SlideShare a Scribd company logo
เอกเทศสัญญา หมายถึง สัญญาชนิดหนึ่งที่มีชื่อ ซึ่งประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ ๓ ได้กาหนดหลักเกณฑ์และ
รายละเอียดของสัญญาเอาไว้เอกเทศสัญญามีทั้งหมด ๒๒
ประเภท ดังนี้
ข้อความเบื้องต้น
สัญญาซื้อขาย
๑.๑ ความหมายของสัญญาซื้อขาย
สัญญาซื้อขาย หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลฝ่ายหนึ่งเรียกว่า “ ผู้ขาย ” โอน
กรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สินให้แก่บุคลอีกฝ่ายหนึ่งเรียกว่า “ ผู้ซื้อ ” และผู้ตกลงว่า
จะใช้ราคาทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้ขาย
ผู้ซื้อ ผู้ขาย
ผู้ขาย =โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์
ผู้ซื้อ = ตกลงราคาชาระ
1. เป็นสัญญาต่างตอบแทน
2. เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการโอน
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
3. เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการชาระราคา
เพื่อตอบแทนการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
4. เป็นสัญญาที่มีวัตถุของสัญญาเป็นทรัพย์สิน
ลักษณะของสัญญาซื้อขาย
สัญญาขายมีลักษณะดังต่อไปนี้
เป็นสัญญาต่างตอบแทน
เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการชาระราคาเพื่อตอบแทนในการโอนกรรมสิทธิ์
ทรัพย์สิน
เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ของสัญญาเป็นทรัพย์สิน
แบบของสัญญาซื้อขาย
โดยทั่วไปแล้วสัญญาซื้อขายจะตกลงกัน
ด้วยวิธีใดก็ได้เช่น ด้วยวาจา ทางโทรศัพท์
หรือตกลงกันเป็นหนังสือเป็นต้น และสัญญา
นั้นจะมีผลสมบูรณ์บังคับแก่กันทันที
การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขาย
โดยทั่วไปกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขายย่อมโอนจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อ ทันทีที่สัญญา
เกิด อย่างไรก็ตามมีข้อยกเว้นอยู่ 4 ประการ ดังนี้
1.สัญญาซื้อขายอยู่ภายใต้เงื่อนไขบังคับก่อนหรือเงื่อนไขเวลาเริ่มต้น
2.สัญญาซื้อขายสินทรัพย์ที่กาหนดไว้เพียงแต่ประเภท
3.สัญญาซื้อขายทรัพย์เฉพาะสิ่งที่ยังต้องดาเนินการ
อย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้รู้ราคา
4.สัญญาซื้อขายทรัพย์สินที่คู่สัญญาตกลงให้กรรมสิทธิ์
เกิดยังไม่โอนทันทีที่สัญญา
สัญญาซื้อขายเฉพาะอย่าง
สัญญาขายฝาก หมายถึง สัญญาซื้อขายซึ่งกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินตกไปยังผู้ซื้อ โดยมี
ข้อตกลงกันว่าผู้ขายอาจไถ่ทรัพย์นั้นคืนมาในระยะเวลาที่กาหนด
กฎหมายได้กาหนดระยะเวลาไถ่ทรัพย์สินของสัญญาขายฝากไว้ 2
ระยะ ดังนี้
กรณีอสังหาริมทรัพย์มี
กาหนดระยะเวลาไถ่
ทรัพย์สิน 10 ปีนับตั้งแต่ทา
สัญญาซื้อขาย
กรณีสังหาริมทรัพย์ มีกาหนด
ระยะเวลาไถ่ทรัพย์สิน 3 ปี
นับตั้งแต่ทาสัญญาซื้อขาย
สัญญาขายตามตัวอย่าง ขายตามคาพรรณนา ขายเผื่อชอบ
สัญญาขายตามตัวอย่าง
หมายถึง สัญญาอีก
อย่างหนึ่งที่ผู้ขายให้ผู้
ซื้อมีโอกาสตรวจดูหรือ
ใช้ทรัพย์สินที่จะซื้อ
ขายเป็นตัวอย่างก่อนที่
จะตกลงทาสัญญาซื้อ
ขาย
สัญญาขายตาม
คาพรรณนา
หมายถึง สัญญา
ซื้อขายที่ผู้ซื้อไม่
มีโอกาสได้เห็น
และตรวจ
คุณภาพของ
ทรัพย์สิน
สัญญาขายเผื่อชอบ
หมายถึง สัญญาขาย
อย่างหนึ่งที่มีเงื่อนไข
ว่าให้ผู้ซื้อได้มีโอกาส
ตรวจดูทรัพย์สินก่อน
โดยผู้ซื้อจะซื้อหรือไม่
ก็ตาม
สัญญาของทอดตลาด
หมายถึง สัญญาซื้อขายอย่างหนึ่งที่ผู้ขายนาทรัพย์สินออกเสนอขายโดยให้ผู้ซื้อสู้
ราคากัน เป็นการขายย่างเปิดเผย
การขายทอดตลาดย่อมบริบูรณ์เมื่อผู้ขายทอดตลาดแสดงความตกลงขายด้วย
วิธีการเคาะไม้ หรือด้วยกิริยาอย่างใดอย่างหนึ่ง
สัญญาแลกเปลี่ยน หมายถึง สัญญาซึ่งคู่สัญญาต่างโอนกรรมสิทธิ์ใน
ทรัพย์สินของแต่ละฝ่ายให้กันและกัน โดยทรัพย์สินที่นามาแลกเปลี่ยน
กันนั้นต้องไม่ใช่เงิน
ลักษณะของสัญญาแลกเปลี่ยน
สัญญาแลกเปลี่ยนมีลักษณะสาคัญเหมือนกับสัญญาซื้อขายอย่างยิ่ง
กล่าวคือ ทั้งสัญญาซื้อขายและสัญญาแลกเปลี่ยนต่างก็เป็นสัญญาต่างตอบ
แทน เป็นสัญญาในการโอนทรัพย์สินในกรรมสิทธิ์ และเป็นสัญญาที่มี
วัตถุประสงค์ของสัญญาเป็นทรัพย์สินเหมือนกัน
ความหมายของสัญญาให้ หมายถึง สัญญาที่ซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า “
ผู้ให้ ” โอนกรรมสิทธิ์ให้แก่อีกบุคคลหนึ่งเรียกว่า “ ผู้รับ ” และ
ยอมรับเอาทรัพย์สินนั้น
ลักษณะของสัญญาให้
แบบของสัญญาให้
สัญญาให้สังหาริมทรัพย์หรืออสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษต้องทาเป็น
หนังสือหรือจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ มิฉะนั้นสัญญาให้ดังกล่าว
จะไม่สมบูรณ์
การถอนคืนการให้เพราะเหตุผู้รับประพฤติเนรคุณ
การถอนคืนการให้ โดยผู้ให้จะเรียกถอนคืนการให้เพราะเหตุผู้รับประพฤติ
เนรคุณได้เฉพาะใน 3 กรณีดังต่อไปนี้
1.ผู้รับได้ประทุษร้ายต่อผู้ให้เป็นความผิดฐานอาญาอย่างร้ายแรงตาม
ประมวลกฎหมายอาญา
2.ผู้รับได้ทาให้ผู้ให้เสียชื่อเสียงหรือหมิ่นประมาทผู้ให้อย่างรุนแรง
3.ผู้รับได้บอกปัดไม่ยอมให้สิ่งที่ให้สิ่งของจาเป็นเลี้ยงชีพแก่ผู้ให้ในเวลา
ที่ผู้ให้ยากไร้และผู้รับยังสามารถจะให้ได้
สัญญาเช่าทรัพย์ หมายถึงสัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า “ ผู้ให้เช่า ” ตกลงให้บุ
คลหนึ่งเรียกว่า “ ผู้เช่า ” ได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินอย่างใดอย่าง
หนึ่งตามกาหนดเวลาที่ได้ตกลงกันไว้
ลักษณะของสัญญาเช่าทรัพย์
1.เป็นสัญญาต่างตอบแทน
2.เป็นสัญญาที่ไม่ได้โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
3.เป็นสัญญาที่มีระยะเวลาจากัด
4.เป็นสัญญาที่ถือเอาคุณสมบัติของผู้เช่าเป็นสาคัญ
5.เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ
ผลของการโอนกรรมสิทธิ์ในสัญญาเช่าทรัพย์สินที่เช่า
เมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่า ในกรณีที่เช่าสังหาริมทรัพย์นั้นหากมี
การโอนกรรมสิทธิ์ในสังหาริมทรัพย์ที่เช่าจะทาให้สัญญาเช่าระงับลง ส่วนกรณีที่
สัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์นั้นหากมีการโอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ที่เช่าก็ไม่
ทาให้สัญญาระงับลง
สัญญาเช่าซื้อ หมายถึง สัญญาที่เจ้าของทรัพย์สินที่เรียกว่า “ ผู้ให้เช่าซื้อ ”
นาทรัพย์สินของตนให้เช่า และให้คามั่นสัญญาว่าจะขายทรัพย์สินดังกล่าว
ให้แก่ “ผู้เช่าซื้อ ” โดยมีเงื่อนไขว่าผู้เช่าซื้อต้องชาระราคาทรัพย์สินนั้นเป็น
งวดๆ จนครบตามจานวนที่ได้ตกลงกันไว้ในสัญญา
ลักษณะของสัญญาเช่าซื้อ
สัญญาเช่าซื้อมีลักษณะที่สาคัญดังนี้
1.เป็นสัญญาต่างตอบแทน
2.ผู้ให้เช่าซื้อไม่ต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สินที่ให้เช่าซื้อก็ได้
3.ผู้ให้เช่าซื้อเอาทรัพย์สินของตนออกให้เช่าประกอบกับให้คามั่นสัญญา
แก่ผู้เช่าซื้อว่าจะขายทรัพย์สินนั้น
4.เป็นสัญญาที่กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่าซื้อโอนไปยังผู้เช่าซื้อเมื่อผู้
เช่าซื้อชาระเงินครบทุกงวด
5.เป็นสัญญาที่มีแบบ
สัญญาจ้างแรงงาน หมายถึง สัญญาที่บุคลหนึ่งเรียกว่า
“ลูกจ้าง ” ตกลงที่จะทางานให้แก่บุคลหนึ่งเรียกว่า“ นายจ้าง ”
และนายจ้างตกลงจะให้สินจ้างตลอดเวลาทางาน
ลักษณะของสัญญาจ้างงาน
1.เป็นสัญญาต่างตอบแทน
2.เป็นสัญญาที่สาระสาคัญอยู่ที่ตัวบุคลผู้เป็นคู่สัญญา
3.เป็นสัญญาที่คูสัญญามีความสัมพันธ์พิเศษแตกต่างไปจากสัญญา
ชนิดอื่นๆ
4.เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ
สัญญาจ้างทาของ หมายถึง สัญญาซึ่งบุคลหนึ่งเรียกว่า “ ผู้รับจ้าง ”
ตกลงรับจะทาการงานตามสิ่งใดสิ่งหนึ่งจนสาเร็จให้แก่บุคลอีกคนหนึ่งซึ่ง
เรียกว่า “ ผู้ว่าจ้าง ” และผู้ว่าจ้างตกลงจะให้สินจ้างเพื่อผลสาเร็จแห่งการ
ทางานนั้น
ลักษณะของสัญญาจ้างทาของ
1.เป็นสัญญาต่างตอบแทน
2.เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ตรงที่ผลสาเร็จของงานที่ว่าจ้าง
3.เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ
สัญญายืม หมายถึง สัญญาซึ่งคู่สัญญาฝ่ายหนึ่ง เรียกว่าผู้ให้ยืมได้ส่ง
มอบทรัพย์สินให้แก่คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า ผู้ยืม เพื่อใช้ทรัพย์สิน
นั้น และผู้ยืมต้องคืนให้เมื่อใช้สอยเสร็จแล้ว
ประเภทของสัญญายืม
สัญญายืมนั้นแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่
(๑)สัญญายืมให้คงรูป
(๒)สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง
“ สัญญายืมใช้คงรูป ”คือสัญญาที่บุคคลหนึ่ง เรียกว่า ผู้ให้ยืมให้
บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้ยืม ใช้สอบทรัพย์สินสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้
เปล่า และผู้ยืมตกลงว่าจะคืนทรัพย์สินนั้น เมื่อได้ใช้สอยเสร็จแล้ว
ลักษณะของสัญญาใช้คงรูป มีดังนี้คือ
สัญญายืมใช้คงรูป
1.เป็นสัญญาไม่ต่างตอบแทน
2.เป็นสัญญาไม่มีค่าตอบแทน
3.เป็นสัญญาที่บริบูรณ์เมื่อมีการส่งมอบทรัพย์สินที่ยืม
4.เป็นสัญญาที่ไม่โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ยืม
5.เป็นสัญญาที่ถือคุณสมบัติของผู้ยืมเป็นสาระสาคัญ
ลักษณะของสัญญาใช้คงรูป มีดังนี้คือ
คือ สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่ง เรียกว่า ผู้ให้ยืม โอนกรรมสิทธิ์ใน
ทรัพย์สินชนิดใช้ไปสิ้นไปให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้ยืม และผู้
ยืมตกลงว่าจะคืนสินทรัพย์เป็นประเภทชนิดและปริมาณเช่นเดียวกันให้
แทน
ลักษณะของสัญญายืมใช้สิ้นเปลืองมีดังนี้
1.เป็นสัญญาไม่ต่างตอบแทน
2.เป็นสัญญาที่จะมีค่าตอบแทนหรือไม่ก็ได้
3.เป็นสัญญาที่บริบูรณ์เมื่อมีการส่งมอบทรัพย์สินที่ยืม
4.เป็นสัญญาที่โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ยืม
5.เป็นสัญญาที่ถือคุณสมบัติของผู้ยืมเป็นสาระสาคัญ
หน้าที่ของผู้ยืม
ต้องมอบทรัพย์สินประเภท ชนิด และปริมาณเช่นเดียวกันคืนให้แก่ผู้ให้ยืม
สัญญายืมเงิน
สัญญายืมเงิน เป็นสัญญายืมใช้สิ้นเปลือง โดยกฎหมายกาหนดหลักเกณฑ์การ
กู้ยืมเงิน ไว้ว่า การกู้ยืมเงินเกินกว่า ๒,๐๐๐ บาทขึ้นไป ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ ลง
ลายมือชื่อผู้ยืมเป็นสาคัญ มิฉะนั้นจะฟ้ องร้องบังคับคดีไม่ได้
การชาระหนี้เงินกู้
ลูกหนี้ต้องชาระหนี้แก่เจ้าหนี้ภายในระยะเวลาที่สัญญากาหนด มิเช่นนั้นจะถือว่า
ผิดนัดการชาระหนี้จะต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการไม่ชาระหนี้
ดอกเบี้ย
จะคิดดอกเบี้ยเกินกว่าร้อยละ ๑๕ ต่อปีไม่ได้ กรณีสัญญากาหนดให้คิดอัตรา
ดอกเบี้ยแต่มิได้กาหนดดอกเบี้ยไว้ กฎหมายให้คิดอัตราดอกเบี้ยได้เพียงร้อยละ ๗.๕ ต่อปี
อายุความ
ใช้อายุความตามมาตรา ๑๙๓/๓๐ ฟ้ องภายใน ๑๐ ปี
สัญญาฝากทรัพย์ หมายถึงสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้ฝาก”
ส่งมอบทรัพย์สินให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้รับฝาก” และผู้รับฝาก
ตกลงว่าจะเก็บรักษาทรัพย์สินนั้นไว้ในอารักขาแห่งตนแล้วจะคืนให้
ลักษณะของฝากทรัพย์
1. วัตถุแห่งสัญญาฝากทรัพย์ต้องเป็นทรัพย์สิน
2. สัญญาฝากทรัพย์สมบูรณ์เมื่อมีการส่งมอบทรัพย์สินโดยไม่
ต้องทาเป็นหนังสือ
3. ผู้รับฝากตกลงจะเก็บรักษาทรัพย์สินที่ฝากไว้ในอารักขาของ
ตน แล้วจะคืนให้ผู้ฝาก
4. สัญญาฝากทรัพย์อาจเป็นได้ทั้งสัญญามีค่าตอบแทนและ
สัญญาไม่มีค่าตอบแทน
สิทธิของผู้รับฝาก
1. ผู้รับฝากมีสิทธิ์เรียกค่าบารุงรักษาทรัพย์สิน ซึ่งผู้รับฝากจ่ายไป
ในการบารุงรักษาทรัพย์สิน
2. ผู้รับฝากมีสิทธิ์เรียกบาเหน็จค่าฝาก
3. ผู้รับฝากมีสิทธิ์ยึดหน่วงทรัพย์สินที่ฝาก
หน้าที่ของผู้รับฝาก
1. หน้าที่ในการสงวนรักษาทรัพย์สินที่ฝาก
2. หน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สินที่ฝากด้วยตนเอง
3. หน้าที่ในการบอกกล่าวแก่ผู้ฝากโดยพลัน เมื่อถูกฟ้ องหรือถูก
ยึดทรัพย์สินที่ฝาก
อายุความ
อายุความเกี่ยวกับการฟ้ องคดีในเรื่องฝากทรัพย์ กฎหมายได้
กาหนดอายุความไว้ 6 เดือนนับแต่วันสิ้นสัญญา
เป็นสัญญาฝากทรัพย์อย่างหนึ่ง จึงต้องนาหลักเกณฑ์ของสัญญาฝาก
ทรัพย์มาใช้บังคับอยู่เท่าที่ไม่ขัดกับสภาพของสัญญาฝากเงิน อย่างไรก็ตาม
สัญญาฝากเงินก็มีลักษณะที่แตกต่างจากสัญญาฝากทรัพย์ทั่วไปอยู่หลาย
ประการ ดังต่อไปนี้
1.เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ของสัญญาเป็นเงินตรา
2.เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ฝาก
3.เป็นสัญญาที่ผู้รับฝากไม่ต้องคืนด้วยเงินตราเดียวกับที่ฝาก
4.เป็นสัญญาที่ผู้รับฝากสามารถนาเงินตราที่ฝากออกไปใช้สอยได้
สัญญาค้าประกัน หมายถึง สัญญาซึ่งบุคลภายนอกคนหนึ่งเรียกว่า
“ ผู้ค้าประกัน ” ผูกพันตนต่อ “ เจ้าหนี้ ” คนหนึ่งเพื่อชาระหนี้ในเมื่อ
ลูกหนี้ไม่ชาระหนี้นั้น
ลักษณะของสัญญาค้าประกัน
1. เป็นเรื่องที่บุคคลภายนอกทาสัญญาผูกพันตนเองต่อ
เจ้าหนี้ว่า
จะชาระหนี้ให้ เมื่อลูกหนี้ไม่ชาระหนี้นั้นในฐานะ “ผู้ค้า
ประกัน”
2. สัญญาค้าประกันเป็นสัญญาอุปกรณ์
3. สัญญาค้าประกันเป็นสัญญาที่ต้องมีหลักฐานเป็น
หนังสือ
4.เป็นสัญญาไม่มีแบบ
ความรับผิดของผู้ค้าประกัน
จะเกิดขึ้นเมื่อลูกหนี้ผิดนัดไม่ชาระหนี้แก่เจ้าหนี้ เมื่อหนี้ถึง
กาหนดชาระแล้ว ซึ่งทาให้เกิดสิทธิแก่เจ้าหนี้ในอันที่จะเรียกให้ผู้ค้า
ประกันชาระหนี้ได้แต่นั้น
สิทธิของผู้ค้าประกัน
เมื่อผู้ค้าประกันได้ชาระหนี้ให้กับเจ้าหนี้แล้ว ผู้ค้าประกันก็มี
สิทธิ์ที่จะไปไล่เบี้ยเพื่อเงินต้นกับดอกเบี้ยและเพื่อความเสียหายอย่าง
ใด ๆ อันเกิดจากการค้าประกันนั้นได้จากลูกหนี้
ความระงับของสัญญาค้าประกัน
1. เมื่อหนี้ของลูกหนี้ระงับสิ้นไป
2. เมื่อผู้ค้าประกันบอกเลิกค้าประกัน สาหรับกิจการที่
ต่อเนื่องกันหลายคราว
3. เมื่อเจ้าหนี้ยอมผ่อนเวลาให้กับลูกหนี้
4. เมื่อเจ้าหนี้ไม่ยอมรับชาระหนี้จากผู้ค้าประกัน
สัญญาจานอง หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า ผู้จานอง เอา
ทรัพย์สินตราไว้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า ผู้รับจานอง เพื่อเป็นประกันการ
ชาระหนี้โดยไม่ส่งมอบทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้รับจานอง
ลักษณะของสัญญาจานอง
1. เป็นกรณีที่ผู้จานองนาทรัพย์สินไปตราไว้แก่ผู้รับจานองเพื่อ
เป็นการประกันชาระหนี้ของลูกหนี้โดยผู้จานองอาจเป็นลูกหนี้เองหรือ
เป็นบุคคลภายนอกก็ได้
2. ผู้จานองเพียงแต่เอาทรัพย์สินไปตราไว้เป็นประกันเท่านั้น ไม่
จาต้องส่งมอบทรัพย์สินจานองนั้นให้แก่ผู้รับจานอง
3. ผู้รับจานองมีสิทธิ์ที่จะรับชาระหนี้จากทรัพย์ที่จานองก่อน
เจ้าหนี้สามัญ
4. การโอนทรัพย์จานองแก่บุคคลภายนอกไม่มีผลกระทบต่อการ
จานอง ผู้รับจานองยังสามารถบังคับจานองกับทรัพย์จานองนั้นได้
5. สัญญาจานองเป็นสัญญาอุปกรณ์เพราะเป็นสัญญาที่ทาขึ้นเพื่อ
ประกันการชาระหนี้ของลูกหนี้
ทรัพย์ที่จานองได้
1. อสังหาริมทรัพย์
2. สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษที่จดทะเบียนแล้ว
3. สังหาริมทรัพย์อื่น ๆ ซึ่งกฎหมายบัญญัติให้จดทะเบียนเฉพาะ
การ เช่น เครื่องจักรที่ได้มีการจดทะเบียนตาม พรบ. จดทะเบียน
เครื่องจักร พ.ศ. 2514 เป็นต้น
แบบของสัญญาจานอง
ต้องทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
ถ้าไม่ทาจะทาให้สัญญาจานองตกเป็นโมฆะ
