SlideShare a Scribd company logo
1 
ตัวอย่างการเขียนตอบข้อสอบอุทาหรณ์/ข้อสอบตุ๊กตา 
(ส่วนที่ 1) กรณีตามปัญหา (ประมวลกฎหมาย หรือ พระราชบัญญัติ)……… 
หลักกฎหมาย วางหลักกฎหมายไว้ว่า …………………………………………………………….. 
……………………………………………………………………………………………... 
……………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………… 
(ส่วนที่ 2) จากกรณีปัญหาข้อเท็จจริงดังกล่าว การที่………………………………………………….. 
การปรับข้อเท็จจริง …………………………………………………………………………………………….. 
เข้ากับหลักกฎหมาย …………………………………………………………………………………………….. 
หรือ 
จากกรณีปัญหาข้อเท็จจริงดังกล่าว มีประเด็นที่ต้องวินิจฉัยดังต่อไปนี้ 
ประเด็นที่ 1 ......................................................................................... 
…………………………………………………………………………………………………. 
ประเด็นที่ 2……………………………………………………………………………….. 
………………………………………………………………………………….. 
(ส่วนที่ 3) ด้วยเหตุผลดังที่วินิจฉัยมาแล้วข้างต้น……………………………................. 
สรุปคาตอบ ……………………………………………………………………………....................... 
แนวการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย 
อาจารย์นุรัตน์ ปวนคามา 1 
หลายท่านอาจสงสัยว่าในเมื่อมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรายวิชากฎหมายที่เรียนอยู่นั้น อาจเพียงพอสาหรับการสอบในแต่ละครั้งแล้ว แต่หารู้ไม่ว่าการรู้เทคนิคและวิธีการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย จะทาให้การเขียนตอบข้อสอบมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งนักศึกษามักจะมองข้ามและขาดการฝึกฝนก่อนที่จะ ลงสอบสนามจริง จึงทาให้เมื่อเจอข้อสอบมักจะเกิดคาถามอยู่ในใจว่าไม่รู้จะเริ่มต้นเขียนอย่างไร จะเรียบ เรียงคาตอบอย่างไรเพื่อให้ได้คะแนน ด้วยเหตุนี้การฝึกฝนทาข้อสอบเก่าหรือโจทย์ปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับวิชาที่ เรียนบ่อยๆ จนชานาญ จะทาให้ผู้เรียนได้จัดระบบความคิดและความรู้ที่มีจากการอ่านและการเข้าเรียน กลั่นกรองผ่านลายลักษณ์อักษรให้ผู้ตรวจข้อสอบเห็นว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในรายวิชาดังกล่าวและ สามารถปรับใช้หลักกฎหมายได้อย่างสมเหตุสมผล 
อนึ่ง การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย มี 2 ลักษณะ กล่าวคือ ลักษณะแรก เป็นการเขียนตอบ ข้อสอบอุทาหรณ์ หรือข้อสอบตุ๊กตา ซึ่งต้องการชี้วัดการนาหลักกฎหมายมาปรับใช้กับข้อเท็จจริงที่โจทย์ กาหนดขึ้น และลักษณะที่สอง การเขียนตอบข้อสอบแบบบรรยายหรือเรียงความ เพื่อต้องการชี้วัดความเข้าใจ หลักกฎหมายโดยผ่านการอธิบาย และสะท้อนให้เห็นว่าผู้เรียนสามารถจัดระบบความคิดของตัวเองได้ ซึ่งการ เขียนตอบปัญหาข้อสอบกฎหมายทั้งสองลักษณะดังกล่าวข้างต้น มีโครงสร้าง ดังต่อไปนี้ 
1. การเขียนตอบข้อสอบอุทาหรณ์ หรือ ข้อสอบตุ๊กตา 
1 อาจารย์ประจาสานักวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ใข้ประกอบการสอนรายวิชากฎหมาย เอกเทศสัญญา 1 ประจาปีการศึกษา 2557 ภาคเรียนที่ 1
2 
ตัวอย่างเช่น 
มีชัยทาสัญญาเช่าตึกแถวของรื่นเริงมีกาหนด 3 ปี สัญญาเช่าข้อหนึ่งระบุว่าถ้ามีการปลูกสร้าง ดัดแปลงหรือต่อเติมที่ผู้เช่าได้กระทาขึ้น โดยได้รับอนุญาตหรือไม่ก็ดีให้ตกเป็นทรัพย์ของผู้ให้เช่า ก่อนครบ กาหนดอายุสัญญาเช่า มีชัยได้รื้อตึกแถวบางส่วนเพราะทรุดมากแล้วสร้างขึ้นใหม่เพื่อความสวยงามและความ ปลอดภัย โดยรื่นเริงอนุญาตและได้ทาสัญญาให้มีชัยเช่าต่อไปอีก 7 ปี แต่ไม่ได้จดทะเบียนการเช่า มีชัยเช่า ตึกแถวตามสัญญาเช่าฉบับหลังได้ 3 ปี รื่นเริงบอกเลิกการเช่าและฟ้องขับไล่มีชัย แต่มีชัยไม่ยอมออก และได้ ต่อสู้ว่าสัญญาเช่ายังไม่ครบ 7 ปี ซึ่งสัญญาเช่าฉบับหลังเป็นสัญญาต่างตอบแทนยิ่งกว่าสัญญาเช่าธรรมดา รื่น เริงจึงไม่มีสิทธิบอกเลิกการเช่าดังกล่าวได้ ดังนี้ ข้อต่อสู้ของมีชัยฟังขึ้นหรือไม่?2 
