SlideShare a Scribd company logo
ความหมายของบุคคล
หมายถึง สิ่งที่กฎหมายรับรองให้มีสิทธิและหน้าที่
ได้ตามกฎหมายซึ่งเรียกว่าผู้ทรงสิทธิ เช่น
- มนุษย์
- บริษัท
- พรรคการเมือง
เป็นกฎหมายรับรองให้เป็นบุคคลและให้มีสิทธิหน้าที่
ได้ตามกฎหมาย ส่วนพืชและสัตว์ไม่ถือว่าเป็นบุคคลจึง
ไม่มีอาจมีสิทธิและหน้าที่ตามกฏหมายได้พืชและสัตว์ไม่
สามารถมีสิทธิเป็นเจ้าของทรัพย์ได้ เช่น สุนัขไม่มีสิทธิ
เป็นเจ้าของปลอกคอ เพราะสุนัขไม่ใช่บุคคล จึงไม่มี
บุคคลธรรมดา
หมายถึง มนุษย์หรือคนโดยทั่วไปที่เกิดขึ้นตาม
ธรรมชาติที่กฏหมายรับรองให้มีสิทธิและหน้าที่ตามกฏ
หมาย
สภาพบุคคล
สิทธิและหน้าที่ของบุคคลธรรมดาจะเกิดมีขึ้นได้ก็ต่อ
เมื่อบุคคลนั้นมีสภาพบุคคลแล้วเท่านั้นซึ่งสภาพบุคคล
ย่อมเริ่มต้นตั้งแต่เมื่อคลอดแล้วรอดเป็นทารก และสิ้นลง
เมื่อตาย
สำาหรับทารกในครรภ์มารดาแม้ยังไม่มีสภาพบุคคล
แต่ประมวลกฏหมายแพ่งและพาณิชย์ก็ได้รับรองให้
ทารกดังกล่าวมีสิทธิต่างๆในขณะที่ตนอยู่ในครรภ์
มารดา
- สิทธิในการรับมรดก
- สิทธิในการฟ้องเรียกค่าขาดไร้อุปการะจากบุคคลที่
การเริ่มต้นแห่งสภาพบุคคล
1. มีการคลอด
2. มีการอยู่รอดเป็นทารก
การสิ้นสุดแห่งสภาพบุคคล
“สภาพบุคคลย่อมสิ้นสุดลงเมื่อตาย ซึ่ง การ
”ตาย ของบุคคลธรรมดานั้นมีได้ 2 กรณี คือ
1. การตายโดยธรรมชาติ
2. การตายโดยผลของกฏหมาย
การนับอายุบุคคล
การนับอายุบุคคลมี 4 กรณีดังต่อไปนี้
1. กรณีรู้วัน เดือน ปี ให้เริ่มนับตั้งแต่วันเกิด เช่น
เกิดวันที่ 19 กันยายน 2530 แดงจะมีอายุครบ
20 ปีบริบูรณ์ ในวันที่18 กันยายน 2550 เวลา
24.00 น และ บรรลุนิติภาวะในการวันที่ 19
กันยายน 2550 เวลา 00.00 น
2. กรณีรู้เดือน ปีเกิด แต่ไม่รู้วันเกิด กฎหมายให้
ถือเอาวันที่ 1 ของเดือนนั้นเป็นวันเกิด ดังนั้น การนับ
อายุของบุคคลในกรณีนี้จึงเริ่มนับตั้งแต่วันที่1 ของ
เดือนและปีที่เกิด เช่น เดือนธันวาคม 2467 ไม่รู้ว่าตน
เกิดวันที่เท่าใด กฎหมายให้ถือว่าเกิดวันที่ 1 มกราคม
3. กรณีรู้ปีเกิด แต่ไม่รู้วันและเดือนเกิด กฏหมายให้
ถือว่าเอาวันเริ่มต้นปีปฏิทินของปีที่บุคคลนั้นเกิดเป็นวัน
เกิดของบุคคลดังกล่าว ซึ่งก็คือวันที่ 1 มกราคมของปีที่
เกิดนั่นเอง เช่น เกิดปี 2475 แต่ไม่รู้ว่าตนเกิดในวัน
และเดือนใด กฎหมายให้ถือว่า เกิดวันที่ 1 มกราคม
2475
4. กรณีไม่รู้วัน เดือน ปีเกิดเลย กรณีนี้เช่นต้อง
พิจารณาจากรูปร่าง หน้าตา สัณฐานของบุคคลนั้น
ประกอบกับพยานแวดล้อม เช่น สอบถามจากญาติพี่
น้อง เพื่อนบ้าน หรือ บุคคลที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น เพื่อ
พิจารณาว่าบุคคลนั้นควรมีอายุเท่าใด
ความสามารถของบุคคล
 หมายถึง ความสามารถในการมีสิทธิหรือใช้สิทธิ
ตามกฎหมาย ซึ่งโดยปกติบุคคลทุกคนย่อมมีความ
สามารถในการใช้สิทธิได้ทัดเทียมกัน แต่มีบางกรณีเพื่อ
คุ้มครองบุคคลบางประเภท กฎหมายจึงได้จำากัดหรือตัด
ทอนความสามารถของบุคคลประเภทนั้น ๆ เสีย ซึ่ง
บุคคลเหล่านี้ได้แก่ ผู้หย่อนความสามารถซึ่งแบ่งออกได้
เป็น 3  ประเภท
- ผู้เยาว์
- คนไร้ความสามารถ
- คนเสมือนไร้ความสามารถ
ผู้เยาว์
หมายถึง บุคคลผู้ยังไม่บรรลุนิติภาวะการบรรลุ
นิติภาวะหรือการพ้นจากภาวะผู้เยาว์มีได้ 2 กรณี คือ
1.  อายุครบ 20  ปีบริบูรณ์
2. อายุยังไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์
  แต่ได้ทำาการสมรสโดยชอบด้วยกฎหมาย คือ สมรส
เมื่อชายและหญิงมีอายุสิบเจ็ดปีบริบูรณ์แล้ว หรือเมื่อ
ศาลอนุญาตให้ทำาการสมรสก่อนนั้นได้ความสามารถใน
การใช้สิทธิของผู้เยาว์ แยกได้ 2 กรณี คือกรณีที่ต้อง
