SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
พ.ท.หญิง อารีย์วรรณ สุทธิพงศ์พันธ์
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์
(Elasticity of Demand : Ed)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ คือ ปริมาณการตอบสนองของความต้องการซื้อของ
ผู้ซื้อเมื่อปัจจัยที่เกี่ยวข้องเปลี่ยนไป
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ = % การเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อสินค้า
% การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
ตั๋วรถเมล์ราคา 2 รูปี
คนใช้เยอะมาก
ตั๋วรถเมล์ราคา 10 รูปี
คนใช้น้อยเพราะแพงไป
ตั๋วรถเมล์ขึ้นราคา
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ คือ ปริมาณการตอบสนองของความต้องการสินค้าและ
บริการของผู้บริโภคเมื่อปัจจัยที่เกี่ยวข้อง คือ ................เปลี่ยนไป
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
ค่าใช้ทางด่วน 30 บาท ค่าใช้ทางด่วน 80 บาท
เก็บค่าผ่านทาง
แพงขึ้น
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ คือ ปริมาณการตอบสนองของความต้องการสินค้าและ
บริการของผู้บริโภคเมื่อปัจจัยที่เกี่ยวข้อง คือ ................เปลี่ยนไป
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
มี 3 ชนิด คือ ขึ้นอยู่กับชนิดของปัจจัยที่เปลี่ยนแปลง
1. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (price elasticity of demand :
Ep)
2. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (income elasticity of
demand : Ei)
3. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่นหรือความยืดหยุ่นไขว้ (cross
price elasticity of demand : Ec)
การวัดความยืดหยุ่นมี 2 วิธี
1. Point Elasticity (แบบจุด)
ใช้ในกรณีที่ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลง (∆X) มีการเปลี่ยนแปลงน้อยมากจนยากแก่การวัด
Elasticity = % ∆Q = dQ/Q1 = dQ . X1 หรือ ∆Q x X1
2. Arc Elasticity (แบบช่วง)
ใช้ในกรณีที่ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลง (∆X) มีการเปลี่ยนแปลงมากสังเกตเห็นได้
Elasticity = % ∆Q = dQ/[(Q1+Q2)/2] = dQ . (X1+X2)
หรือ = ∆Q x (X1+X2)
% ∆X dX/X1 dX Q1
% ∆X dX/[(X1+X2)/2] dX (Q1+Q2)
∆X (Q1+Q2)
∆X Q1
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Ep)
(Price Elasticity of Demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Ep) (Price Elasticity of Demand)
Ep คือ เปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อเมื่อราคาสินค้า
เปลี่ยนแปลงไป 1 เปอร์เซ็นต์
Ep = % การเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อ
1. Point Elasticity (แบบจุด)
Ep = (Q2-Q1) . P1
2. Arc Elasticity (แบบช่วง)
Ep = (Q2-Q1) . (P1+P2)
(P2-P1) Q1
(P2-P1) (Q1+Q2)
% การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า
การวัดค่าความยืดหยุ่น
Ex1 ถ้าราคาไอติมเพิ่มขึ้นจากแท่งละ 3 บาท เป็น 5 บาท ปริมาณการซื้อจะ
ลดลงจาก 15 แท่ง เป็น 10 แท่ง จงหา Ep
การวัดค่าความยืดหยุ่น
Ex2 ถ้าราคาไอติมลดลงจากแท่งละ 5 บาท เป็น 3 บาท ปริมาณการซื้อจะ
เพิ่มขึ้นจาก 10 แท่ง เป็น 15 แท่ง จงหา Ep
การวัดค่าความยืดหยุ่น
Ex3 จงคานวณหาค่า Ep ณ จุด A ของทั้ง 2 รูป
Ep(แบบจุด) = -CQ = -OP
OQ BP
Point Elasticity (แบบจุด)
Ep = (Q2-Q1) . P1
(P2-P1) Q1
P
Q Q
P
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ)
A
B
D
ราคา(P)
ปริมาณ (Q)0
240
10
200
Q1 Q2
P1
P28
Slope (-)
Ep ที่ราคาเท่ากับ 10 คือ (-) 1
Ep ที่ราคาเท่ากับ 8 คือ(-) 0.67
Ep เฉลี่ยของช่วงราคาระหว่าง 8 ถึง 10 คือ (-) 0.81
สรุปความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ)
การตีความหมายของอุปสงค์ต่อราคา
 สินค้าที่มีความยืดหยุ่นมาก (|Ed| > 1) ส่วนมากจะเป็ นสินค้าฟุ่ มเฟือย
 สินค้าที่มีความยืดหยุ่นน้อย (|Ed| < 1) ส่วนมากจะเป็ นสินค้าจาเป็ น
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ)
ถ้าอาหารราคาแพงขึ้น 50%
เราจะยังคงทานอาหาร 3 มื้อ/วันไหม?.
Ep>1 หรือ Ep<1
ถ้ากระเป๋ าหลุยส์ราคาแพงขึ้น 50%
เราจะยังคงซื้อมันทั้ง 4 ใบไหม?