แนวการเขียนตอบ 
(ส่วนที่ 1) กรณีตามปัญหาประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์วางหลักกฎหมายไว้ว่า การเช่า อสังหาริมทรัพย์ หากไม่มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิดเป็นสาคัญ จะ ฟ้องร้องบังคับคดีไม่ได้ แต่หากการเช่ามีกาหนดระยะเวลากว่า 3 ปีขึ้นไป และไม่ได้ทาเป็นหนังสือและจด ทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ สัญญาเช่าดังกล่าวนั้นจะฟ้องร้องบังคับคดีได้เพียง 3 ปีเท่านั้น (มาตรา 538) 
(ส่วนที่ 2) จากกรณีปัญหาข้อเท็จจริงดังกล่าววินิจฉัยได้ดังต่อไปนี้ 
การที่รื่นเริงอนุญาตให้มีชัยรื้อถอนตึกแถวบางส่วนเพราะทรุดมากและให้สร้างขึ้นใหม่เพื่อ ความสวยงามและความปลอดภัยนั้น เป็นการกระทาที่มีชัยมุ่งหมายต่อผลประโยชน์ของตนโดยเฉพาะ ไม่ใช่ เป็นการก่อสร้างตึกแถวบางส่วนขึ้นใหม่เพื่อตอบแทนในการที่รื่นเริงให้เช่าตึกแถวทั้งหมดและไม่ใช่กรณีที่รื่น เริงตกลงให้มีชัยซ่อมแซมใหญ่เพื่อตอบแทนการได้เช่าตึกแถวนั้นต่อไป ส่วนที่รื่นเริงตกลงให้มีชัยเช่าต่อไปอีก 7 ปี เป็นเพียงการทาสัญญาเช่าธรรมดามิใช่สัญญาเช่าต่างตอบแทนยิ่งกว่าสัญญาเช่าธรรมดา ทั้งข้อสัญญาเดิมที่ ระบุว่า ถ้ามีการปลูกสร้างดัดแปลงหรือต่อเติมที่ผู้เช่าได้กระทาขึ้นโดยได้รับอนุญาตหรือไม่ก็ตาม ให้ตกเป็น ทรัพย์ของผู้ให้เช่านั้นก็มิใช่การกระทาที่เป็นการตอบแทนที่จะเป็นเหตุให้รื่นเริงต้องยอมให้มีชัยเช่าตึกแถว เพราะเป็นข้อตกลงที่มีชัยจะกระทาหรือไม่ก็สุดแล้วแต่มีชัย ข้อสัญญาดังกล่าวจึงไม่มีลักษณะเป็นสัญญาต่าง ตอบแทนยิ่งกว่าสัญญาเช่าธรรมดา เมื่อสัญญาเช่าฉบับหลังไม่ได้จดทะเบียนจึงบังคับกันได้เพียง 3 ปี และเมื่อ ข้อเท็จจริงปรากฏว่ามีชัยได้เช่ามาแล้ว 3 ปี รื่นเริงจึงมีสิทธิที่จะบอกเลิกสัญญาเช่าต่อมีชัยและให้มีชัยออกจาก ตึกแถวที่เช่าได้ ข้ออ้างของมีชัยจึงฟังไม่ขึ้น 
(ส่วนที่ 3) ด้วยเหตุผลดังที่วินิจฉัยมาแล้วข้างต้น ข้ออ้างของมีชัยจึงฟังไม่ขึ้น มีชัยต้องออกจากตึกแถวที่ เช่าดังกล่าว 
2 เทียบเคียงคาพิพากษาฎีกาที่ 1109/2534
3 
ตัวอย่างการเขียนตอบข้อสอบแบบบรรยาย/เรียงความ 
(ส่วนที่ 1) อธิบายบทนิยาม/ความหมาย พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 
………………………………………………………………………………………………………………. 
………………………………………………………………………………………………………………. 
(ส่วนที่ 2) เปรียบเทียบข้อเหมือน/ข้อแตกต่าง (ถ้ามี) 
…………………………………………………………………………………………………………. 
…………………………………………………………………………………………………………. 
2. การเขียนตอบข้อสอบแบบบรรยาย หรือเรียงความ 
ตัวอย่างเช่น 
จงเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหว่างสัญญาเช่าทรัพย์และสัญญาเช่าซื้อ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 
แนวการเขียนตอบ 
(ส่วนที่ 1 ) สัญญาเช่าทรัพย์ คือ สัญญาที่บุคคลคนหนึ่งตกลงให้ผู้เช่าได้ใช้หรือได้ประโยชน์ในทรัพย์สินที่ เช่า โดยได้รับค่าตอบแทนและผู้เช่าตกลงจะชาระราคาเช่าเพื่อการนั้นเป็นการตอบแทน เช่น บูเก้ทาสัญญาเช่า ห้องพักห้องหนึ่งจากหลิว โดยหลิวคิดค่าเช่าเดือนละ 4,5000 บาท บูเก้มีหน้าที่ต้องชาระค่าเช่าในแต่ละเดือน ตามที่ตกลงกัน ในขณะที่หลิวมีหน้าที่ส่งมอบห้องเช่าให้กับบูเก้ได้ใช้ประโยชน์ 
สัญญาเช่าซื้อ คือ สัญญาที่เจ้าของเอาทรัพย์สินออกให้เช่าและให้คามั่นว่าจะขายทรัพย์สิน นั้นหรือจะให้ทรัพย์สินนั้นตกเป็นสิทธิของผู้เช่าซื้อ โดยเงื่อนไขที่ผู้เช่าซื้อได้ใช้เงินเป็นจานวนเท่านั้นเท่านี้คราว 
เช่น ลุงปันได้เช่าซื้อคอนโดมิเนียม 1 ห้องจากพรหล้า โดยตกลงชาระค่าเช่าซื้อกันทุกเดือน ๆ ละ 100,000 บาท เป็นเวลา 10 เดือน และเมื่อลุงปันชาระราคาครบทุกงวดแล้ว ลุงปันย่อมได้กรรมสิทธิ์ในคอนโดมิเนียม ห้องดังกล่าว 
(ส่วนที่ 2) อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของสัญญาเช่าทรัพย์ และสัญญาเช่าซื้อ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์นั้น อาจแยกพิจารณาได้เป็น 2 ประการสาคัญ กล่าวคือ 
ประการแรก ความเหมือนระหว่างสัญญาเช่าทรัพย์และสัญญาเช่าซื้อ กล่าวคือ 
(1) เป็นสัญญาต่างตอบแทน ซึ่งคู่สัญญาต่างมีสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดในระหว่างกัน 
(2) วัตถุแห่งทรัพย์ที่เช่า ซึ่งสัญญาเช่าทรัพย์และสัญญาเช่าซื้อมีลักษณะที่เหมือนกัน เนื่องจากมี ลักษณะของการนาทรัพย์สินออกให้เช่า
4 
ประการที่สอง ความแตกต่างระหว่างสัญญาเช่าทรัพย์และสัญญาเช่าซื้อ 
(1) ในสัญญาเช่าทรัพย์ ผู้ให้เช่าไม่จาเป็นต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สินที่ให้เช่าก็สามารถทาสัญญาเช่าได้ แต่ในสัญญาเช่าซื้อนั้น ผู้ให้เช่าซื้อต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สินที่ให้เช่าซื้อ (มาตรา 572) เนื่องจากจะต้องมีการ โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่าซื้อจากผู้ให้เช่าซื้อไปยังผู้เช่าซื้อ เมื่อมีการชาระค่าเช่าซื้อครบถ้วน 
(2) วัตถุประสงค์ของสัญญาเช่าทรัพย์นั้น คือการให้ผู้เช่าได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินที่เช่า (มาตรา 537) ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ในวัตถุของสัญญาเช่า ในขณะที่สัญญาเช่าซื้อนั้น วัตถุประสงค์หลักคือการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่าซื้อ 
(3) ค่าตอบแทนในสัญญาเช่าทรัพย์ที่เรียกว่า “ค่าเช่า” นั้น จะเป็นเงินหรือเป็นสิ่งอื่นก็ได้ แต่ค่าเช่าซื้อ นั้นต้องเป็นเงินเสมอ (มาตรา 572) 
(4) สัญญาเช่าทรัพย์ไม่ต้องทาตามแบบ ไม่ว่าจะเป็นการเช่าสังหาริมทรัพย์หรืออสังหาริมทรัพย์จะมี เพียงว่าสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์จะต้องทาตามหลักเกณฑ์ที่มาตรา 538 กาหนดไว้ ซึ่งมาตราดังกล่าวไม่ถือว่า เป็นบทบัญญัติในแบบของสัญญาเช่า เพราะมิได้กาหนดผลไว้ว่าถ้าไม่ทาแล้วจะทาให้สัญญาเช่านั้นตกเป็นโมฆะ ส่วนในสัญญาเช่าซื้อนั้น มาตรา 572 วรรคสอง กาหนดเรื่องแบบในการทาสัญญาเช่าซื้อไว้ และหากไม่ทาตาม เป็นหนังสือจะตกเป็นโมฆะ 
(5) แม้ว่าสัญญาเช่าทรัพย์และสัญญาเช่าซื้อต่างก็เป็นสัญญาต่างตอบแทนด้วยกันและคู่สัญญาต่างมี สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดในระหว่างกัน การที่จะเลิกสัญญาได้นั้นโดยปกติจะเลิกตามความต้องการของฝ่าย หนึ่งฝ่ายใดไม่ได้ ดังนั้นในสัญญาเช่าทรัพย์ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะเลิกสัญญาตามอาเภอใจไม่ได้ เว้นแต่เข้ากรณีที่ กฎหมายหรือสัญญากาหนดไว้ แต่ในสัญญาเช่าซื้อนั้น มาตรา 573 กาหนดให้ผู้เช่าซื้อมีสิทธิที่บอกเลิกสัญญา เช่าซื้อในเวลาใดก็ได้ ไม่ว่าผู้เช่าซื้อจะมีเหตุผลหรือไม่มีเหตุผลใดก็ตาม ซึ่งผู้ให้เช่าซื้อหาได้มีสิทธิดังกล่าวไม่ 
(6) สัญญาเช่าทรัพย์คานึงถึงคุณสมบัติของผู้เช่าเป็นสาระสาคัญ ผู้เช่าตายสัญญาเช่าย่อมระงับ แต่ใน สัญญาเช่าซื้อนั้น สัญญาเช่าซื้อไม่ใช่สัญญาเช่าทรัพย์ธรรมดา แต่มีคามั่นว่าจะขายทรัพย์โดยมีเงื่อนไขการชาระ เงินคืนเป็นครั้งคราวรวมอยู่ด้วย ถ้าผู้เช่าซื้อชาระเงินแก่ผู้ให้เช่าซื้อครบถ้วนตามเงื่อนไขก็ได้กรรมสิทธิ์ใน ทรัพย์สินนั้น ซึ่งสิทธิที่จะได้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นไม่ใช่สิทธิเฉพาะตัว สัญญาเช่าซื้อจึงมีผลที่อาจสืบสิทธิกัน ได้

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
Pinutchaya Nakchumroon
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
Sutthiluck Kaewboonrurn
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
Yosiri
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentthanapat yeekhaday
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
Yosiri
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
justymew
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
kruthai40
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
krunueng1
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
koorimkhong
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
Thepsatri Rajabhat University
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
Warodom Techasrisutee
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 

What's hot (20)

บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
 

Viewers also liked

แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1Nurat Puankhamma
 
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
Nurat Puankhamma
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
Yosiri
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญาYosiri
 
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์Supisara Jaibaan
 
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
Puy Chappuis
 
เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2
Aon Narinchoti
 
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
วัชรินทร์ ใจจะดี
 
แบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อแบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อMuta Oo
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปtanapongslide
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
SlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
SlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
SlideShare
 

Viewers also liked (16)

แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
 
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
 
เอกเทศสัญญา
เอกเทศสัญญาเอกเทศสัญญา
เอกเทศสัญญา
 
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
 
Laws 100
Laws 100Laws 100
Laws 100
 
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
 
เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2
 
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
 
แบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อแบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อ
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Similar to การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย

แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
ประพันธ์ เวารัมย์
 
ตัวอย่างแบบจัดซื้อจัดจ้าง
ตัวอย่างแบบจัดซื้อจัดจ้างตัวอย่างแบบจัดซื้อจัดจ้าง
ตัวอย่างแบบจัดซื้อจัดจ้างSarit Kitbenja
 
แบบฟอร์ม จ้างทำงานวิจัย (ร่าง Tor)
แบบฟอร์ม   จ้างทำงานวิจัย (ร่าง Tor) แบบฟอร์ม   จ้างทำงานวิจัย (ร่าง Tor)
แบบฟอร์ม จ้างทำงานวิจัย (ร่าง Tor) i_cavalry
 
Ass004
Ass004Ass004
Ass004
the pooh
 
ใบงาน ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์
ใบงาน ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์ใบงาน ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์
ใบงาน ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์
ฉลาม แดนนาวิน
 
แบบฝึกชุดที่ 3.1
แบบฝึกชุดที่ 3.1แบบฝึกชุดที่ 3.1
แบบฝึกชุดที่ 3.1
nongdata nonthakote
 
ฟอร์มส่งมอบงานจ้าง.pdf
ฟอร์มส่งมอบงานจ้าง.pdfฟอร์มส่งมอบงานจ้าง.pdf
ฟอร์มส่งมอบงานจ้าง.pdf
Kitipong4
 
ใบความรู้ เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละอองใบความรู้ เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
อองเอง จ้า
 
แบบรายงานการเดินทาง
แบบรายงานการเดินทางแบบรายงานการเดินทาง
แบบรายงานการเดินทางkrutatee2499
 
แบบฟอร์มถอดถอนรัฐมนตรี
แบบฟอร์มถอดถอนรัฐมนตรี แบบฟอร์มถอดถอนรัฐมนตรี
แบบฟอร์มถอดถอนรัฐมนตรี
Chor Chang
 

Similar to การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย (17)

แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ชุดช่วยจำ
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ชุดช่วยจำแนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ชุดช่วยจำ
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ชุดช่วยจำ
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
 
แบบคำร้องขอย้าย
แบบคำร้องขอย้ายแบบคำร้องขอย้าย
แบบคำร้องขอย้าย
 
ตัวอย่างแบบจัดซื้อจัดจ้าง
ตัวอย่างแบบจัดซื้อจัดจ้างตัวอย่างแบบจัดซื้อจัดจ้าง
ตัวอย่างแบบจัดซื้อจัดจ้าง
 
แบบฟอร์ม จ้างทำงานวิจัย (ร่าง Tor)
แบบฟอร์ม   จ้างทำงานวิจัย (ร่าง Tor) แบบฟอร์ม   จ้างทำงานวิจัย (ร่าง Tor)
แบบฟอร์ม จ้างทำงานวิจัย (ร่าง Tor)
 
Ass004
Ass004Ass004
Ass004
 
1. โพรโทคอล
1. โพรโทคอล1. โพรโทคอล
1. โพรโทคอล
 
ใบงาน ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์
ใบงาน ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์ใบงาน ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์
ใบงาน ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์
 
แบบฝึกชุดที่ 3.1
แบบฝึกชุดที่ 3.1แบบฝึกชุดที่ 3.1
แบบฝึกชุดที่ 3.1
 
แบบ สว.๑ กศน.ชัยนาท
แบบ สว.๑  กศน.ชัยนาทแบบ สว.๑  กศน.ชัยนาท
แบบ สว.๑ กศน.ชัยนาท
 
ฟอร์มส่งมอบงานจ้าง.pdf
ฟอร์มส่งมอบงานจ้าง.pdfฟอร์มส่งมอบงานจ้าง.pdf
ฟอร์มส่งมอบงานจ้าง.pdf
 
Job3
Job3Job3
Job3
 
เอกสารหมายเลข 11
เอกสารหมายเลข 11เอกสารหมายเลข 11
เอกสารหมายเลข 11
 
ใบความรู้ เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละอองใบความรู้ เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
 
แบบรายงานการเดินทาง
แบบรายงานการเดินทางแบบรายงานการเดินทาง
แบบรายงานการเดินทาง
 
แบบฟอร์มถอดถอนรัฐมนตรี
แบบฟอร์มถอดถอนรัฐมนตรี แบบฟอร์มถอดถอนรัฐมนตรี
แบบฟอร์มถอดถอนรัฐมนตรี
 
Ts 05 ph
Ts 05  phTs 05  ph
Ts 05 ph
 

More from Nurat Puankhamma

อายุความ
อายุความอายุความ
อายุความ
Nurat Puankhamma
 
ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9
Nurat Puankhamma
 
ท่องเที่ยว8
ท่องเที่ยว8ท่องเที่ยว8
ท่องเที่ยว8
Nurat Puankhamma
 
6หลักทั่วไปส่วนท้าย
6หลักทั่วไปส่วนท้าย6หลักทั่วไปส่วนท้าย
6หลักทั่วไปส่วนท้าย
Nurat Puankhamma
 
4เช็ค
4เช็ค4เช็ค
4เช็ค
Nurat Puankhamma
 
3ตั๋วสัญญาใช้เงิน
3ตั๋วสัญญาใช้เงิน3ตั๋วสัญญาใช้เงิน
3ตั๋วสัญญาใช้เงิน
Nurat Puankhamma
 
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรมกฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
Nurat Puankhamma
 
ความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปิดเสรีด้านการท่องเที่ยว
ความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปิดเสรีด้านการท่องเที่ยวความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปิดเสรีด้านการท่องเที่ยว
ความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปิดเสรีด้านการท่องเที่ยว
Nurat Puankhamma
 
5บริษัทมหาชนจำกัด
5บริษัทมหาชนจำกัด5บริษัทมหาชนจำกัด
5บริษัทมหาชนจำกัด
Nurat Puankhamma
 
ประกันภัยค้ำจุน
ประกันภัยค้ำจุนประกันภัยค้ำจุน
ประกันภัยค้ำจุน
Nurat Puankhamma
 
ประกันในการรับขน
ประกันในการรับขนประกันในการรับขน
ประกันในการรับขน
Nurat Puankhamma
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
Nurat Puankhamma
 
Time sharing
Time sharingTime sharing
Time sharing
Nurat Puankhamma
 

More from Nurat Puankhamma (13)

อายุความ
อายุความอายุความ
อายุความ
 
ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9
 
ท่องเที่ยว8
ท่องเที่ยว8ท่องเที่ยว8
ท่องเที่ยว8
 
6หลักทั่วไปส่วนท้าย
6หลักทั่วไปส่วนท้าย6หลักทั่วไปส่วนท้าย
6หลักทั่วไปส่วนท้าย
 
4เช็ค
4เช็ค4เช็ค
4เช็ค
 
3ตั๋วสัญญาใช้เงิน
3ตั๋วสัญญาใช้เงิน3ตั๋วสัญญาใช้เงิน
3ตั๋วสัญญาใช้เงิน
 
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรมกฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
 
ความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปิดเสรีด้านการท่องเที่ยว
ความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปิดเสรีด้านการท่องเที่ยวความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปิดเสรีด้านการท่องเที่ยว
ความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปิดเสรีด้านการท่องเที่ยว
 
5บริษัทมหาชนจำกัด
5บริษัทมหาชนจำกัด5บริษัทมหาชนจำกัด
5บริษัทมหาชนจำกัด
 
ประกันภัยค้ำจุน
ประกันภัยค้ำจุนประกันภัยค้ำจุน
ประกันภัยค้ำจุน
 
ประกันในการรับขน
ประกันในการรับขนประกันในการรับขน
ประกันในการรับขน
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
 
Time sharing
Time sharingTime sharing
Time sharing
 

การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย

  • 1. 1 ตัวอย่างการเขียนตอบข้อสอบอุทาหรณ์/ข้อสอบตุ๊กตา (ส่วนที่ 1) กรณีตามปัญหา (ประมวลกฎหมาย หรือ พระราชบัญญัติ)……… หลักกฎหมาย วางหลักกฎหมายไว้ว่า …………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… (ส่วนที่ 2) จากกรณีปัญหาข้อเท็จจริงดังกล่าว การที่………………………………………………….. การปรับข้อเท็จจริง …………………………………………………………………………………………….. เข้ากับหลักกฎหมาย …………………………………………………………………………………………….. หรือ จากกรณีปัญหาข้อเท็จจริงดังกล่าว มีประเด็นที่ต้องวินิจฉัยดังต่อไปนี้ ประเด็นที่ 1 ......................................................................................... …………………………………………………………………………………………………. ประเด็นที่ 2……………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. (ส่วนที่ 3) ด้วยเหตุผลดังที่วินิจฉัยมาแล้วข้างต้น……………………………................. สรุปคาตอบ ……………………………………………………………………………....................... แนวการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย อาจารย์นุรัตน์ ปวนคามา 1 หลายท่านอาจสงสัยว่าในเมื่อมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรายวิชากฎหมายที่เรียนอยู่นั้น อาจเพียงพอสาหรับการสอบในแต่ละครั้งแล้ว แต่หารู้ไม่ว่าการรู้เทคนิคและวิธีการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย จะทาให้การเขียนตอบข้อสอบมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งนักศึกษามักจะมองข้ามและขาดการฝึกฝนก่อนที่จะ ลงสอบสนามจริง จึงทาให้เมื่อเจอข้อสอบมักจะเกิดคาถามอยู่ในใจว่าไม่รู้จะเริ่มต้นเขียนอย่างไร จะเรียบ เรียงคาตอบอย่างไรเพื่อให้ได้คะแนน ด้วยเหตุนี้การฝึกฝนทาข้อสอบเก่าหรือโจทย์ปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับวิชาที่ เรียนบ่อยๆ จนชานาญ จะทาให้ผู้เรียนได้จัดระบบความคิดและความรู้ที่มีจากการอ่านและการเข้าเรียน กลั่นกรองผ่านลายลักษณ์อักษรให้ผู้ตรวจข้อสอบเห็นว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในรายวิชาดังกล่าวและ สามารถปรับใช้หลักกฎหมายได้อย่างสมเหตุสมผล อนึ่ง การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย มี 2 ลักษณะ กล่าวคือ ลักษณะแรก เป็นการเขียนตอบ ข้อสอบอุทาหรณ์ หรือข้อสอบตุ๊กตา ซึ่งต้องการชี้วัดการนาหลักกฎหมายมาปรับใช้กับข้อเท็จจริงที่โจทย์ กาหนดขึ้น และลักษณะที่สอง การเขียนตอบข้อสอบแบบบรรยายหรือเรียงความ เพื่อต้องการชี้วัดความเข้าใจ หลักกฎหมายโดยผ่านการอธิบาย และสะท้อนให้เห็นว่าผู้เรียนสามารถจัดระบบความคิดของตัวเองได้ ซึ่งการ เขียนตอบปัญหาข้อสอบกฎหมายทั้งสองลักษณะดังกล่าวข้างต้น มีโครงสร้าง ดังต่อไปนี้ 1. การเขียนตอบข้อสอบอุทาหรณ์ หรือ ข้อสอบตุ๊กตา 1 อาจารย์ประจาสานักวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ใข้ประกอบการสอนรายวิชากฎหมาย เอกเทศสัญญา 1 ประจาปีการศึกษา 2557 ภาคเรียนที่ 1
  • 2. 2 ตัวอย่างเช่น มีชัยทาสัญญาเช่าตึกแถวของรื่นเริงมีกาหนด 3 ปี สัญญาเช่าข้อหนึ่งระบุว่าถ้ามีการปลูกสร้าง ดัดแปลงหรือต่อเติมที่ผู้เช่าได้กระทาขึ้น โดยได้รับอนุญาตหรือไม่ก็ดีให้ตกเป็นทรัพย์ของผู้ให้เช่า ก่อนครบ กาหนดอายุสัญญาเช่า มีชัยได้รื้อตึกแถวบางส่วนเพราะทรุดมากแล้วสร้างขึ้นใหม่เพื่อความสวยงามและความ ปลอดภัย โดยรื่นเริงอนุญาตและได้ทาสัญญาให้มีชัยเช่าต่อไปอีก 7 ปี แต่ไม่ได้จดทะเบียนการเช่า มีชัยเช่า ตึกแถวตามสัญญาเช่าฉบับหลังได้ 3 ปี รื่นเริงบอกเลิกการเช่าและฟ้องขับไล่มีชัย แต่มีชัยไม่ยอมออก