. เกิดพายุหมุนบ่อยขึ้น และ มีความรุนแรงมากขึ้น 2. ปัญหาฝนแล้งและไฟป่า อุณหภูมิของอากาศที่สูงขึ้น ทา ให้ปริมาณน้า และ ความชุ่มชื้นระเหยไปอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ฝนแล้งยังทา ให้เกิดไฟป่าขึ้นได้ง่าย 3. ระดับน้า ทะเลสูงขึ้น เป็นผลมาจากการขยายตัวของน้า ทะเลเนื่องจากอุณหภูมิ น้า สูงขึ้น และธารน้า แข็งที่ขั้วโลกละลายเร็วกว่าปกติ การละลายของธารน้า แข็งจะทา ให้ระดับน้า ทะเลสูงขึ้นท่วมพื้นที่ชายฝั่งทะเล 4. ปัญหาชายฝั่งทะเลถูกกัดเซาะ เป็นปัญหาสืบเนื่องมาจากการที่ระดับน้า ทะเล สูงขึ้น เพราะปริมาณน้า จะไปกัดเซาะชายฝั่งทะเลให้พังทลายมากขึ้นกว่าเดิม
  • 63. 4) การระวังภัยจากภาวะโลกร้อน 1. ลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติก เพราะถุงพลาสติกไม่สามารถย่อยสลายเองได้ตาม ธรรมชาติ ต้องกา จัดโดยการเผาในเตาเผาขยะ ซึ่งทา ให้มีแก๊สเรือนกระจกเพิ่มขึ้นใน บรรยากาศ 2. แยกขยะอินทรีย์ เช่น เศษผัก เศษอาหาร ออกจากขยะอื่นๆ ที่สามารถนา ไปใช้ให้ เกิดประโยชน์ใหม่ได้ เป็นการป้องกันการปล่อยแก๊สมีเทนสู่บรรยากาศ 3. ใช้รถส่วนตัวให้น้อยลง หันไปใช้จักรยาน ใช้บริการรถโดยสารประจา ทาง หรือ ใช้การเดิน เมื่อต้องไปทา กิจกรรมหรือธุระใกล้บ้าน 4. ประหยัดการใช้พลังงานไฟฟ้า ด้วยการปิดโทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ เครื่องเสียง และเครื่องไฟฟ้าอื่นๆ เมื่อไม่ได้ใช้งาน 5. สนับสนุนสินค้าและผลิตผลจากการเกษตรกรในท้องถิ่น ช่วยให้เกษตรกรใน พื้นที่ไม่ต้องขนส่งผลิตผลให้พ่อค้าคนกลางนา ไปขายในพื้นที่ไกลๆ
  • 64. 2.2 การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Climate Change) คือ การที่อุณหภูมิของ โลกค่อยๆเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อย อันเนื่องมาจาก 2 ปัจจัยสา คัญ ได้แก่ ปัจจัยทางธรรมชาติ และปัจจัยจากกาเปลี่ยนแปลงปริมาณและความ เข้มข้นของแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศ