SlideShare a Scribd company logo
กฎหมาย
ลักษณะนิติกรรม
เปเป้ 531121708 ป้ าง 531121720 ษา 531121735 สวย 531121737
สมาชิกกลุ่ม 2
กฎหมาย
ลักษณะนิติกรรม
1. ความหมายของนิติกรรม
2. องค์ประกอบของนิติกรรม
3. ประเภทของนิติกรรม
4. ความไม่สมบูรณ์ของนิติกรรม
5. การแสดงเจตนา
6. เงื่อนไขและเงื่อนเวลา
7. อายุความ
ความหมายของนิติกรรม
นิติกรรม หมายถึง การใดๆ อันทาลงโดยชอบ
ด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อ
การผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ
เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
2. องค์ประกอบของนิติกรรม
2.1 เป็นการแสดงเจตนาของบุคคล
• นิติกรรมต้องเป็นการกระทาของ
บุคคล แต่หากเป็นการกระทาของ
สัตว์หรือสิ่งของย่อมไม่เป็นนิติกรรม
เช่น ลิงหรือหุ่นยนต์ไปซื้อขนมเค้ก
ย่อมไม่ใช่การกระทาของบุคคลจึงไม่
เป็นนิติกรรม
2.2 เป็นการกระทาที่ชอบด้วยกฎหมาย
• นิติกรรมต้องเป็นการกระทาที่ชอบ
หรือถูกกฎหมาย หากบุคคลแสดง
เจตนาทานิติกรรมโดยไม่ชอบด้วย
กฎหมาย แม้บุคคลนั้นจะประสงค์ให้
เกิดผลผูกพันก็ตาม กฎหมายนั้นก็จะ
โมฆะ เช่น ทานิติกรรมซื้อขายยาบ้า
จ้างมือปืนฆ่าคน เป็นต้น
2. องค์ประกอบของนิติกรรม (ต่อ)
2.3 การผูกนิติสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
• หากบุคคลกระทาการโดยไม่มุ่ง
ผูกพันทางกฎหมายต่อบุคคลอื่น ไม่
ว่าจะเป็นการพูดเล่น การแสดง
อัธยาศัยไมตรีทางสังคม การกระทา
เหล่านี้ย่อมไม่เป็นนิติกรรม เช่น
คุณครูสัญญาว่าจะพาไปเที่ยวเกาหลี
แล้วลืมทาตามที่สัญญาไว้
พูดจาล้อเล่นว่าจะพาไปเลี้ยงข้าวและ
ดูหนัง เป็นต้น
2.4 เป็นการกระทาโดยสมัครใจ
• การแสดงเจตนาออกมาโดยอิสระและ
ตรงกับความรู้สึกนึกคิด ปราศจาก
ความสาคัญผิดหรือถูกทากลฉ้อฉล
หลอกลวงหรือขู่เข็ญบังคับ
2. องค์ประกอบของนิติกรรม (ต่อ)
2.5 เป็นการกระทาที่ก่อให้เกิดการเคลื่อนไหวแห่งสิทธิ
• การเคลื่อนไหวแห่งสิทธิ ได้แก่ การก่อ เปลี่ยนแปลง โอน
สงวน หรือระงับสิทธิ เช่น ทานิติกรรมซื้อขายเป็นการโอน
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อและโอน
กรรมสิทธิ์ในเงินจากผู้ซื้อไปยังผู้ขายหรือชาระหนี้ทาให้
ระงับลง เป็นต้น
3. ประเภทของนิติกรรม
• 3.1 แบ่งตามฝ่ ายที่เข้าทานิติกรรม
1) นิติกรรมฝ่ ายเดียว หมายถึง นิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคคล
เพียงฝ่ายเดียว เช่น การทาพินัยกรรม การปลดหนี้ การบอกเลิกสัญญา การชาระหนี้
เป็นต้น
2) นิติกรรมหลายฝ่ าย หมายถึง นิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคคล
ตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป เช่น สัญญาซื้อขาย สัญญากู้ยืมเงิน สัญญาเช่าทรัพย์เป็นต้น
3. ประเภทของนิติกรรม (ต่อ)
• 3.2 แบ่งตามเวลาที่นิติกรรมมีผล
1) นิติกรรมที่มีผลในระหว่างที่ผู้ทานิติกรรมมีชีวิตอยู่ หมายถึง นิติกรรมที่ผู้ทา
นิติกรรมมีเจตนาจะให้มีผลในระหว่างที่ตนยังมีชีวิตอยู่ อาจเป็นนิติกรรมฝ่ายเดียว
หรือสองฝ่ายก็ได้
2) นิติกรรมที่มีผลเมื่อผู้ทานิติกรรมตายแล้ว หมายถึง นิติกรรมที่เกิดขึ้นแล้วใน
ขณะที่ผู้ทานิติกรรมยังมีชีวิตอยู่ เช่น การทาพินัยกรรม นิติกรรมที่กาหนดเงื่อนเวลา
ไว้ให้มีผลเมื่อผู้ทานิติกรรมถึงแก่ความตาย
3. ประเภทของนิติกรรม (ต่อ)
• 3.3 แบ่งตามวิธีการที่ทาให้นิติกรรมสมบูรณ์
1) นิติกรรมที่สมบูรณ์ด้วยการแสดงเจตนา หมายถึง นิติกรรมที่มีผลสมบูรณ์
และใช้บังคับได้ทันทีเมื่อมีการแสดงเจตนาของผู้ทานิติกรรม เช่นสัญญาจ้าง
แรงงาน สัญญาจ้างทาของ สัญญาเช่าทรัพย์เป็นต้น
2) นิติกรรมที่สมบูรณ์เมื่อได้ทาตามแบบที่กฎหมายกาหนด หมายถึง นิติกรรมที่
ลาพังเพียงแต่การแสดงเจตนาของผู้ทานิติกรรมยังไม่ทาให้นิติกรรมนั้นสมบูรณ์
นิติกรรมนั้นสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อผู้ทานิติกรรมได้ทาให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมาย
กาหนดไว้
4. ความไม่สมบูรณ์ของนิติกรรม
นิติกรรมที่ไม่สมบูรณ์ หมายถึง
นิติกรรมที่มีความผิดปกติบางอย่าง
ในการก่อนิติกรรมนั้น ซึ่งความ
ผิดปกตินี้ทาให้กฎหมายไม่ยอมรับ
ให้นิติกรรมมีผลในทางกฎหมาย
ได้แก่ โมฆะกรรมและ
โมฆียะกรรม
ความหมายโมฆะกรรม
• โมฆะกรรม คือ การที่นิติกรรมเสียเปล่าไม่ก่อให้เกิดผลใดๆ ในทางกฎหมายมา
ตั้งแต่ทานิติกรรม ความเสียเปล่านั้นเกิดขึ้นทันทีที่มีการทานิติกรรมที่กฎหมาย
กาหนดให้มีผลเป็นโมฆะ
4. 1 โมฆะกรรม
4.1.1 เหตุที่ทาให้นิติกรรมตกเป็นโมฆะ
• วัตถุประสงค์
• แบบ
• การแสดงเจตนาซ่อนเร้น
• การแสดงเจตนาลวง
• การแสดงเจตนาโดยสาคัญใน
สาระสาคัญ
4.1.2 ผลของโมฆะกรรม
• นิติกรรมที่ตกเป็นโมฆะจะเสียเปล่า
โดยไม่ก่อให้เกิดผลในทางกฎหมาย
ใดๆ ทั้งสิ้น สิทธิและหน้าที่ระหว่าง
คู่กรณีมีผลเสมือนไม่ได้ทานิติกรรม
นิติกรรมที่เป็นโมฆะกรรมจึงไม่อาจ
ให้สัตยาบันแก่กันได้ซึ่งแตกต่างจาก
นิติกรรมที่เป็นโมฆียะ
ความหมายโมฆียะกรรม
• โมฆียกรรม คือ นิติกรรมที่กฎหมายให้ถือว่าสมบูรณ์อยู่จนกว่าจะถูกบอกล้าง
เนื่องจากเหตุที่ทาให้นิติกรรมตกเป็นโมฆียะนั้นยังบกพร่องไม่ร้ายแรงถึงขนาดที่
จะทาให้นิติกรรมนั้นตกเป็นโมฆะ
4.2 โมฆียะกรรม
4.2.1 เหตุที่ทาให้นิติกรรมตกเป็นโมฆียะ
• ความสามารถ
• การแสดงเจตนาโดยสาคัญใน
คุณสมบัติ
• การแสดงเจตนาเพราะถูกกลฉ้อฉล
• การแสดงเจตนาเพราะถูกข่มขู่
4.2.2 ผลของโมฆียะกรรม
• นิติกรรมที่ตกเป็นโมฆียะย่อมมีผล
สมบูรณ์จนกว่าจะถูกบอกล้าง โดย
ผู้ทานิติกรรมที่ตกเป็นโมฆียะย่อม
สามารถเลือกได้ว่าจะให้สัตยาบัน
เพื่อให้นิติกรรมนั้นมีผลสมบูรณ์
ตลอดไป หรือจะบอกล้างให้นิติกรรม
นั้นเสียเปล่าตั้งแต่เริ่มต้นซึ่งจะทาให้