และได้ ต่อสู้ว่าสัญญาเช่ายังไม่ครบ 7 ปี ซึ่งสัญญาเช่าฉบับหลังเป็นสัญญาต่างตอบแทนยิ่งกว่าสัญญาเช่าธรรมดา รื่น เริงจึงไม่มีสิทธิบอกเลิกการเช่าดังกล่าวได้ ดังนี้ ข้อต่อสู้ของมีชัยฟังขึ้นหรือไม่?2 แนวการเขียนตอบ (ส่วนที่ 1) กรณีตามปัญหาประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์วางหลักกฎหมายไว้ว่า การเช่า อสังหาริมทรัพย์ หากไม่มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิดเป็นสาคัญ จะ ฟ้องร้องบังคับคดีไม่ได้ แต่หากการเช่ามีกาหนดระยะเวลากว่า 3 ปีขึ้นไป และไม่ได้ทาเป็นหนังสือและจด ทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ สัญญาเช่าดังกล่าวนั้นจะฟ้องร้องบังคับคดีได้เพียง 3 ปีเท่านั้น (มาตรา 538) (ส่วนที่ 2) จากกรณีปัญหาข้อเท็จจริงดังกล่าววินิจฉัยได้ดังต่อไปนี้ การที่รื่นเริงอนุญาตให้มีชัยรื้อถอนตึกแถวบางส่วนเพราะทรุดมากและให้สร้างขึ้นใหม่เพื่อ ความสวยงามและความปลอดภัยนั้น เป็นการกระทาที่มีชัยมุ่งหมายต่อผลประโยชน์ของตนโดยเฉพาะ ไม่ใช่ เป็นการก่อสร้างตึกแถวบางส่วนขึ้นใหม่เพื่อตอบแทนในการที่รื่นเริงให้เช่าตึกแถวทั้งหมดและไม่ใช่กรณีที่รื่น เริงตกลงให้มีชัยซ่อมแซมใหญ่เพื่อตอบแทนการได้เช่าตึกแถวนั้นต่อไป ส่วนที่รื่นเริงตกลงให้มีชัยเช่าต่อไปอีก 7 ปี เป็นเพียงการทาสัญญาเช่าธรรมดามิใช่สัญญาเช่าต่างตอบแทนยิ่งกว่าสัญญาเช่าธรรมดา ทั้งข้อสัญญาเดิมที่ ระบุว่า ถ้ามีการปลูกสร้างดัดแปลงหรือต่อเติมที่ผู้เช่าได้กระทาขึ้นโดยได้รับอนุญาตหรือไม่ก็ตาม ให้ตกเป็น ทรัพย์ของผู้ให้เช่านั้นก็มิใช่การกระทาที่เป็นการตอบแทนที่จะเป็นเหตุให้รื่นเริงต้องยอมให้มีชัยเช่าตึกแถว เพราะเป็นข้อตกลงที่มีชัยจะกระทาหรือไม่ก็สุดแล้วแต่มีชัย ข้อสัญญาดังกล่าวจึงไม่มีลักษณะเป็นสัญญาต่าง ตอบแทนยิ่งกว่าสัญญาเช่าธรรมดา เมื่อสัญญาเช่าฉบับหลังไม่ได้จดทะเบียนจึงบังคับกันได้เพียง 3 ปี และเมื่อ ข้อเท็จจริงปรากฏว่ามีชัยได้เช่ามาแล้ว 3 ปี รื่นเริงจึงมีสิทธิที่จะบอกเลิกสัญญาเช่าต่อมีชัยและให้มีชัยออกจาก ตึกแถวที่เช่าได้ ข้ออ้างของมีชัยจึงฟังไม่ขึ้น (ส่วนที่ 3) ด้วยเหตุผลดังที่วินิจฉัยมาแล้วข้างต้น ข้ออ้างของมีชัยจึงฟังไม่ขึ้น มีชัยต้องออกจากตึกแถวที่ เช่าดังกล่าว 2 เทียบเคียงคาพิพากษาฎีกาที่ 1109/2534
  • 3. 3 ตัวอย่างการเขียนตอบข้อสอบแบบบรรยาย/เรียงความ (ส่วนที่ 1) อธิบายบทนิยาม/ความหมาย พร้อมยกตัวอย่างประกอบ ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………. (ส่วนที่ 2) เปรียบเทียบข้อเหมือน/ข้อแตกต่าง (ถ้ามี) …………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………. 2. การเขียนตอบข้อสอบแบบบรรยาย หรือเรียงความ ตัวอย่างเช่น จงเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหว่างสัญญาเช่าทรัพย์และสัญญาเช่าซื้อ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ แนวการเขียนตอบ (ส่วนที่ 1 ) สัญญาเช่าทรัพย์ คือ สัญญาที่บุคคลคนหนึ่งตกลงให้ผู้เช่าได้ใช้หรือได้ประโยชน์ในทรัพย์สินที่ เช่า โดยได้รับค่าตอบแทนและผู้เช่าตกลงจะชาระราคาเช่าเพื่อการนั้นเป็นการตอบแทน เช่น บูเก้ทาสัญญาเช่า ห้องพักห้องหนึ่งจากหลิว โดยหลิวคิดค่าเช่าเดือนละ 4,5000 บาท บูเก้มีหน้าที่ต้องชาระค่าเช่าในแต่ละเดือน ตามที่ตกลงกัน ในขณะที่หลิวมีหน้าที่ส่งมอบห้องเช่าให้กับบูเก้ได้ใช้ประโยชน์ สัญญาเช่าซื้อ คือ สัญญาที่เจ้าของเอาทรัพย์สินออกให้เช่าและให้คามั่นว่าจะขายทรัพย์สิน นั้นหรือจะให้ทรัพย์สินนั้นตกเป็นสิทธิของผู้เช่าซื้อ โดยเงื่อนไขที่ผู้เช่าซื้อได้ใช้เงินเป็นจานวนเท่านั้นเท่านี้คราว เช่น ลุงปันได้เช่าซื้อคอนโดมิเนียม 1 ห้องจากพรหล้า