Ep>1 หรือ Ep<1
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
1) ผลของการทดแทน คือ ถ้ามีสินค้าอื่นทดแทนได้ง่ายหรือมีมาก จะมี Ep จะ
มาก ดังนั้น ถ้าสินค้าแพงขึ้นเล็กน้อย ผู้บริโภคจะซื้อสินค้าอื่นมาทดแทน
ในทางตรงข้าม ถ้ามีสินค้าอื่นทดแทนได้ยาก Ep จะน้อย ดังนั้นแม้ว่าสินค้าจะ
แพงขึ้นผู้บริโภคก็ยังจาเป็นต้องซื้อ เพราะไม่สามารถซื้อสินค้าอื่นทดแทนได้
ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการทดแทนของสินค้า ได้แก่
- ลักษณะของสินค้า เช่น สินค้าจาเป็น (Ep<1) ทดแทนยาก สินค้าฟุ่ มเฟือย
(Ep>1) ทดแทนง่าย
- ระยะเวลาที่ผ่านไปนับจากเกิดการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า (ระยะเวลาในการ
ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงราคา) ถ้าระยะเวลานาน Ep จะมากขึ้น เนื่องจาก
ช่วยให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคได้มากขึ้น และมีโอกาสหา
สินค้าอื่นมาทดแทน
ปัจจัยที่กาหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
2) มูลค่าสินค้าคิดเป็นสัดส่วนของรายได้
Ep จะมาก ถ้าสัดส่วนค่าใช้จ่ายในสินค้านั้นสูงเมื่อเทียบกับสัดส่วนของรายได้
Ep จะน้อย ถ้าสัดส่วนค่าใช้จ่ายในสินค้านั้นต่าเมื่อเทียบกับสัดส่วนของรายได้
เช่น ค่าเช่าบ้านกับค่าสบู่ สัดส่วนของรายได้ที่จ่ายค่าเช่าบ้านย่อมสูงกว่าค่าสบู่
ดังนั้น เมื่อค่าเช่าบ้าน และ สบู่มีราคาแพงขึ้น 20% อุปสงค์ค่าเช่าบ้านจะมี
ความยืดหยุ่นต่อค่าเช่าบ้านมาก แต่อุปสงค์ของสบู่จะมีความยืดหยุ่นต่อราคา
สบู่น้อย
ปัจจัยที่กาหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
รายรับรวมของผู้ผลิต ( Total Revenue)
= รายจ่ายรวมของผู้บริโภคเสมอถ้าไม่มีการเก็บภาษี
Total Revenue = (ราคา).(ปริมาณสินค้า)
= P.Q
(อย่าลืม ราคาสินค้ากับปริมาณขายจะแปรผกผันกัน
P Q หรือ P Q ) TR
max
Ep>1 ผู้ผลิตควรลดราคาสินค้า
Ep<1 ผู้ผลิตควรขึ้นราคาสินค้า
ผู้ผลิตต้องปรับราคาสินค้าอย่างไรให้รายรับรวมเพิ่มขึ้น?
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
ลูกค้า 5,000 คน/วัน ลูกค้า 50 คน/วัน
ลูกค้า 5,000 คน/วัน ลูกค้า 4,500 คน/วัน
อาหารขึ้นราคาจาก
จานละ 100 บาท เป็น 120 บาท
อาหารขึ้นราคาจาก
จานละ 100 บาท เป็น 120 บาท
Ed = -10.78
Ed = -0.58
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (กรณีศึกษา)
การตั้งราคาข้าวราดเนื้อของร้านแฟรนส์ไชน์อาหารญี่ปุ่น “โยชิโนยะ”
การตั้งราคาข้าวราดเนื้อของร้านแฟรนส์ไชน์อาหารญี่ปุ่น “โยชิโนยะ”
ข้าวราดเนื้อจานละ 250 เยน ข้าวราดเนื้อจานละ 400 เยน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (กรณีศึกษา)
ร้านแฟรนส์ไชน์อาหารญี่ปุ่น “โยชิโนยะ”
การตั้งราคาข้าวราดเนื้อ
•400 บาท/จาน ลูกค้าน้อยมาก
•250 บาท/จาน ลูกค้าต่อคิวจนให้บริการไม่ทัน
•270 และ 280 บาท/จาน มีลูกค้ามากพอๆกัน
•300 บาท/จาน ลูกค้าน้อยกว่าการตั้งราคาที่ 280 บาท/จาน มาก
ข้อควรระวัง !!! ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
1. ความยืดหยุ่น (Elasticity) กับความลาดชัน (Slope) เป็นคนละสิ่งกัน
ราคา(P)
ปริมาณ (Q)0 4
10
20
2
Ed > 1
Ed = 1
Ed < 1
Slope (-)
D
2. เส้นอุปสงค์ที่มีความลาดชันมากอาจมีความยืดหยุ่นมากกว่า
เส้นอุปสงค์ที่มีความลาดชันน้อยกว่าได้
ราคา(P)
ปริมาณ (Q)0 10
5
20
DA
DB
Slope = - 3, Ed = -0.67
