SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
Download to read offline
คานา
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เป็นคู่มือที่ทุกโรงเรียนต้องจัดทาเพื่อเป็นเครื่องมือสาหรับ
ทุกคนในโรงเรียนใช้ในการเป็นแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของโรงเรียน มุ่งสู่คุณลักษณะที่พึงประสงค์
โรงเรียนเมืองราดวิทยาคมจึงจัดทาคู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และกาหนดให้มีแนวปฏิบัติในการ
พัฒนาคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา ฉบับนี้คงเป็นประโยชน์สาหรับทุกฝ่ายที่จะเตรียมรับการประเมินคุณภาพรอบสาม ในการจัดทา
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาครั้งนี้ ทางโรงเรียนขอขอบคุณสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต ๔๐ ที่ได้อบรมและให้ความรู้ในการจัดทาคู่มือประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม ณ
โอกาสนี้
นายเสรี เปรมปรีดิ์
ผู้อานวยการโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม
สารบัญ
รายการ หน้า
บทที่ ๑ การประกันคุณภาพภายใน ๑
บทที่ ๒ กระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ๑๒
บทที่ ๓ ตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพ ๑๗
บทที่ ๔ ตัวอย่างแนวปฏิบัติเพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ๓๑
บทที่ ๑
บทนา
๑. ๑ ความจ าเป็น และวัตถุประสงค์ ของการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การใช้การศึกษาเพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาศักยภาพของคน ให้มุ่งสู่คุณลักษณะที่สังคม
พึงประสงค์จ าเป็นต้องใช้การศึกษาที่มีคุณภาพ มีกลไกการรักษาคุณภาพและยกระดับมาตรฐานคุณภาพอย่าง
ต่อเนื่อง แต่โดยภาพรวมแล้ว คุณภาพการจัดการศึกษาของไทยยังคงเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์ว่า มาตรฐานคุณภาพ
ของผู้เรียนยังไม่เป็นที่พึงพอใจของสังคม ซึ่งสภาพดังกล่าวมีสาเหตุส าคัญ ๆ หลายประการด้วยกัน แต่สาเหตุ
หนึ่งมาจากการที่ยังไม่ได้ให้ความส าคัญเรื่องการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ
อย่างเพียงพอ และต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามมาตรการที่เป็นทางออกของปัญหาดังกล่าว คือ การประกันคุณภาพ
การศึกษา ซึ่งโดยระบบได้ก าหนดให้มีกลไกการประเมิน ทั้งประเมินเพื่อตรวจสอบ ทบทวนและปรับปรุง
คุณภาพการศึกษา (Internal Quality and Intervention) และการประเมินเพื่อให้ได้การรับรองคุณภาพการศึกษา
(Quality Accreditation) ดังนั้น แนวทางการประเมินภายในเพื่อประกันคุณภาพการศึกษา จึงเป็นสิ่งที่สถานศึกษา
จะต้องน าไปด าเนินการ เพื่อเป็นการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษาว่าด าเนินการพัฒนาเป็นไปตาม
มาตรฐานคุณภาพที่ก าหนดแล้วหรือไม่ หากพบว่ายังไม่เป็นไปตามมาตรฐานก็จะน าไปสู่การส่งเสริม ปรับปรุง
แก้ไขอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งได้คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและได้ผ่านการรับรองคุณภาพการศึกษาจาก
หน่วยงานที่ท าหน้าที่รับรองต่อไป
๑.๒ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ.๒๕๔๕ กับการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพภายใน หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัด
ที่มีหน้าที่ก ากับดูแลสถานศึกษานั้น
การประกันคุณภาพภายนอก หมายถึง การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม การตรวจสอบ
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยผู้ประเมินภายนอกที่ได้รับการรับรองจากส านักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา โดยผู้ประเมินภายนอกที่ได้รับการรับรองจากส านักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เพื่อมุ่งให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น ผู้ประเมิน
ภายนอกหรือคุณหมอโรงเรียนมีความเป็นอิสระ และเป็นกลาง ไม่มีผลประโยชน์ขัดแย้งกับการประเมินคุณภาพ
ภายนอกจะน าไปสู่การเข้าถึงคุณภาพการศึกษาด้วยความเป็นกลาง เพื่อสร้างสรรค์พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาอย่างแท้จริง
ความส าคัญของการประเมินคุณภาพภายนอก
การประเมินคุณภาพภายนอกมีความส าคัญ และมีความหมายต่อสถานศึกษาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ
สาธารณชนดังต่อไปนี้