โดยตกลงชาระค่าเช่าซื้อกันทุกเดือน ๆ ละ 100,000 บาท เป็นเวลา 10 เดือน และเมื่อลุงปันชาระราคาครบทุกงวดแล้ว ลุงปันย่อมได้กรรมสิทธิ์ในคอนโดมิเนียม ห้องดังกล่าว (ส่วนที่ 2) อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของสัญญาเช่าทรัพย์ และสัญญาเช่าซื้อ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์นั้น อาจแยกพิจารณาได้เป็น 2 ประการสาคัญ กล่าวคือ ประการแรก ความเหมือนระหว่างสัญญาเช่าทรัพย์และสัญญาเช่าซื้อ กล่าวคือ (1) เป็นสัญญาต่างตอบแทน ซึ่งคู่สัญญาต่างมีสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดในระหว่างกัน (2) วัตถุแห่งทรัพย์ที่เช่า ซึ่งสัญญาเช่าทรัพย์และสัญญาเช่าซื้อมีลักษณะที่เหมือนกัน เนื่องจากมี ลักษณะของการนาทรัพย์สินออกให้เช่า
  • 4. 4 ประการที่สอง ความแตกต่างระหว่างสัญญาเช่าทรัพย์และสัญญาเช่าซื้อ (1) ในสัญญาเช่าทรัพย์ ผู้ให้เช่าไม่จาเป็นต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สินที่ให้เช่าก็สามารถทาสัญญาเช่าได้ แต่ในสัญญาเช่าซื้อนั้น ผู้ให้เช่าซื้อต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สินที่ให้เช่าซื้อ (มาตรา 572) เนื่องจากจะต้องมีการ โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่าซื้อจากผู้ให้เช่าซื้อไปยังผู้เช่าซื้อ เมื่อมีการชาระค่าเช่าซื้อครบถ้วน (2) วัตถุประสงค์ของสัญญาเช่าทรัพย์นั้น คือการให้ผู้เช่าได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินที่เช่า (มาตรา 537) ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ในวัตถุของสัญญาเช่า ในขณะที่สัญญาเช่าซื้อนั้น วัตถุประสงค์หลักคือการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่าซื้อ (3) ค่าตอบแทนในสัญญาเช่าทรัพย์ที่เรียกว่า “ค่าเช่า” นั้น จะเป็นเงินหรือเป็นสิ่งอื่นก็ได้ แต่ค่าเช่าซื้อ นั้นต้องเป็นเงินเสมอ (มาตรา 572) (4) สัญญาเช่าทรัพย์ไม่ต้องทาตามแบบ ไม่ว่าจะเป็นการเช่าสังหาริมทรัพย์หรืออสังหาริมทรัพย์จะมี เพียงว่าสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์จะต้องทาตามหลักเกณฑ์ที่มาตรา 538 กาหนดไว้ ซึ่งมาตราดังกล่าวไม่ถือว่า เป็นบทบัญญัติในแบบของสัญญาเช่า เพราะมิได้กาหนดผลไว้ว่าถ้าไม่ทาแล้วจะทาให้สัญญาเช่านั้นตกเป็นโมฆะ ส่วนในสัญญาเช่าซื้อนั้น มาตรา 572 วรรคสอง กาหนดเรื่องแบบในการทาสัญญาเช่าซื้อไว้ และหากไม่ทาตาม เป็นหนังสือจะตกเป็นโมฆะ (5) แม้ว่าสัญญาเช่าทรัพย์และสัญญาเช่าซื้อต่างก็เป็นสัญญาต่างตอบแทนด้วยกันและคู่สัญญาต่างมี สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดในระหว่างกัน การที่จะเลิกสัญญาได้นั้นโดยปกติจะเลิกตามความต้องการของฝ่าย หนึ่งฝ่ายใดไม่ได้ ดังนั้นในสัญญาเช่าทรัพย์ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะเลิกสัญญาตามอาเภอใจไม่ได้ เว้นแต่เข้ากรณีที่ กฎหมายหรือสัญญากาหนดไว้ แต่ในสัญญาเช่าซื้อนั้น มาตรา 573 กาหนดให้ผู้เช่าซื้อมีสิทธิที่บอกเลิกสัญญา เช่าซื้อในเวลาใดก็ได้ ไม่ว่าผู้เช่าซื้อจะมีเหตุผลหรือไม่มีเหตุผลใดก็ตาม ซึ่งผู้ให้เช่าซื้อหาได้มีสิทธิดังกล่าวไม่ (6) สัญญาเช่าทรัพย์คานึงถึงคุณสมบัติของผู้เช่าเป็นสาระสาคัญ ผู้เช่าตายสัญญาเช่าย่อมระงับ แต่ใน สัญญาเช่าซื้อนั้น สัญญาเช่าซื้อไม่ใช่สัญญาเช่าทรัพย์ธรรมดา แต่มีคามั่นว่าจะขายทรัพย์โดยมีเงื่อนไขการชาระ เงินคืนเป็นครั้งคราวรวมอยู่ด้วย ถ้าผู้เช่าซื้อชาระเงินแก่ผู้ให้เช่าซื้อครบถ้วนตามเงื่อนไขก็ได้กรรมสิทธิ์ใน ทรัพย์สินนั้น ซึ่งสิทธิที่จะได้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นไม่ใช่สิทธิเฉพาะตัว สัญญาเช่าซื้อจึงมีผลที่อาจสืบสิทธิกัน ได้