Slope = - 2, Ed = -0.25
ข้อควรระวัง !!! ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
ความชันของเส้นอุปสงค์สะท้อนถึงค่าความยืดหยุ่นได้ก็ต่อเมื่อเปรียบเทียบที่ระดับ
ราคาสินค้าและปริมาณการซื้อเดียวกันเท่านั้น(คือ เส้นอุปสงค์ที่มีความชันมากกว่าจะ
มีความยืดหยุ่นน้อยกว่า)
ราคา(P)
ปริมาณ (Q)0 10
10
DA
DB
Slope = - 2, Ed = -0.5
Slope = - 4, Ed = -0.25
ข้อควรระวัง !!! ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
สรุปความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
สรุปชนิดความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
ชนิดความยืดหยุ่น Ep ประเภทสินค้า คาอธิบาย
ยืดหยุ่นมากที่สุด
(perfEitly elastic)
Ep=∞ อาหารบุฟเฟ่ ขนาดราคาคงที่ สาวๆก็ซื้อหมด (ราคาเดียว กิน
เท่าไหร่ก็ได้) Q ตอบสนองต่อ P มากที่สุด
ยืดหยุ่นมาก
(elastic)
Ep>1 สินค้าฟุ่มเฟือย ความชันน้อย สาวๆ พวกนี้อ่อนไหวต่อราคาเอา
มากๆ สาวนักช้อป %∆Q>%∆P
ยืดหยุ่นคงที่
(unitary elastic)
Ep=1 สินค้าปกติ พวกนี้เลือกซื้อแบบอัตราส่วนราคากับปริมาณซื้อ
1:1 ∆Q=%∆P
ยืดหยุ่นน้อย
(inelastic)
Ep<1 สินค้าจาเป็น
พอเพียง
ความชันมาก สาวๆ พวกนี้สมถะ พอกินพอใช้
ราคาลดลงก็ยังซื้อเพิ่มแต่เพิ่มแค่หยิบมือ
%∆Q<%∆P
ไม่ยืดหยุ่นเลย
(perfEitly
inelastic)
Ep=0 สินค้าจาเป็น
มากๆ
ยาเสพติด ยา
พวกนี้เป็นสาวด้านชา ไม่ว่าราคาจะเปลี่ยนเท่าใด
เธอก็ยังคงยืนหยัด ณ จุดเดิมไม่เปลี่ยนแปลง
Q ไม่ตอบสนองต่อ P
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Ei)
(Income Elasticity of Demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้(Ei) (Income Elasticity of Demand)
Ei คือ เปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อเมื่อระดับรายได้เปลี่ยนแปลง
ไป 1 เปอร์เซ็นต์
Ei = % การเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อ
% การเปลี่ยนแปลงระดับรายได้ของผู้ซื้อ
1. Point Elasticity (แบบจุด)
Ei = (Q2-Q1) . Y
2. Arc Elasticity (แบบช่วง)
Ei = (Q2-Q1) . (Y1+Y2)
(Q1+Q2)(Y2-Y1)
(Y2-Y1) Q
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้(Ei)
รายได้ 40,000 บาท/เดือน มีรถ 1 คัน รายได้ 1,000,000 บาท/เดือน มีรถ 6 คัน
รายได้เพิ่ม
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้(Ei)
รายได้ 10,000 บาท/เดือน
มีมอเตอร์ไซค์ 4 คัน
รายได้ 40,000 บาท/เดือน
มีมอเตอร์ไซค์ 1 คัน
รายได้เพิ่มขึ้น เลิกใช้มอเตอร์ไซค์
หันมาใช้รุ่นที่ดีกว่าแทน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้(Ei)
รูปที่1 รูปที่2
Ei > 0 สินค้าปกติ (Normal Goods) Ei < 0 สินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods)
Q0 0
D
D
รูปที่1 ความสัมพันธ์ของอุปสงค์
ต่อรายได้เป็นบวก
Y Y
Q
รูปที่2 ความสัมพันธ์ของอุปสงค์
ต่อรายได้เป็นลบ
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้(Ei)
Ei > 0 สินค้าปกติ (Normal Goods)
รายได้(Y)
จานวนชามก๋วยเตี๋ยวที่ทานในหนึ่งเดือน (Q)0
D
2,000
1,000
10 15
A
B
Ei ณ รายได้ระหว่าง 1,000-2,000 บาท = +0.6
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้(Ei)
Ei < 0 สินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods)
รายได้(Y)
จานวนซองมาม่าที่ทานในหนึ่งเดือน (Q)0
D
Slope (-), Ey < 0
1,000
2,000
20 30
B
A
Ei ณ รายได้ระหว่าง 1,000-2,000 บาท = -0.6
 Ex บริษัทที่ปรึกษาแห่งหนึ่งได้สารวจข้อมูลการตลาดย้อนหลังเมื่อ 2 ปีก่อน พบว่า
ในขณะที่รายได้เฉลี่ยต่อปีของผู้บริโภคเท่ากับ 60,000 บาท ผู้บริโภคซื้อสินค้าของบริษัท
A จานวน 90,000 ชิ้นต่อปี แต่ปลายปีนี้พบว่าขณะที่รายได้เฉลี่ยต่อปีของผู้บริโภค
เท่ากับ 64,000 บาท บริษัท A ขายสินค้าได้ถึง 100,000 ชิ้นต่อปี ถ้าให้ปัจจัยอื่นๆคงที่ เรา
สามารถหา Ei ได้อย่างไร
สรุปชนิดความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
ชนิดความยืดหยุ่น Ei ประเภทสินค้า คาอธิบาย
Ei เป็นบวก Ei>0 สินค้าปกติ
Normal goods
คือ ปริมาณซื้อเปลี่ยนทิศทางเดียวกับรายได้
รายได้เพิ่มขึ้น ก็บริโภคเพิ่มขึ้น / รายได้ลดลง ก็
บริโภคลดลง
income inelastic
คือ ยืดหยุ่นน้อย
0<Ei<1 สินค้าจาเป็น ปริมาณซื้อเปลี่ยนทิศทางเดียวกับรายได้ แต่
%Q < %Y
income elastic
คือ ยืดหยุ่นมาก
Ei>1 สินค้าฟุ่มเฟือย ปริมาณซื้อเปลี่ยนทิศทางเดียวกับรายได้ แต่
%Q > %Y
Ei เป็นลบ Ei<0 สินค้าด้อย
คุณภาพ
Inferior goods
ปริมาณซื้อเปลี่ยนทิศทางตรงข้ามกับรายได้
รายได้เพิ่มขึ้น บริโภคลดลง / รายได้ลดลง ก็
บริโภคเพิ่มขึ้น
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้ หรือ ความยืดหยุ่น
ของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น (Ec)
(Cross Elasticity of Demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้ (Ec) (Cross Elasticity of Demand)
Ec คือ เปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อสินค้าชนิดหนึ่งเมื่อราคา
สินค้าอีกชนิดหนึ่งเปลี่ยนแปลงไป 1 เปอร์เซ็นต์
Ec = % การเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อสินค้าชนิดหนึ่ง
% การเปลี่ยนแปลงระดับราคาสินค้าชนิดอื่น
1. Point Elasticity (แบบจุด)
Ec = (Qx2-Qx1) . Py
2. Arc Elasticity (แบบช่วง)
Ec = (Qx2-Qx1) . (Py1+Py2)
(Py2-Py1) Qx
(Py2-Py1) (Qx1+Qx2)
ตัวอย่าง ปกติถ้าราคาไข่ไก่สูงขึ้น เราก็จะซื้อไข่ไก่ลดลง ตาม law of demand
ถ้าสมมติเราเป็นคนชอบกินไข่ทุกวัน (ไข่ลูกเขย ไข่ยัดไส้ ไข่ดาว ไข่เจียว)
จะทายังไงถ้าราคาไข่ไก่สูงขึ้น คาตอบ คือก็ต้องไปซื้อไข่เป็ดมาแทน ดังนั้น
ถ้าราคาไข่ไก่เพิ่มขึ้น ปริมาณความต้องการซื้อไข่เป็ดก็จะเพิ่มขึ้นตาม
การเปลี่ยนแปลงลักษณะนี้ เรียกว่า สินค้าทดแทนกันได้ (ความสัมพันธ์เป็น บวก :
ทิศทางเดียวกับราคา)
เช่น น้ามันพืช/น้ามันหมู นมวัว/นมแพะ ไข่ไก่/ไข่เป็ด
P ไข่ไก่ Q ไข่ไก่ Q ไข่เป็ด
P ไข่ไก่ Q ไข่ไก่ Q ไข่เป็ด
ตัวอย่าง ถ้าราคา internet เพิ่มขึ้นเป็นนาทีละ 50 บาท คนจะใช้บริการลดลง และใช้แค่
เวลาจาเป็นเท่านั้น (law of demand) ซึ่งทาให้ Facebook Line IG มีคนใช้ลดลงตามไป
ด้วย แต่ถ้าราคา internet ถูกลง คนก็ใช้ Facebook Line IG เพิ่มขึ้น เพราะ social
network ต้องอาศัยสัญญาณ internet เราเรียกสินค้าแบบนี้ว่า สินค้าที่ต้องใช้ประกอบกัน
P internet Q internet Q FB Line IG
P internet Q internet Q FB Line IG
เช่น ขนมปัง/แยม ไฟฉาย/ถ่านไฟฉาย
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้ (Ec)
ถ้าน้ามันลิตรละ 50 บาท
มีรถประจาบ้านแค่ 1 คัน
ถ้าน้ามันลิตรละ 15 บาท
มีรถประจาบ้าน 6 คัน
น้ามันราคาถูก คนจะซื้อรถกันมากขึ้น
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์รถยนต์ต่อราคาน้ามันคือ?
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้ (Ec)
เนื่องจากสินค้ามี 2 ชนิด คือ
1. สินค้าที่ใช้ทดแทนกัน (Ec > 0)
2. สินค้าที่ใช้ประกอบกันกัน (Ec < 0)
Pb
Qa0
Pb
0
D
D
รูปที่1 ความสัมพันธ์ของอุปสงค์
สินค้า a ต่อราคาสินค้า b เป็นบวก
รูปที่2 ความสัมพันธ์ของอุปสงค์
สินค้า a ต่อราคาสินค้า b เป็นลบ
Qa
สินค้าที่ใช้
ทดแทนกัน
สินค้าที่ใช้ประกอบกัน
Ec > 0
Ec < 0
คานวณความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้ (Ec)
1. เมื่อราคา LPG เพิ่มขึ้นจากลิตรละ10 บาท เป็น 15 บาท ทาให้คนใช้ LPG ลดลง แต่หันไป
ใช้น้ามันมากขึ้น จาก 50 ลิตร เป็น 70 ลิตร ให้หาค่า Ec ของน้ามัน ณ ราคา LPG ระหว่าง
10-15 บาท
ราคา LPG
ปริมาณน้ามัน
0
Dน้ามัน
Slope (+), Ec > 0
10
15
M
N
50 70
Ec ของน้ามัน ณ ราคา LPG ระหว่าง 10-15 บาท = 0.83
สินค้าที่ใช้ทดแทนกัน (Ec >0)
คานวณความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้ (Ec)
2. เมื่อราคาน้ามันเพิ่มขึ้นจากลิตรละ 10 บาท เป็น 15 บาท ทาให้คนใช้รถลดลงจาก 80 คัน
เป็น 60 คัน ให้หาค่า Ec ของปริมาณการใช้รถ ณ ราคาน้ามัน ระหว่าง 10-15 บาท
ราคาน้ามัน
ปริมาณการใช้รถ0
Dการใช้รถ
Slope (-),Ei < 0
60 80
10
15 M
N
Ec ของการใช้รถ ณ ราคาน้ามัน ระหว่าง 10-15 บาท = -0.71
สินค้าที่ใช้ประกอบกัน (Ec<0)
สรุปชนิดความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น
ชนิดความยืดหยุ่น Ec ประเภทสินค้า คาอธิบาย
Ec เป็นบวก Ec =∞ สินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้
อย่างสมบูรณ์
(perfectly substitute)
ถ้าราคาสินค้าชนิดอื่นเพิ่มเพียงเล็กน้อยจะ
ทาให้ปริมาณซื้อของสินค้าชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น
เป็นอนันต์ทิศทางเดียวกัน
Ec เป็นบวก 0<Ec<∞ สินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้
(substitute)
ปริมาณซื้อสินค้าชนิดหนึ่งจะเปลี่ยนแปลง
ไปในทิศทางเดียวกับราคาสินค้าชนิดอื่น
Ec เป็นศูนย์ Ec =0 สินค้าที่เป็นอิสระต่อกัน
(independence)
ปริมาณซื้อสินค้าชนิดหนึ่งจะไม่
เปลี่ยนแปลงไปตามราคาสินค้าชนิดอื่น
Ec เป็นลบ Ec <0 สินค้าที่ใช้ประกอบกัน
(complement)
ปริมาณซื้อเปลี่ยนทิศทางตรงข้ามกับราคา
สินค้าชนิดอื่น
Quiz ???
 Ex บริษัทแห่งหนึ่งเป็นผู้ผลิตไม้เทนนิสและลูกเทนนิส พบว่า เมื่อเขาตั้งราคาขายไม้
เทนนิส ราคาด้ามละ7,000 บาท เขาขายลูกเทนนิสได้จานวน 35,000 ลูกต่อเดือน แต่เมื่อ
บริษัทขึ้นราคาขายไม้เทนนิสเป็นราคาด้ามละ 8,000 บาท ยอดขายลูกเทนนิสของบริษัท
ลดลงเหลือ 25,000 ลูกต่อเดือน โดยที่ปัจจัยอื่นๆที่มีอิทธิพลต่อยอดขายของลูกเทนนิส
ยังคงที่ บริษัทจึงคิดว่าราคาไม้เทนนิสมีความสัมพันธ์กับยอดขายลูกเทนนิสของบริษัท จง
คานวณหาความยืดหยุ่นของอุปสงค์ที่ผู้บริโภคมีต่อลูกเทนนิสต่อราคาไม้เทนนิส

More Related Content

What's hot

Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตPattapong Promchai
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังOrnkapat Bualom
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนOrnkapat Bualom
 
Elasticity
ElasticityElasticity
Elasticitybnongluk
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคtumetr1