วิธีการบังคับจานอง
1. การเอาทรัพย์สินที่จานองออกขายทอดตลาด
2. การเอาทรัพย์สินที่จานองหลุดเป็นกรรมสิทธิ์ ถ้าผู้รับ
จานอง
ความระงับแห่งสัญญาจานอง
1. เมื่อหนี้ประกันระงับสิ้นไป
2. เมื่อปลดจานองให้แก่ผู้จานองด้วยหนังสือเป็นสาคัญ
3. เมื่อผู้จานองหลุดพ้น เมื่อเจ้าหนี้ไม่ยอมรับชาระหนี้จากผู้
จานอง โดยไม่มีเหตุอันจะอ้างกฎหมายได้
4. เมื่อขายทอดตลาดทรัพย์สินซึ่งจานองตามคาสั่งศาลอันเนื่อง
มาแต่การบังคับจานอง
5. เมื่อเอาทรัพย์สินซึ่งจานองหลุดเป็นกรรมสิทธิ์
สัญญาจานา หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า “ผู้จานา”
ส่งมอบสังหาริมทรัพย์สิ่งหนึ่งสิ่งใดให้แก่อีกบุคคลหนึ่งเรียกว่า
“ผู้รับจานา ” เพื่อประกันการชาระหนี้
ลักษณะของสัญญาจานา
1.เป็นสัญญาอุปกรณ์
2.เป็นสัญญาที่ต้องส่งมอบทรัพย์สินที่จานาแก่ผู้รับจานา
3.ผู้จานาเป็นลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกก็ได้ แต่ผู้จานาต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สิน
4.เป็นสัญญาไม่มีแบบ
ทรัพย์สินที่จานาได้
ทรัพย์สินที่นามาจานาได้ต้องเป็นสังหาริมทรัพย์และทรัพย์ที่นามาจานา
นั้นต้องเป็นของผู้จานาเท่านั้นจะนาทรัพย์ของผู้อื่นมามิได้
ผลของการบังคับจานา
หากบังคับทรัพย์สินที่จานาไปขายทอดตลาดได้เงินไม่พอที่จะชาระที่
ลูกหนี้ค้างชาระอยู่ ลูกหนี้ยังต้องรับผิดชอบในส่วนที่ยังขาดอยู่ซึ่งแตกต่าง
จากสัญญาจานอง
ความรับผิดของผู้จานา
เมื่อหนี้ถึงกาหนดชาระและลูกหนี้ไม่ชาระหนี้นั้น เจ้าหนี้ก็มีสิทธิที่
จะบังคับจานาได้ตามกฎหมาย(ม.764) โดยนาเอาทรัพย์สินที่จานาไว้นั้น
ออกขายทอดตลาดได้เอง โดยไม่จาเป็นต้องอาศัยคาสั่งศาลให้ขายทอก
ตลาด เพราะทรัพย์สินที่จานาอยู่ในความครอบครองของผู้รับจานาอยู่แล้ว
สิทธิของผู้จานา
ผู้จานาที่จะถูกบังคับจานาทรัพย์นั้น อาจเข้าชาระหนี้ทั้งหมดเสียก็
ได้ซึ่งจะมีผลทาให้หนี้ประธานระงับไป และส่งผลให้สัญญาจานาระงับลง
ด้วย และหากเป็นกรณีที่ผู้จานาเป็นบุคคลภายนอก ผู้จานายังมีสิทธิที่จะ
ได้รับเงินใช้คืนจากลูกหนี้ได้อีกด้วย
ความระงับแห่งสัญญาจานา
1. เมื่อหนี้ซึ่งเป็นประกันนั้นระงับสิ้นไป ที่ไม่ใช่ด้วยเหตุอายุความ ถ้า
เป็นกรณีขาดอายุความแล้ว ทรัพย์สินที่จานายังอยู่กับผู้รับจานา ก็สามารถ
บังคับจานาได้อยู่
2. เมื่อผู้รับจานายอมให้ทรัพย์สินที่จานากลับคืนไปสู่ความ
ครอบครองของผู้จานา
สัญญาประกันภัย หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า ผู้รับ
ประกันภัย ซึ่งตกลงจะใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือจะใช้เงินจานวนหนึ่งให้ เมื่อ
เกิดภัยในอนาคตแก่ ผู้เอาประกันภัย ซึ่งตกลงจะส่งเบี้ยประกันภัยให้โดยอาจ
ส่งเงินเป็นงวดหรือเป็นก้อนก็ได้
ลักษณะของสัญญาประกันภัย
1.เป็นสัญญาต่างตอบแทน
2.เป็นสัญญาเสี่ยงโชค
3.เป็นสัญญาที่อาศัยความสุจริตอย่างยิ่งของคู่สัญญา
4.เป็นสัญญาที่ผู้ที่ค้าประกันต้องเป็นบริษัทจากัดหรือมหาชนจากัด
5.เป็นสัญญาไม่มีแบบ
ประเภทของสัญญาประกันภัย