สถานะทางกฎหมายกลับคืนสู่ฐานะ
เดิมก่อนทานิติกรรม
5.การแสดงเจตนา
5.1 การแสดงเจตนาต่อผู้รับซึ่งอยู่เฉพาะหน้า
เป็นการแสดงเจตนาที่ผู้แสดงเจตนาสามารถติดต่อสื่อสารทาความเข้าใจต่อ
ผู้รับการแสดงเจตนาได้ทันทีโดยไม่ต้องรอ เช่น การคุยกันต่อหน้า การคุยกันทาง
โทรศัพท์ การส่งโทรสารที่ผู้รับรอรับอยู่ในขณะนั้น
5.2 การแสดงเจตนาต่อผู้รับซึ่งไม่ได้อยู่เฉพาะหน้า
เป็นการแสดงเจตนาต่อผู้รับการแสดงเจตนาซึ่งมีลักษณะที่ผู้รับไม่สามารถ
ทราบเจตนาของผู้แสดงเจตนาได้ทันทีแต่ต้องทิ้งช่วงเวลา ได้แก่ การแสดงจดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ การส่งโทรเลข เป็นต้น
ตัวอย่าง การแสดงเจตนาต่อผู้รับซึ่งไม่ได้อยู่เฉพาะหน้า
• ชมพู่แสดงเจตนาตกลงทาสัญญาซื้อขายกับวีรภาพ โดยทาเป็นจดหมายและส่งไปที่
บ้านของวีรภาพในวันที่ 15 ธันวาคม 2556 จดหมายดังกล่าวไปถึงบ้านของวีรภาพ
ในวันที่ 30 ธันวาคม 2556 โดยวีรภาพได้เปิดอ่านและทราบข้อความในจดหมายใน
วันที่ 30 ธันวาคม 2556
ดังนั้น การแสดงเจตนาของชมพู่มีผลในวันที่ 15 ธันวาคม 2556 เพราะเป็น
วันที่การแสดงเจตนาไปถึงผู้รับการแสดงเจตนา แม้ว่าวีรภาพจะได้รับการแสดง
เจตนาของชมพู่ในวันที่ 30 ธันวาคม 2556 ก็ตาม
6. เงื่อนไขและเงื่อนเวลา
6.1 เงื่อนไข
• เงื่อนไข หมายถึง ข้อความที่บังคับให้
นิติกรรมเป็นผลหรือสิ้นผลต่อเมื่อมี
เหตุการณ์อันไม่แน่นอนว่าจะเกิดขึ้น
1) เงื่อนไขบังคับก่อน ถ้าข้อความที่
ระบุไว้ในเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นนิติ
กรรมก็จะมีผล
2) เงื่อนไขบังคับหลัง ถ้าข้อความที่
ระบุไว้ในหลังเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้น
นิติกรรมก็จะสิ้นผลไป
6.2 เงื่อนเวลา
• เงื่อนเวลา หมายถึง ข้อความที่บังคับ
ไว้ให้นิติกรรมเป็นผลหรือสิ้นผล
ต่อเมื่อถึงระยะเวลาใดระยะเวลาหนึ่ง
ในอนาคต
1) เงื่อนเวลาเริ่มต้น ระยะเวลาที่
กาหนดทานิติกรรม เมื่อครบกาหนด
นิติกรรมก็จะมีผลบังคับใช้
2) เงื่อนเวลาสิ้นสุด เมื่อครบกาหนด
นิติกรรมนั้นก็จะสิ้นผลไป
7. อายุความ
• อายุความ หมายถึง กาหนดระยะเวลาที่กฎหมายกาหนดให้เจ้าหนี้สามารถใช้สิทธิ
เรียกร้องของตนด้วยการฟ้องร้องต่อศาล หากเจ้าหนี้ไม่ได้ใช้สิทธิของตนภายใน
เวลาที่กฎหมายกาหนดสิทธิเรียกร้องดังกล่าวก็จะขาดอายุความ
ลูกหลานมีสิทธิเรียกร้องมรดก แต่ไม่ควรฟ้องคดีมรดกเมื่อ
พ้นกาหนดสิบปีนับแต่เมื่อปู่ซึ่งเป็นเจ้าของมรดกตาย
กล่าวคือ ทายาทโดยธรรมที่มีสิทธิในกองมรดกที่ไม่รู้
หรือไม่ควรรู้ถึงความตายของเจ้ามรดก ผู้รับพินัยกรรมที่
ไม่รู้หรือไม่ควรรู้ถึงสิทธิซึ่งตนมีอยู่ตามพินัยกรรม ซึ่งอาจ
ฟ้องคดีเมื่อพ้นกาหนด 1 ปี นับแต่มารู้ถึงความตายของเจ้า
มรดกหรือสิทธิตามพินัยกรรมในภายหลังได้ แต่จะอ้าง
ความไม่รู้ดังกล่าวมาเป็นเหตุฟ้องร้องเมื่อพ้นกาหนด 10 ปี
นับตั้งแต่เจ้ามรดกตายไม่ได้
ตัวอย่าง อายุความ
แบบทดสอบ
• ข้อที่ 1. ข้อใด ไม่ใช่ องค์ประกอบของ
นิติกรรม
ก. เป็นการแสดงเจตนาของบุคคล
ข. เป็นการกระทาที่ชอบด้วยกฎหมาย
ค. เป็นการกระทาโดยโดนบังคับ
ง. เป็นการกระทาโดยสมัครใจ
เฉลย ค. เป็นการกระทาโดยโดนบังคับ
เหตุผล เพราะองค์ประกอบของนิติ
กรรมมี 5 ประการ ดังนี้คือ
1. เป็นการแสดงเจตนาของบุคคล
2. เป็นการกระทาที่ชอบด้วยกฎหมาย
3. เป็นการกระทาที่มุ่งผูกนิติสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล
4. เป็นการกระทาโดยสมัครใจ
5. เป็นการกระทาที่ก่อให้เกิดการ
เคลื่อนไหวแห่งสิทธิ
แบบทดสอบ (ต่อ)
• ข้อที่ 2 เปเป้ ขับรถชนตั๊ก จนตั๊กขาหัก
กรณีนี้เปเป้ เองไม่ได้สมัครใจจะให้
เกิดผลทางกฎหมายแต่อย่างใด แต่
กฎหมายได้กาหนดให้การกระทาของเป
เป้ เป็นละเมิดและมีความผูกพันกันตาม
กฎหมายที่จะต้องชดใช้ค่าสินไหม
ทดแทนให้ตั๊ก ประโยคนี้หมายถึงข้อใด
ก. นิติกรรม
ข.นิติเหตุ
ค.นิติศาสตร์
ง.การแสดงเจตนาของบุคคล
• เฉลย ข. นิติเหตุ
เหตุผล เพราะนิติเหตุ หมายถึง เหตุการณ์ที่
เกิดขึ้นจากการกระทาของบุคคลหรือเกิดขึ้น
ตามธรรมชาติ ซึ่งเหตุการณ์นั้นไม่มีผู้ใด
สมัครใจจะให้เกิดผลทางกฎหมาย แต่
กฎหมายได้กาหนดให้เหตุการณ์เหล่านั้นมี
ผลทางกฎหมายและก่อให้เกิดความ
เคลื่อนไหวแห่งสิทธิขึ้น
แบบทดสอบ (ต่อ)
• ข้อที่ 3. ข้อใดถือว่าเป็นนิติกรรมที่
เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของ
บุคคลเพียงฝ่ายเดียว
ก. การทาพินัยกรรม
ข. สัญญาซื้อขาย
ค. สัญญากู้ยืมเงิน
ง. สัญญาให้โดยเสน่หา
• เฉลย ก. การทาพินัยกรรม
เหตุผล เพราะการทาพินัยกรรมเป็น
การแสดงเจตนาของบุคคลเพียงฝ่าย
เดียว ซึ่งแตกต่างกับสัญญาซื้อขาย
สัญญากู้ยืมเงิน และสัญญาให้โดย
เสน่หา ที่ต้องแสดงเจตนาของบุคคล
ตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป
แบบทดสอบ (ต่อ)
• ข้อที่ 4. เงื่อนเวลามีกี่ประเภท
ก. 2 ประเภท
ข. 3 ประเภท
ค. 4 ประเภท
ง. 5 ประเภท
• เฉลย ก. 2 ประเภท
เหตุผล เพราะ เงื่อนเวลามี 2 ประเภท
คือ เงื่อนเวลาเริ่มต้น กับเงื่อนเวลา
สิ้นสุด
แบบทดสอบ (ต่อ)
• ข้อที่ 5. แดงทาสัญญาขายหนังสือ
ให้แก่ดา โดยมีข้อตกลงว่าหากแดง
สามารถสอบเข้าเรียนในคณะ
นิติศาสตร์ได้ก็ให้นิติกรรมขาย
หนังสือดังกล่าวมีผล ประโยค
ดังกล่าวถือเป็นเงื่อนไขแบบใด
ก. เงื่อนไขบังคับก่อน
ข. เงื่อนไขบังคับหลัง
ค. เงื่อนไขเริ่มต้น
ง. เงื่อนไขสิ้นสุด
• เฉลย ก. เงื่อนไขบังคับก่อน
เหตุผล เพราะเงื่อนไขบังคับก่อนคือ
ข้อความที่ระบุเหตุการณ์อันไม่
แน่นอนไว้และถ้าเหตุการณ์นั้น
เกิดขึ้นนิติกรรมก็จะมีผล ดังนั้น หาก
แดงสามารถสอบเข้าเรียนในคณะ
นิติศาสตร์ได้ นิติกรรมดังกล่าวก็จะมี
ผลทันที ดาต้องคืนหนังสือแก่แดง
และแดงต้องคืนเงินค่าหนังสือให้ดา
กฎหมายนิติกรรม

More Related Content

What's hot

กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
Yosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
Yosiri
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันEyezz Alazy
 
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
พัน พัน
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
Yosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
Yosiri
 
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
Nurat Puankhamma
 
บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้
Chi Wasana
 
บทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรมบทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรม
Chi Wasana
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
AJ Por
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
Yosiri
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
Yosiri
 
บทที่ 3สัญญา
บทที่ 3สัญญาบทที่ 3สัญญา
บทที่ 3สัญญา
Chi Wasana
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
Yosiri
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
montira
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
Yosiri
 
กล่องนม
กล่องนมกล่องนม
กล่องนมNIng Bussara
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายNurat Puankhamma
 
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
ssuser124dc9
 

What's hot (20)

กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
 
บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้
 
บทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรมบทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรม
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
บทที่ 3สัญญา
บทที่ 3สัญญาบทที่ 3สัญญา
บทที่ 3สัญญา
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กล่องนม
กล่องนมกล่องนม
กล่องนม
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
 
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
 

More from Yosiri

กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
Yosiri
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
Yosiri
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
Yosiri
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
Yosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
Yosiri
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
Yosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
Yosiri
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17Yosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
Yosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
Yosiri
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัวYosiri
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
Yosiri
 
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้ากฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
Yosiri
 
กฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตรกฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตร
Yosiri
 
กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์
Yosiri
 

More from Yosiri (15)

กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัว
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
 
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้ากฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
 
กฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตรกฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตร
 
กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์
 

กฎหมายนิติกรรม

  • 2. เปเป้ 531121708 ป้ าง 531121720 ษา 531121735 สวย 531121737 สมาชิกกลุ่ม 2
  • 3. กฎหมาย ลักษณะนิติกรรม 1. ความหมายของนิติกรรม 2. องค์ประกอบของนิติกรรม 3. ประเภทของนิติกรรม 4. ความไม่สมบูรณ์ของนิติกรรม 5. การแสดงเจตนา 6. เงื่อนไขและเงื่อนเวลา 7. อายุความ
  • 4. ความหมายของนิติกรรม นิติกรรม หมายถึง การใดๆ อันทาลงโดยชอบ ด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อ การผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
  • 5. 2. องค์ประกอบของนิติกรรม 2.1 เป็นการแสดงเจตนาของบุคคล • นิติกรรมต้องเป็นการกระทาของ บุคคล แต่หากเป็นการกระทาของ สัตว์หรือสิ่งของย่อมไม่เป็นนิติกรรม เช่น ลิงหรือหุ่นยนต์ไปซื้อขนมเค้ก ย่อมไม่ใช่การกระทาของบุคคลจึงไม่ เป็นนิติกรรม 2.2 เป็นการกระทาที่ชอบด้วยกฎหมาย • นิติกรรมต้องเป็นการกระทาที่ชอบ หรือถูกกฎหมาย หากบุคคลแสดง เจตนาทานิติกรรมโดยไม่ชอบด้วย กฎหมาย แม้บุคคลนั้นจะประสงค์ให้ เกิดผลผูกพันก็ตาม กฎหมายนั้นก็จะ โมฆะ เช่น ทานิติกรรมซื้อขายยาบ้า จ้างมือปืนฆ่าคน เป็นต้น
  • 6. 2. องค์ประกอบของนิติกรรม (ต่อ) 2.3 การผูกนิติสัมพันธ์ระหว่างบุคคล • หากบุคคลกระทาการโดยไม่มุ่ง ผูกพันทางกฎหมายต่อบุคคลอื่น ไม่ ว่าจะเป็นการพูดเล่น การแสดง อัธยาศัยไมตรีทางสังคม การกระทา เหล่านี้ย่อมไม่เป็นนิติกรรม เช่น คุณครูสัญญาว่าจะพาไปเที่ยวเกาหลี แล้วลืมทาตามที่สัญญาไว้ พูดจาล้อเล่นว่าจะพาไปเลี้ยงข้าวและ ดูหนัง เป็นต้น 2.4 เป็นการกระทาโดยสมัครใจ • การแสดงเจตนาออกมาโดยอิสระและ ตรงกับความรู้สึกนึกคิด ปราศจาก ความสาคัญผิดหรือถูกทากลฉ้อฉล หลอกลวงหรือขู่เข็ญบังคับ
  • 7. 2. องค์ประกอบของนิติกรรม (ต่อ) 2.5 เป็นการกระทาที่ก่อให้เกิดการเคลื่อนไหวแห่งสิทธิ • การเคลื่อนไหวแห่งสิทธิ ได้แก่ การก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับสิทธิ เช่น ทานิติกรรมซื้อขายเป็นการโอน กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อและโอน กรรมสิทธิ์ในเงินจากผู้ซื้อไปยังผู้ขายหรือชาระหนี้ทาให้ ระงับลง เป็นต้น
  • 8. 3. ประเภทของนิติกรรม • 3.1 แบ่งตามฝ่ ายที่เข้าทานิติกรรม 1) นิติกรรมฝ่ ายเดียว หมายถึง นิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคคล เพียงฝ่ายเดียว เช่น การทาพินัยกรรม การปลดหนี้ การบอกเลิกสัญญา การชาระหนี้ เป็นต้น 2) นิติกรรมหลายฝ่ าย หมายถึง นิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคคล ตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป เช่น สัญญาซื้อขาย สัญญากู้ยืมเงิน สัญญาเช่าทรัพย์เป็นต้น
  • 9. 3. ประเภทของนิติกรรม (ต่อ) • 3.2 แบ่งตามเวลาที่นิติกรรมมีผล 1) นิติกรรมที่มีผลในระหว่างที่ผู้ทานิติกรรมมีชีวิตอยู่ หมายถึง นิติกรรมที่ผู้ทา นิติกรรมมีเจตนาจะให้มีผลในระหว่างที่ตนยังมีชีวิตอยู่ อาจเป็นนิติกรรมฝ่ายเดียว หรือสองฝ่ายก็ได้ 2) นิติกรรมที่มีผลเมื่อผู้ทานิติกรรมตายแล้ว หมายถึง นิติกรรมที่เกิดขึ้นแล้วใน ขณะที่ผู้ทานิติกรรมยังมีชีวิตอยู่ เช่น การทาพินัยกรรม นิติกรรมที่กาหนดเงื่อนเวลา ไว้ให้มีผลเมื่อผู้ทานิติกรรมถึงแก่ความตาย
  • 10. 3. ประเภทของนิติกรรม (ต่อ) • 3.3 แบ่งตามวิธีการที่ทาให้นิติกรรมสมบูรณ์ 1) นิติกรรมที่สมบูรณ์ด้วยการแสดงเจตนา หมายถึง นิติกรรมที่มีผลสมบูรณ์ และใช้บังคับได้ทันทีเมื่อมีการแสดงเจตนาของผู้ทานิติกรรม เช่นสัญญาจ้าง แรงงาน สัญญาจ้างทาของ สัญญาเช่าทรัพย์เป็นต้น 2) นิติกรรมที่สมบูรณ์เมื่อได้ทาตามแบบที่กฎหมายกาหนด หมายถึง นิติกรรมที่ ลาพังเพียงแต่การแสดงเจตนาของผู้ทานิติกรรมยังไม่ทาให้นิติกรรมนั้นสมบูรณ์ นิติกรรมนั้นสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อผู้ทานิติกรรมได้ทาให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมาย กาหนดไว้
  • 11. 4. ความไม่สมบูรณ์ของนิติกรรม นิติกรรมที่ไม่สมบูรณ์ หมายถึง นิติกรรมที่มีความผิดปกติบางอย่าง ในการก่อนิติกรรมนั้น ซึ่งความ ผิดปกตินี้ทาให้กฎหมายไม่ยอมรับ ให้นิติกรรมมีผลในทางกฎหมาย ได้แก่ โมฆะกรรมและ โมฆียะกรรม
  • 12. ความหมายโมฆะกรรม • โมฆะกรรม คือ การที่นิติกรรมเสียเปล่าไม่ก่อให้เกิดผลใดๆ ในทางกฎหมายมา ตั้งแต่ทานิติกรรม ความเสียเปล่านั้นเกิดขึ้นทันทีที่มีการทานิติกรรมที่กฎหมาย กาหนดให้มีผลเป็นโมฆะ
  • 13. 4. 1 โมฆะกรรม 4.1.1 เหตุที่ทาให้นิติกรรมตกเป็นโมฆะ • วัตถุประสงค์ • แบบ • การแสดงเจตนาซ่อนเร้น • การแสดงเจตนาลวง • การแสดงเจตนาโดยสาคัญใน สาระสาคัญ 4.1.2 ผลของโมฆะกรรม • นิติกรรมที่ตกเป็นโมฆะจะเสียเปล่า โดยไม่ก่อให้เกิดผลในทางกฎหมาย ใดๆ ทั้งสิ้น สิทธิและหน้าที่ระหว่าง คู่กรณีมีผลเสมือนไม่ได้ทานิติกรรม นิติกรรมที่เป็นโมฆะกรรมจึงไม่อาจ ให้สัตยาบันแก่กันได้ซึ่งแตกต่างจาก นิติกรรมที่เป็นโมฆียะ
  • 14. ความหมายโมฆียะกรรม • โมฆียกรรม คือ นิติกรรมที่กฎหมายให้ถือว่าสมบูรณ์อยู่จนกว่าจะถูกบอกล้าง เนื่องจากเหตุที่ทาให้นิติกรรมตกเป็นโมฆียะนั้นยังบกพร่องไม่ร้ายแรงถึงขนาดที่ จะทาให้นิติกรรมนั้นตกเป็นโมฆะ
  • 15. 4.2 โมฆียะกรรม 4.2.1 เหตุที่ทาให้นิติกรรมตกเป็นโมฆียะ • ความสามารถ • การแสดงเจตนาโดยสาคัญใน คุณสมบัติ • การแสดงเจตนาเพราะถูกกลฉ้อฉล • การแสดงเจตนาเพราะถูกข่มขู่ 4.2.2 ผลของโมฆียะกรรม • นิติกรรมที่ตกเป็นโมฆียะย่อมมีผล สมบูรณ์จนกว่าจะถูกบอกล้าง โดย ผู้ทานิติกรรมที่ตกเป็นโมฆียะย่อม สามารถเลือกได้ว่าจะให้สัตยาบัน เพื่อให้นิติกรรมนั้นมีผลสมบูรณ์ ตลอดไป หรือจะบอกล้างให้นิติกรรม นั้นเสียเปล่าตั้งแต่เริ่มต้นซึ่งจะทาให้ สถานะทางกฎหมายกลับคืนสู่ฐานะ เดิมก่อนทานิติกรรม
  • 16. 5.การแสดงเจตนา 5.1 การแสดงเจตนาต่อผู้รับซึ่งอยู่เฉพาะหน้า เป็นการแสดงเจตนาที่ผู้แสดงเจตนาสามารถติดต่อสื่อสารทาความเข้าใจต่อ ผู้รับการแสดงเจตนาได้ทันทีโดยไม่ต้องรอ เช่น การคุยกันต่อหน้า การคุยกันทาง โทรศัพท์ การส่งโทรสารที่ผู้รับรอรับอยู่ในขณะนั้น 5.2 การแสดงเจตนาต่อผู้รับซึ่งไม่ได้อยู่เฉพาะหน้า เป็นการแสดงเจตนาต่อผู้รับการแสดงเจตนาซึ่งมีลักษณะที่ผู้รับไม่สามารถ ทราบเจตนาของผู้แสดงเจตนาได้ทันทีแต่ต้องทิ้งช่วงเวลา ได้แก่ การแสดงจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ การส่งโทรเลข เป็นต้น
  • 17. ตัวอย่าง การแสดงเจตนาต่อผู้รับซึ่งไม่ได้อยู่เฉพาะหน้า • ชมพู่แสดงเจตนาตกลงทาสัญญาซื้อขายกับวีรภาพ โดยทาเป็นจดหมายและส่งไปที่ บ้านของวีรภาพในวันที่ 15 ธันวาคม 2556 จดหมายดังกล่าวไปถึงบ้านของวีรภาพ ในวันที่ 30 ธันวาคม 2556 โดยวีรภาพได้เปิดอ่านและทราบข้อความในจดหมายใน วันที่ 30 ธันวาคม 2556 ดังนั้น การแสดงเจตนาของชมพู่มีผลในวันที่ 15 ธันวาคม 2556 เพราะเป็น วันที่การแสดงเจตนาไปถึงผู้รับการแสดงเจตนา แม้ว่าวีรภาพจะได้รับการแสดง เจตนาของชมพู่ในวันที่ 30 ธันวาคม 2556 ก็ตาม
  • 18. 6. เงื่อนไขและเงื่อนเวลา 6.1 เงื่อนไข • เงื่อนไข หมายถึง ข้อความที่บังคับให้ นิติกรรมเป็นผลหรือสิ้นผลต่อเมื่อมี เหตุการณ์อันไม่แน่นอนว่าจะเกิดขึ้น 1) เงื่อนไขบังคับก่อน ถ้าข้อความที่ ระบุไว้ในเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นนิติ กรรมก็จะมีผล 2) เงื่อนไขบังคับหลัง ถ้าข้อความที่ ระบุไว้ในหลังเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้น นิติกรรมก็จะสิ้นผลไป 6.2 เงื่อนเวลา • เงื่อนเวลา หมายถึง ข้อความที่บังคับ ไว้ให้นิติกรรมเป็นผลหรือสิ้นผล ต่อเมื่อถึงระยะเวลาใดระยะเวลาหนึ่ง ในอนาคต 1) เงื่อนเวลาเริ่มต้น ระยะเวลาที่ กาหนดทานิติกรรม เมื่อครบกาหนด นิติกรรมก็จะมีผลบังคับใช้ 2) เงื่อนเวลาสิ้นสุด เมื่อครบกาหนด นิติกรรมนั้นก็จะสิ้นผลไป