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินOrnkapat Bualom
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์Teetut Tresirichod
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติOrnkapat Bualom
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...VolunteerCharmSchool
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์Orawonya Wbac
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลOrnkapat Bualom
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpsskaew393
 

What's hot (20)

Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
Elasticity
ElasticityElasticity
Elasticity
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 
Marketing plan
Marketing planMarketing plan
Marketing plan
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)

Editor's Notes

  1. มนุษย์เรามีความอ่อนไหว? ทนต่อคำนินทา แพ้แดด แพ้ฝุ่น แพ้สาวสวย เหมือนกับ demand และ supply ก็เหมือนกัน Demand คือ? ความต้องการซื้อ (อุปสงค์) หรือคือผู้หญิงนั่นเอง she อ่อนไหวกับราคาเป็นอย่างมาก แต่ทาง ศศ.เค้าไม่เรียกความอ่อนไหวของอุปสงค์ แต่เค้าเรียกว่า ความยืดหยุ่นของอุปสงค์
  2. ความยืดหยุ่น คือ การวัดการตอบสนองของตัวแปรหนึ่งกับอีกตัวแปรหนึ่ง ดังนั้นเราสามารถวัดเป็นสัดส่วนหรือเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงในปริมาณสินค้า ซึ่งมีความสัมพันธ์กับราคา หรือกับปัจจัยอื่น (รายได้ หรือ ราคาสินค้าชนิดอื่น)
  3. (ราคาตั๋วรถเมล์)
  4. (ค่าผ่านทาง)
  5. ∆Q (dQ) คือ Q2-Q1 ∆X (dX) คือ X2-X1 % คือ x100 ถ้า Ed ออกมาเป็นลบ (ทิศทาง) แสดงว่าเกิดการแปรผกผันกัน Ed ต่อปัจจัยมากหรือน้อย (ขนาด) จะใช้ค่าสัมบูรณ์ (ไม่คำนึงถึงเครื่องหมาย)
  6. Ep = -0.80 หมายความว่า ถ้าราคาไอติมเปลี่ยนแปลงไป 1% จะมีผลทำให้ปริมาณการซื้อไอติมเปลี่ยนแปลงไปในทางตรงข้าม เท่ากับ 0.80% เช่น ถ้าราคาแพงขึ้น 1% ปริมาณซื้อจะลดลง 0.80% ในทางกลับกัน ถ้าราคาถูกลง 1% ปริมาณซื้อจะเพิ่มขึ้น 0.80%
  7. Ep = -0.80 เท่ากัน แสดงให้เห็นว่า ค่า Ep จะมีค่าเป็นลบ (-) เสมอ ทั้งนี้เนื่องจากเป็นไปตามกฎของอุปสงค์ (ปริมาณซื้อจะแปรผกผันกับราคาสินค้า) เครื่องหมายลบ จึงเป็นเพียงการแสดงทิศทางระหว่างปริมาณซื้อกับราคาเท่านั้น ดังนั้นเวลาพิจารณา Ep จึงพิจารณาเฉพาะ Ep ซึ่งเป็นค่า Ep ที่ไม่คิดเครื่องหมาย
  8. Ep = -0.80 เท่ากัน แสดงให้เห็นว่า ค่า Ep จะมีค่าเป็นลบ (-) เสมอ ทั้งนี้เนื่องจากเป็นไปตามกฎของอุปสงค์ (ปริมาณซื้อจะแปรผกผันกับราคาสินค้า) เครื่องหมายลบ จึงเป็นเพียงการแสดงทิศทางระหว่างปริมาณซื้อกับราคาเท่านั้น ดังนั้นเวลาพิจารณา Ep จึงพิจารณาเฉพาะ Ep ซึ่งเป็นค่า Ep ที่ไม่คิดเครื่องหมาย
  9. Ep = -1 เท่ากัน แสดงให้เห็นว่า ค่า Ep จะมีค่าเป็นลบ (-) เสมอ ทั้งนี้เนื่องจากเป็นไปตามกฎของอุปสงค์ (ปริมาณซื้อจะแปรผกผันกับราคาสินค้า) ในกรณีเส้นอุปสงค์เป็นเส้นตรง และราคามีการเปลี่ยนแปลงน้อยมาก ค่า Ep ที่คำนวณได้ทั้งกรณีสินค้าแพงขึ้น และสินค้าถูกลงย่อมมีค่าเท่ากัน
  10. Ep ยิ่งมาก แปลว่า เห็นราคาแล้วอยากซื้อมากๆ Ep ยิ่งน้อย แปลว่า เห็นราคาแล้วอยากซื้อแค่นิดเดียว