ได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม และกรณีที่
ผู้เยาว์สามารถใช้สิทธิกระทำาได้เอง
คนไร้ความสามารถ
     คนไร้ความสามารถ คือ บุคคลวิกลจริตซึ่งศาลได้สั่ง
 ให้เป็นคนไร้ความสามารถ และให้อยู่ในความ
   อนุบาล หรือความดูแลของผู้อนุบาล คำาสั่งดังกล่าวให้
 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ผู้มีสิทธิร้องขอต่อศาลให้
 สั่งบุคคลวิกลจริตเป็นคนไร้ความสามารถ มีดังนี้
1)         คู่สมรสของผู้วิกลจริต
2)           บุพการี (          บิดามารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด)
3)           ผู้สืบสันดาน (    ลูก หลาน เหลน)
4)               ผู้ปกครอง หรือ ผู้พิทักษ์
5)         ผู้ซึ่งปกครองดูแลบุคคลนั้น
6)        พนักงานอัยการ
                คนไร้ความสามารถทำานิติกรรมใด ๆ ถือเป็น
คนวิกลจริต
คือ ภาวะผิดปกติทางจิตที่มีความผิดปกติของความ
คิด อารมณ์ พฤติกรรมอย่างมากจนไม่อยู่ในโลกของ
ความเป็นจริง เช่น คนบางคนอาจจะมีอาการ เช่น
 -      ความคิดหลงผิด (ระแวงถูกสะกดรอย
ตาม, ถูกทำาร้าย, ถูกนินทา, ถูกควบคุมโดยอำานาจ
ไสยศาสตร์หรือไมโครชิพ) 
            -      ประสาทหลอน (ได้ยินหูแว่วเสียงคนพูด
ถึงตนเอง, ภาพหลอน)
            -      พฤติกรรมแปลกผิดประหลาดจากปกติ
(วุ่นวายมาก, ทำาท่าแปลกๆ)
            -      พูดจาผิดปกติ (พูดฟังไม่รู้เรื่อง, ไม่ปะ
คนเสมือนไร้ความสามารถ
หมายถึง บุคคลที่มีความบกพร่องบางประการแต่
ไม่ถึงขนาดวิกลจริตหรือสูญเสียความสามารถในการ
กำาหนดเจตนาของตนเองโยสิ้นเชิงและศาลได้มีคำาสั่งให้
บุคคลเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ
บุคคลที่อาจถูกร้องขอให้เป็นคนเสมือนไรความสามารถ
ได้นั่นต้องมีองค์ประกอบ 2 ประการ ดังต่อไปนี้
1. บุคคลนั้นต้องมีเหตุบกพร่องอย่างใดอย่าง
หนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นเหตุบกพร่องทางกายจิตใจ หรือความ
ประพฤติบางอย่างที่กฎหมายกำาหนด เช่น กายพิการ
จิตฟั่นเฟือน ประพฤตตนสุรุ่ยสุร่ายเสเพลเป็นอาจิณ
ติดสุรายาเมา
เมื่อบุคคลใดมีเหตุบกพร่องอย่างใดอย่างหนึ่ง
 ใน 4 ประการดังกล่าวมาแล้ว ทำาให้บุคคลนั้นไม่
สามารถจัดทำาการงานของตนได้ แต่ถ้าบุคคลนั้นแม้มี
เหตุบกพร่องแต่ยังสามารถทำางานได้อย่างเป็นปรกติ ก็
ไม่เข้าเหตุแห่งการเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ
ศาลสั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ
1.    คู่สมรส
2.    ผู้บุพการี กล่าวคือบิดา มารดา ปู่ย่า ตายาย
ทวด
3.    ผู้สืบสันดานกล่าวคือ ลูก หลาน เหลน ลื่อ
4.    ผู้ปกครองหรือผู้พิทักษ์
5.    ผู้ซึ่งปกครองดูแลบุคคลนั้น
6.    ผู้ที่ดูแลบุคคลนั้นอยู่ตามความเป็นจริงหรือ
คนเสมือนไร้ความสามารถนั้น ต้องได้รับความ
ยินยอมของผู้พิทักษ์ก่อนแล้วจึงจะทำาการอย่างหนึ่ง
อย่างใดดังต่อไปนี้ได้
(1) นำาทรัพย์สินไปลงทุน
(2) รับคืนทรัพย์สินที่ไปลงทุน ต้นเงินหรือทุนอย่าง
อื่น
(3) กู้ยืมหรือให้กู้ยืมเงิน ยืมหรือให้ยืม
สังหาริมทรัพย์อันมีค่า
(4) รับประกันโดยประการใด ๆ อันมีผลให้ตนต้อง
ถูกบังคับชำาระหนี้
(5) เช่าหรือให้เช่าสังหาริมทรัพย์มีกำาหนดระยะ
เวลาเกินกว่าหกเดือนหรืออสังหาริมทรัพย์มีกำาหนด
ระยะเวลาเกินกว่าสามปี
(6) ให้โดยเสน่หา เว้นแต่การให้ที่พอควรแก่
(8) ทำาการอย่างหนึ่งอย่างใด เพื่อจะได้มาหรือ
ปล่อยไปซึ่งสิทธิในอสังหาริมทรัพย์หรือใน
สังหาริมทรัพย์อันมีค่า
(9) ก่อสร้างหรือดัดแปลงโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้าง