  • 19. 7. อายุความ • อายุความ หมายถึง กาหนดระยะเวลาที่กฎหมายกาหนดให้เจ้าหนี้สามารถใช้สิทธิ เรียกร้องของตนด้วยการฟ้องร้องต่อศาล หากเจ้าหนี้ไม่ได้ใช้สิทธิของตนภายใน เวลาที่กฎหมายกาหนดสิทธิเรียกร้องดังกล่าวก็จะขาดอายุความ
  • 20. ลูกหลานมีสิทธิเรียกร้องมรดก แต่ไม่ควรฟ้องคดีมรดกเมื่อ พ้นกาหนดสิบปีนับแต่เมื่อปู่ซึ่งเป็นเจ้าของมรดกตาย กล่าวคือ ทายาทโดยธรรมที่มีสิทธิในกองมรดกที่ไม่รู้ หรือไม่ควรรู้ถึงความตายของเจ้ามรดก ผู้รับพินัยกรรมที่ ไม่รู้หรือไม่ควรรู้ถึงสิทธิซึ่งตนมีอยู่ตามพินัยกรรม ซึ่งอาจ ฟ้องคดีเมื่อพ้นกาหนด 1 ปี นับแต่มารู้ถึงความตายของเจ้า มรดกหรือสิทธิตามพินัยกรรมในภายหลังได้ แต่จะอ้าง ความไม่รู้ดังกล่าวมาเป็นเหตุฟ้องร้องเมื่อพ้นกาหนด 10 ปี นับตั้งแต่เจ้ามรดกตายไม่ได้ ตัวอย่าง อายุความ
  • 21. แบบทดสอบ • ข้อที่ 1. ข้อใด ไม่ใช่ องค์ประกอบของ นิติกรรม ก. เป็นการแสดงเจตนาของบุคคล ข. เป็นการกระทาที่ชอบด้วยกฎหมาย ค. เป็นการกระทาโดยโดนบังคับ ง. เป็นการกระทาโดยสมัครใจ เฉลย ค. เป็นการกระทาโดยโดนบังคับ เหตุผล เพราะองค์ประกอบของนิติ กรรมมี 5 ประการ ดังนี้คือ 1. เป็นการแสดงเจตนาของบุคคล 2. เป็นการกระทาที่ชอบด้วยกฎหมาย 3. เป็นการกระทาที่มุ่งผูกนิติสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล 4. เป็นการกระทาโดยสมัครใจ 5. เป็นการกระทาที่ก่อให้เกิดการ เคลื่อนไหวแห่งสิทธิ
  • 22. แบบทดสอบ (ต่อ) • ข้อที่ 2 เปเป้ ขับรถชนตั๊ก จนตั๊กขาหัก กรณีนี้เปเป้ เองไม่ได้สมัครใจจะให้ เกิดผลทางกฎหมายแต่อย่างใด แต่ กฎหมายได้กาหนดให้การกระทาของเป เป้ เป็นละเมิดและมีความผูกพันกันตาม กฎหมายที่จะต้องชดใช้ค่าสินไหม ทดแทนให้ตั๊ก ประโยคนี้หมายถึงข้อใด ก. นิติกรรม ข.นิติเหตุ ค.นิติศาสตร์ ง.การแสดงเจตนาของบุคคล • เฉลย ข. นิติเหตุ เหตุผล เพราะนิติเหตุ หมายถึง เหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นจากการกระทาของบุคคลหรือเกิดขึ้น ตามธรรมชาติ ซึ่งเหตุการณ์นั้นไม่มีผู้ใด สมัครใจจะให้เกิดผลทางกฎหมาย แต่ กฎหมายได้กาหนดให้เหตุการณ์เหล่านั้นมี ผลทางกฎหมายและก่อให้เกิดความ เคลื่อนไหวแห่งสิทธิขึ้น
  • 23. แบบทดสอบ (ต่อ) • ข้อที่ 3. ข้อใดถือว่าเป็นนิติกรรมที่ เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของ บุคคลเพียงฝ่ายเดียว ก. การทาพินัยกรรม ข. สัญญาซื้อขาย ค. สัญญากู้ยืมเงิน ง. สัญญาให้โดยเสน่หา • เฉลย ก. การทาพินัยกรรม เหตุผล เพราะการทาพินัยกรรมเป็น การแสดงเจตนาของบุคคลเพียงฝ่าย เดียว ซึ่งแตกต่างกับสัญญาซื้อขาย สัญญากู้ยืมเงิน และสัญญาให้โดย เสน่หา ที่ต้องแสดงเจตนาของบุคคล ตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป
  • 24. แบบทดสอบ (ต่อ) • ข้อที่ 4. เงื่อนเวลามีกี่ประเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท • เฉลย ก. 2 ประเภท เหตุผล เพราะ เงื่อนเวลามี 2 ประเภท คือ เงื่อนเวลาเริ่มต้น กับเงื่อนเวลา สิ้นสุด
  • 25. แบบทดสอบ (ต่อ) • ข้อที่ 5. แดงทาสัญญาขายหนังสือ ให้แก่ดา โดยมีข้อตกลงว่าหากแดง สามารถสอบเข้าเรียนในคณะ นิติศาสตร์ได้ก็ให้นิติกรรมขาย หนังสือดังกล่าวมีผล ประโยค ดังกล่าวถือเป็นเงื่อนไขแบบใด ก. เงื่อนไขบังคับก่อน ข. เงื่อนไขบังคับหลัง ค. เงื่อนไขเริ่มต้น ง. เงื่อนไขสิ้นสุด • เฉลย ก. เงื่อนไขบังคับก่อน เหตุผล เพราะเงื่อนไขบังคับก่อนคือ ข้อความที่ระบุเหตุการณ์อันไม่ แน่นอนไว้และถ้าเหตุการณ์นั้น เกิดขึ้นนิติกรรมก็จะมีผล ดังนั้น หาก แดงสามารถสอบเข้าเรียนในคณะ นิติศาสตร์ได้ นิติกรรมดังกล่าวก็จะมี ผลทันที ดาต้องคืนหนังสือแก่แดง และแดงต้องคืนเงินค่าหนังสือให้ดา