  11. (E) Ep=∞ ขนาดราคาคงที่ สาวๆก็ซื้อหมด มีเท่าไหร่เจ๊เหมาหมด หรือ อาหารบุฟเฟ่ (ราคาเดียว กินเท่าไหร่ก็ได้) (B) Ep>1 ความชันน้อย สาวๆ พวกนี้อ่อนไหวต่อราคาเอามากๆ เห็นป้าย sale องค์ลง ฉันต้องซื้อเสื้อชุดนี้ให้ได้ เล็งมานานแล้ว หรือ ถ้าไม่ได้กระเป๋าใบนี้กลับบ้านนอนไม่หลับ พวกนี้สติไม่ค่อยมี สาวนักช้อป ฟุ่มเฟือย Ep=1 พวกนี้เลือกซื้อแบบอัตราส่วนราคากับปริมาณซื้อ 1:1 เช่น ถ้าราคาลดลง 10% ก็จะซื้อเพิ่มขี้น 10% , ถ้าราคาเพิ่มขึ้น 5% ก็จะซื้อลดลง 5% (C) Ep<1 ความชันมาก สาวๆ พวกนี้สมถะ พอกินพอใช้ ช้อปแต่ของจำเป็น เช่น น้ำหอมไม่ใช้ ใช้น้ำอบแทน , ห้างไม่เดิน เดินตลาดนัด ราคาลดลงก็ยังซื้อเพิ่มแต่เพิ่มแค่หยิบมือ เช่น ค่าอาหารลดลง 5% หล่อนกินเพิ่มแค่ 1% , ค่าไฟฟ้าลดลง 10% เธอใช้เพิ่มแค่ 2% (พอเพียง) ราคามีอิทธิพลต่อปริมาณซื้อน้อย ถ้าอยากให้พวกนี้ซื้อเพิ่มมากขึ้นต้องลดราคาลงมากๆ (D) Ep=0 พวกนี้เป็นสาวด้านชา ไม่ว่าราคาจะเปลี่ยนเท่าใดเธอก็ยังคงยืนหยัด ณ จุดเดิมไม่เปลี่ยนแปลง สินค้าเป็นสิ่งที่จำเป็นมากๆ เช่น ยาเสพติด ยารักษาโรค สินค้าพวกนี้ราคาสูงและไม่เคยลดราคา
  12. เราสามารถจัดกลุ่มอุปสงค์ต่อราคาได้เป็น 5 กลุ่มคือ อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นมาก (|Ed| > 1) Elastic (ยืดหยุ่นมาก หรือ พวกบ้าช้อป) สินค้าฟุ่มเฟือย %∆Q>%∆P อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นน้อย (|Ed| < 1) Inelastic (ยืดหยุ่นน้อย หรือ พอเพียง) สินค้าจำเป็น %∆Q<%∆P อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับ หนึ่ง (|Ed| = 1) ยืดหยุ่นคงที่ %∆Q=%∆P อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นอินฟินิตี้ (|Ed| =∞) ยืดหยุ่นมากที่สุด หรือ พวกชอบบุฟเฟ่ Q ตอบสนองต่อ P มากที่สุด อุปสงค์ไม่มีความยืดหยุ่น (|Ed| = 0) ไม่ยืดหยุ่นเลยสาว หรือ สาวไร้อารมณ์ Q ไม่ตอบสนองต่อ P
  13. กระเพราไข่ดาว สินค้าจำเป็น Ep<1 กระเป๋าหลุย สินค้าฟุ่มเฟือย Ep>1
  14. เส้นอุปสงค์ที่มี Ep เท่ากันทุกจุด - เส้นอุปสงค์ตั้งฉากกับแกนนอน Ep=0 คือ Q ไม่เปลี่ยนแปลงตาม P แม้ว่าราคาจะสูงขึ้นมาก (เชื่อว่าในโลกนี้ไม่มีที่ราคาจะเพิ่มเป็นอนันต์ได้) - เส้นอุปสงค์เว้าเข้าหาจุดกำเนิด และสมมาตรทั้ง 2 แกน กล่าวคื่อ พ.ท.สี่เหลี่ยมใต้เส้นโค้งเท่ากันทุกจุด PxQ เท่าเดิม (Total Revenue เท่าเดิม) ราคาแพงขึ้น ก็ซื้อน้อยลง / ราคาลดลง ก็ซื้อเพิ่มขึ้น เส้นโค้งนี้มี Ep คงที่ Ep=1 เนื่องจากผู้บริโภคจะคงรายจ่ายเท่าเดิมไว้ตลอดไม่ว่าราคาจะเปลี่ยนเท่าใด - เส้นอุปสงค์ขนาดกับแกนนอน Ep=∞ คือมีความยืดหยุ่นมากที่สุด คือ ผู้ซื้อยินดีจะซื้อสินค้า ณ ราคาใดราคาหนึ่งเท่านั้น ดังนั้นผู้ขายในตลาดนี้จึงไม่สามารถตั้ง ราคาสินค้าแพงกว่าราคานี้ได้ เพราะถ้าแพงกว่านี้ไม่ซื้อเลย
  15. Ep > 1 ราคาถูกลง จะทำให้ TR มากขึ้น ราคาแพงขึ้น จะทำให้ TR ลดลง EP =1 ราคาถูกลง จำทำให้ TR คงที่ ราคาแพงขึ้น จะทำให้ TR คงที่ (คงที่) TR จะสูงที่สุด Ep < 1 ราคาถูกลง จะทำให้ TR ลดลง ราคาแพงขึ้น จะทำให้ TR เพิ่มขึ้น