อย่างอื่น หรือซ่อมแซมอย่างใหญ่
(10) เสนอคดีต่อศาลหรือดำาเนินกระบวนพิจารณา
ใด ๆ เว้นแต่การร้องขอตมาตรา 35 หรือการร้องขอ
ถอนผู้พิทักษ์
(11) ประนีประนอมยอมความ หรือมอบข้อพิพาทให้
อนุญาโตตุลาการวินิจฉัย
ถ้ามีกรณีอื่นใดนอกจากที่กล่าวในวรรคหนึ่ง
ซึ่งคนเสมือนไร้ความสามารถอาจจัดการไปในทางเสื่อม
เสียแก่ทรัพย์สินของตนเองหรือครอบครัว ในการสั่งให้
นิติบุคคล
หมายถึง บุคคลที่กฎหมายสมมติให้มีสภาพบุคคล
เช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา ดังนั้น นิติบุคคลจึงมีความ
สามารถเช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา เช่น
-    ความสามารถในการทำานิติกรรมสัญญา
-    สิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพย์สินต่างๆ เช่น
ที่ดิน เงิน
-    หน้าที่ในการเสียภาษี
-    การเป็นเจ้าหนี้ลูกหนี้
ประเภทของนิติบุคคล แบ่งได้
เป็น2ประเภท
1.  นิติบุคคลเอกชน คือ นิติบุคคลที่บัญญัติไว้
 ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มีด้วยกัน 5
ประเภท ได้แก่
(1) บริษัทจำากัด
  (2) ห้างหุ้นส่วนจำากัด
  (3) ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน
  (4) สมาคม
  (5) มูลนิธิ
2. นิติบุคคลมหาชน หมายถึง นิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้น
ตามกฏหมายมหาชนโดยดำาเนินการในลักษณะที่ไม่เท่า
เทียมกัน กล่าวคือ นิติบุคคลนั้นมีอำานาจเหนือบุคคล
ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำาเนินงานของตน และการ
ดำาเนินการอยู่บนพื้นฐานของการใช้อำานาจรัฐบังคับให้
เป็นเพื่อผลประโยชน์ส่วนร่วม
โดยส่วนใหญ่แล้วนิติบุคคลมหาชนจะเป็นองค์กร
ของรัฐ เช่น กระทรวง ทบวง กรม จังหวัด
กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา เทศบาล องค์การ
บริหารส่วนตำาบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด วัดใน
พระพุทธศาสนา มหาวิทยาของรัฐ พรรคการเมือง
ผู้แทนของนิติบุคคล
 คือ ผู้ทำาหน้าที่แสดงเจตนาแทนตัวนิติบุคคล เปรียบ
เสมือนเป็นตัวนิติบุคคลนั้นเอง
 ตัวแทนนิติบุคคล หรือตัวแทน คือ ผู้ทำาหน้าที่แทนตัวการ
ตามสัญญาตัวแทน
ภูมิลำาเนาของบุคคล
ภูมิลำาเนาของบุคคลธรรมดา ได้แก่ ถิ่นอันที่
บุคคลนั้นมีสภาพที่อยู่เป็นแหล่งสำาคัญ กล่าวคือ ถิ่นที่จะ
เป็นภูมิลำาเนาได้นั้นจะต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์
สำาคัญ 2 ประการ (1) เป็นที่อยู่ของบุคคลตามข้อเท็จ
จริง (2) เป็นที่อยู่ซึ่งบุคคลนั้นถือเป็นแหล่งสำาคัญ
โดยปกติบุคคลธรรมดาทั่วไปสามารถเลือก
ภูมิลำาเนาของตนได้ตามใจสมัครและสามารถมี
ภูมิลำาเนาหลายแห่งก็ได้ แต่มีบุคคลบางประเภทที่
กฎหมายกำาหนดภูมิลำาเนาให้โดยเฉพาะเพื่อความ
สะดวกและตัดข้อยุ่งยากในการหาภูมิลำาเนาของบุคคล
เหล่านั้นได้แก่
2) ภูมิลำาเนาของผู้เยาว์ ได้แก่ ภูมิลำาเนาของผู้
แทนโดยชอบธรรมซึ่งเป็นผู้ใช้อำานาจปกครอง (บอดา
มารดา) หรือภูมิลำาเนาผู้ปกครองในกรณีที่ผู้เยาว์อยู่ใต้
อำานาจปกครองของบิดามารดาถ้าบิดาและมารดามี
ภูมิลำาเนาแยกต่างหากจากกัน ภูมิลำาเนาของผู้เยาว์
ได้แก่ภูมิลำาเนาของบิดาหรือมารดาซึ่งตนอยู่ด้วย
3) ภูมิลำาเนาของคนไร้ความสามารถ ได้แก่
ภูมิลำาเนาของผู้อนุบาล
4) ภูมิลำาเนาของข้าราชการ ได้แก่ ถิ่นอัน
เป็นที่ทำาการตามตำาแหน่งหน้าที่ ซึ่งไม่ใช่ตำาแหน่ง
หน้าที่ชั่วคราวชั่วระยะเวลาและไม่ใช่ตำาแหน่งที่แต่งตั้ง
ไปเฉพาะการเพียงครั้งเดียวคราวเดียว
5) ภูมิลำาเนาของผู้ที่จำาคุกตามคำาพิพากษา