1. สัญญาประกันวินาศภัย เป็นสัญญาที่มุ่งชดใช้ค่าสินไหม
ทดแทนความเสียหายที่เกิดขึ้นอันสามารถคานวณเป็นเงินได้
2. สัญญาประกันชีวิต เป็นสัญญาที่มุ่งที่จะให้ความช่วยเหลือแก่ผู้
เอาประกัน หรือผู้มีความสัมพันธ์กับผู้เอาประกันที่ต้องพึ่งพากัน ถ้าผู้เอา
ประกันถึงแก่กรรมลง
สิทธิของผู้เอาประกันภัย
1. สิทธิของลดเบี้ยประกันภัย
2. สิทธิที่จะได้รับชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
3. สิทธิบอกเลิกสัญญา
หน้าที่ของผู้เอาประกันภัย
1. หน้าที่เปิดเผยความจริง
2. หน้าที่ชาระเบี้ยประกัน
3. หน้าที่บอกกล่าวเมื่อเกิดวินาศภัย
หน้าที่ของผู้รับประกันภัย
1. หน้าที่ส่งมอบกรมธรรม์ประกันภัย
2. หน้าที่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
3. หน้าที่สารวจค่าเสียหาย
สัญญาตั๋วเงิน หมายถึง สัญญาอย่างหนึ่งซึ่งได้ทาเป็นหนังสือตราสาร
อันเรียกว่า “ตั๋วเงิน” เพื่อสั่งจ่ายเงินหรือสัญญาว่าจะจ่ายเงิน
ลักษณะของสัญญาตั๋วเงิน
1.สัญญาตั๋วเงินต้องทาเป็นหนังสือตราสาร
2.วัตถุแห่งหนี้ตามสัญญาตั๋วเงินต้องเป็นเงินตรา
ประเภทของตั๋วเงิน
1.ตั๋วแลกเงิน
2.ตั๋วสัญญาใช้เงิน
3.เช็ค
สัญญาจัดตั้งห้างหุ่นส่วนและบริษัทหมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลตั้งแต่ 2
คนขึ้นไป ตกลงเข้ากันเพื่อกระทากิจการร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
แบ่งปันกาไรที่เกิดขึ้นจากกิจการที่ทานั้น
ลักษณะของสัญญาจัดตั้งห้างหุ่นส่วนหรือบริษัท
1.ต้องมีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปร่วมกันจัดตั้งห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท
2.ต้องเข้าทากิจการร่วมกัน
3.ต้องมีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งปันกาไร
ประเภทของห้างงหุ้นส่วน
ห้างหุ้นส่วนมี 3 ประเภทดังนี้
1.ห้างหุ้นส่วนสามัญ หมายถึง ห้างหุ่นส่วนที่ไม่ได้จดทะเบียนและ
มีหุ้นส่วนประเภทเดียว ได้แก่ หุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิดชอบ
2.ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน หมายถึง ห้างหุ้นส่วนที่ได้จด
ทะเบียนโดยมีฐานะเป็น นิติบุคคล
3.ห้างหุ้นส่วนจากัด หมายถึง ห้างหุ้นส่วนที่จดทะเบียนโดยมีฐานะ
เป็นนิติบุคคล มีหุ้นส่วน 2 ประเภท ได้แก่ หุ้นส่วนไม่จากัดความ
รับผิดชอบ และหุ้นส่วนจากัดความรับผิดชอบ
นายสิทธิชัย ใยอิ่ม 531120902
นายอิสรพงศ์ แก่นจันทร์ 531120944
นายสุพจน์ วันชัยรุ่งรุจี 531120931
นายประนพ โยชนะ 531120941

More Related Content

What's hot

กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
Yosiri
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายNurat Puankhamma
 
บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้
Chi Wasana
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันEyezz Alazy
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
Yosiri
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
Yosiri
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
Wuttipong Tubkrathok
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1Nurat Puankhamma
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
โรงเรียน บ้านสุไหงโก-ลก
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
Yosiri
 
บทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายบทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขาย
Chi Wasana
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
Yosiri
 

What's hot (20)

กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
 
บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
เอกเทศสัญญา
เอกเทศสัญญาเอกเทศสัญญา
เอกเทศสัญญา
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
บทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายบทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขาย
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 

More from Yosiri

กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
Yosiri
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
Yosiri
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
Yosiri
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
Yosiri
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
Yosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
Yosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
Yosiri
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
Yosiri
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
Yosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
Yosiri
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17Yosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
Yosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
Yosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
Yosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
Yosiri
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัวYosiri
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
Yosiri
 
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้ากฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
Yosiri
 
กฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตรกฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตร
Yosiri
 

More from Yosiri (19)

กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัว
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
 
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้ากฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
 
กฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตรกฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตร
 

กฎหมายเอกเทศสัญญา