  16. รายได้ คือปัจจัยหนึ่งที่ทำให้คนซื้อสินค้ามากหรือน้อย โดยปกติแล้วเมื่อรายได้เพิ่มขึ้น ย่อมต้องการซื้อสินค้าเพิ่มขึ้น/ ถ้าคนมีรายได้ลดลงก็ซื้อน้อยลงด้วย (สินค้าปกติ) แต่ก็มีสินค้าที่ปลายเดือนเงินหมด คงต้องกินมาม่าเพิ่มแล้วเรา เมื่อรายได้ลดสินค้าพวกนี้กลับมีความต้องการเพิ่ม แต่พอรายได้เพิ่มกลับรังเกียจไม่อยากซื้อแล้ว สินค้าประเภทนี้ คือ สินค้าด้อยคุณภาพ (ไม่ได้หมายความว่าไม่ดี หรือไม่มีคุณภาพ) ** แต่สินค้าบางอย่างเป็นสินค้าปกติของอีกคน แต่กลับเป็นสินค้าด้อยคุณภาพของอีกคนก็ได้ เช่น ข้าวแกง**
  17. เป็นการวัดการตอบสนองของปริมาณซื้อต่อการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค (กำหนดให้ปัจจัยอื่นที่กำหนดอุปสงค์คงที่ : ราคา อายุ รสนิยม ฤดูกาล/เทศกาล การโฆษณา/ประชาสัมพันธ์)
  18. Ei เป็นบวก คือ ปริมาณซื้อเปลี่ยนทิศทางเดียวกับรายได้ รายได้เพิ่มขึ้น ก็บริโภคเพิ่มขึ้น / รายได้ลดลง ก็บริโภคลดลง (Ei>0) 0<Ei<1 income inelastic คือ ยืดหยุ่นน้อย ปริมาณซื้อเปลี่ยนทิศทางเดียวกับรายได้ แต่ %Q < %Y (สินค้าจำเป็น) Ei>1 income elastic คือ ยืดหยุ่นมาก ปริมาณซื้อเปลี่ยนทิศทางเดียวกับรายได้ แต่ %Q > %Y (สินค้าฟุ่มเฟือย)
  19. Ei เป็นลบ คือ ปริมาณซื้อเปลี่ยนทิศทางตรงข้ามกับรายได้ รายได้เพิ่มขึ้น บริโภคลดลง / รายได้ลดลง ก็บริโภคเพิ่มขึ้น (Ei<0)
  20. เป็นบวก เพราะรายได้เพิ่ม ซื้อเพิ่ม 1.63 คือ ถ้ารายได้ของผู้บริโภคเปลี่ยนไป 1% จะทำให้อุปสงค์ต่อสินค้าบริษัท A เปลี่ยนไป 1.63% ในทิศทางเดียวกัน แสดงว่าเป็น สินค้าฟุ่มเฟือย
  21. สินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้ เมื่อราคาสินค้า y เปลี่ยนไป จะทำให้ปริมาณซื้อสินค้า X เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกัน (Ec > 0) ค่ายิ่งมาก แสดงว่า ปริมาณการซื้อสินค้า X กับราคาสินค้า Y มีความสัมพันธ์กันมาก การเปลี่ยนแปลงราคาของ Y แต่เพียงเล็กน้อย มีผลทำให้ปริมาณสินค้า X เปลี่ยนไปอย่างมาก ค่ายิ่งต่ำ แสดงว่า ปริมาณการซื้อสินค้า X กับราคาสินค้า Y มีความสัมพันธ์กันน้อย การเปลี่ยนแปลงราคาของ Y ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง สินค้า X แต่เพียงเล็กน้อย
  22. สินค้าที่ใช้ประกอบกัน เมื่อราคาสินค้า y เปลี่ยนไป จะทำให้ปริมาณซื้อสินค้า X เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางตรงข้ามกัน
  23. สินค้าที่ใช้ประกอบกัน
  24. รูปที่ 1 ราคาสินค้า b เพิ่มขี้น ซื้อ b ลดลง แต่หันไปใช้ a ทดแทนเพิ่มขึ้น (+) รูปที่ 2 ราคาสินค้า b เพิ่มขึ้น ซื้อ b ลดลง ใช้ a ลดลงด้วย (-)
  25. รูปที่ 1 ราคาสินค้า b เพิ่มขี้น ซื้อ b ลดลง แต่หันไปใช้ a ทดแทนเพิ่มขึ้น (+) สินค้าที่ใช้ทดแทนกัน (Ec>0)
  26. Ec มีประโยชน์ต่อธุรกิจในการวิเคราะห์ว่า มีสินค้าใดบ้างที่เป็นคู่แข่งของธุรกิจ หากค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์สินค้าของธุรกิจต่อราคาสินค้าชนิดอื่น มีค่าเป็นบวกและมีค่าสูง แสดงว่าสินค้าชนิดอื่นสามารถใช้ทดแทนสินค้าของธุรกิจได้มาก และสินค้าชนิดดังกล่าวย่อมจะเป็นคู่แข่งที่สำคัญของธุรกิจ
  27. เป็นลบ เพราะราคาไม้เทนนิสเพิ่ม ปริมาณลูกเทนนิสที่ขายได้ลดลง 2.5 คือ ถ้าราคาไม้เทนนิสเปลี่ยนไป 1% จะทำให้อุปสงค์ลูกเทนนิสเปลี่ยนไป 2.5% ในทิศทางตรงข้าม แสดงว่าเป็น สินค้าที่ใช้ประกอบกัน