More Related Content

What's hot

ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญา
shikapu
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
Pracha Wongsrida
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
Looktan Kp
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
Napadon Yingyongsakul
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
Wichai Likitponrak
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
Thitaree Samphao
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
Wuttipong Tubkrathok
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ดีโด้ ดีโด้
 
พฤติกรรม
พฤติกรรมพฤติกรรม
พฤติกรรม
sukanya petin
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
Thitaree Samphao
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายNurat Puankhamma
 

What's hot (20)

ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญา
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 
พฤติกรรม
พฤติกรรมพฤติกรรม
พฤติกรรม
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
 

Viewers also liked

บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้
Chi Wasana
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
Yosiri
 
บทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายบทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขาย
Chi Wasana
 
บทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรมบทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรม
Chi Wasana
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
Yosiri
 
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 

Viewers also liked (7)

บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
 
กฎหมายว่าด้วยบุคคล
กฎหมายว่าด้วยบุคคลกฎหมายว่าด้วยบุคคล
กฎหมายว่าด้วยบุคคล
 
บทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายบทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขาย
 
บทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรมบทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรม
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
 

More from Yosiri

กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
Yosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
Yosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
Yosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
Yosiri
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
Yosiri
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
Yosiri
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
Yosiri
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
Yosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
Yosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
Yosiri
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
Yosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
Yosiri
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17Yosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
Yosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
Yosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
Yosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
Yosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
Yosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
Yosiri
 

More from Yosiri (20)

กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 

กฏหมายบุคคล