ประการที่ ๑ เป็นการส่งเสริมให้สถานศึกษาพัฒนาเข้าสู่เกณฑ์มาตรฐาน และพัฒนาตนเองให้เต็มตาม
ศักยภาพอย่างต่อเนื่อง
ประการที่ ๒ เพิ่มความมั่นใจและคุ้มครองประโยชน์ให้ผู้รับบริการทางการศึกษาว่าสถานศึกษาได้จัด
การศึกษามุ่งสู่คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีความสามารถ และมีความสุขเพื่อเป็น
สมาชิกที่ดีของสังคม
ประการที่ ๓ สถานศึกษาและหน่วยงานที่ก ากับดูแล เช่นคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด
ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และชุมชนท้องถิ่นมีข้อมูลที่จะช่วยตัดสินใจในการ
วางแผน และด าเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการและบรรลุ
เป้าหมายตามที่ก าหนด
ประการที่ ๔ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับนโยบายมีข้อมูลส าคัญในภาพรวมเกี่ยวกับคุณภาพและ
มาตรฐานของสถานศึกษาทุกระดับทุกสังกัด เพื่อใช้เป็นแนวทางในการก าหนดแนวนโยบายทางการศึกษาและ
การจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ
๑.๓. กลยุทธของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและกระทรวงศึกษาธิการ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงกาหนดกลยุทธ์ปี งบประมาณพ.ศ.๒๕๕๔จานวน๖
กลยุทธ์ ดังต่อไปนี้ ๑. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตร และส่งเสริมความสามารถ
ด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ๒. ปลูกฝังคุณธรรม ความส านึกในความเป็นชาติไทย และวิถี
ชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓. ขยายโอกาสทางการศึกษา ๔. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้ง
ระบบ ๕. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ตามแนวทางการกระจายอ านาจ หลักธรรมาภิบาล และ
เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน และความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุน
การจัดการศึกษา ๖. พัฒนาการศึกษาเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
ทั้งนี้ เพื่อสนองตอบต่อแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๖๑) ที่มุ่งเน้นการ
พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่
ตลอดจนพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จึงปรับแนวทางการด าเนินงานให้สอดคล้องกับกรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษาดังกล่าว โดยยึดหลักการส
าคัญดังนี้ ๑. มุ่งสนับสนุนการท างานลงสู่ระดับห้องเรียนและโรงเรียนให้มากที่สุด โดยเน้นระบบการประกัน
คุณภาพภายใน รวมถึงการนิเทศ ช่วยเหลือ ติดตามความก้าวหน้าของโรงเรียนเป็นรายโรง และการแทรกแซง
แก้ไขการท างานของโรงเรียนหากไม่สามารถด าเนินการได้ตามเป้ าหมาย เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าถึงบริการทาง
การศึกษาที่มีคุณภาพมากขึ้น ทั้งนี้ ภายใต้การดูแลขององค์คณะบุคคล และความเห็นชอบของคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒. มุ่งพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาโดยใช้ข้อมูลผลการประเมินคุณภาพภายนอกเป็นฐาน
การพัฒนา ๓. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา และโรงเรียนตัดสินใจด าเนินการกิจกรรมต่างๆภายใต้กรอบ
นโยบาย และเป้ าหมายที่ส่วนกลางก าหนด ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงาน (creation) และการมีส่วน
ร่วมของชุมชน เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสังคมทุกภาคส่วนอย่างกว้างขวาง ๔. ส านักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมุ่งเน้นการติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงานของเขตพื้นที่การศึกษา และ
ผลลัพธ์ทางการศึกษา โดยก าหนดนโยบาย กลยุทธ์ เป้าหมายความส าเร็จที่ส าคัญ
จุดเน้นของของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๕ กลุ่มสาระวิชาหลักเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ ๔ (Student Achivement)
๑. นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๓ ทุกคน อ่านออกเขียนได้คิดเลขเป็น (Literacy & Numeracy)
๒. เพิ่มศักยภาพนักเรียนในด้านภาษาด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ และด้านเทคโนโลยีเพื่อพัฒนา
สู่ความเป็นหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้(Excellence)
๓. นักเรียนทุกคนมีความส านึกในความรักชาติ (EQ: Emotional Quotient)
๔. สร้างทางเลือกในการเรียนรู้ที่เน้นให้ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง
ลดอัตราการออกกลางคัน ศึกษาต่อและประกอบอาชีพ (Alternative Learning)
๕. ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการขยายผลสถานศึกษาพอเพียง
ต้นแบบ (Sufficiency Economy)
๖. นักเรียน ครู และสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการพัฒนา
อย่างมั่วถึงและมีคุณภาพ (Southern Border Provinces)
๗. นักเรียน ครู และสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN
Community)
๘. สถานศึกษาทุกแห่งผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษา มีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง
และผ่านการรับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก (Quality Schools)
๙. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาผ่านการประเมินคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานของส านักงานเขตพื้นที่
การศึกษา (Effecient Service Areas)
๑.๔ การประกันคุณภาพกับมาตรฐานการศึกษา หลักการประกันคุณภาพการศึกษา
การใช้การศึกษาเพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาศักยภาพของคน ให้มุ่งสู่คุณลักษณะที่สังคมพึงประสงค์
จ าเป็นต้องใช้การศึกษาที่มีคุณภาพ มีกลไกการรักษาคุณภาพและยกระดับมาตรฐานคุณภาพอย่างต่อเนื่อง แต่
โดยภาพรวมแล้ว คุณภาพการจัดการศึกษาของไทยยังคงเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์ว่า มาตรฐานคุณภาพของผู้เรียนยัง
ไม่เป็นที่พึงพอใจของสังคม ซึ่งสภาพดังกล่าวมีสาเหตุส าคัญ ๆ หลายประการด้วยกัน แต่สาเหตุหนึ่งมาจากการ
ที่ยังไม่ได้ให้ความส าคัญเรื่องการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพอย่างเพียงพอ
และต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามมาตรการที่เป็นทางออกของปัญหาดังกล่าว คือ การประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งโดย
ระบบได้ก าหนดให้มีกลไกการประเมิน ทั้งประเมินเพื่อตรวจสอบ ทบทวนและปรับปรุงคุณภาพการศึกษา
(Internal Quality and Intervention) และการประเมินเพื่อให้ได้การรับรองคุณภาพการศึกษา (Quality
Accreditation) ดังนั้นแนวทางการประเมินภายในเพื่อประกันคุณภาพการศึกษา จึงเป็นสิ่งที่
สถานศึกษาจะต้องน าไปด าเนินการ เพื่อเป็นการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษาว่าด าเนินการพัฒนาเป็นไป
ตามมาตรฐานคุณภาพที่ก าหนดแล้วหรือไม่ หากพบว่ายังไม่เป็นไปตามมาตรฐานก็จะน าไปสู่การส่งเสริม
ปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งได้คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน และได้ผ่านการรับรองคุณภาพการศึกษา
จากหน่วยงานที่ท าหน้าที่รับรองต่อไป
มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานและตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๙ (๓) บัญญัติให้มีการก าหนดมาตรฐาน
การศึกษาและให้สภาการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมแห่งชาติ มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนและ
มาตรฐานการศึกษาของชาติ (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ : มาตรา ๓๓)
มาตรฐานการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา คือ ข้อก าหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการ
ให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง เพื่อใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงส าหรับการส่งเสริม และก ากับดูแล การ
ตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษา (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
๒๕๔๒ : มาตรา ๔) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๓๔ บัญญัติให้คณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐานที่สอดคล้องกับแผนการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมแห่งชาติ โดยให้คณะกรรมการและส า
นักงานการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเขตพื้นที่การศึกษาก ากับดูแลสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและสถานศึกษา
ระดับอุดมศึกษาระดับต่ ากว่าปริญญาให้สามารถจัดการศึกษาสอดคล้องกับนโยบายและมาตรฐานการศึกษา
(พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ : มาตรา ๓๘)
มาตรฐานการศึกษาของชาติ
มีทั้งหมด ๓ มาตรฐานดังนี้
มาตรฐานที่ ๑ คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองไทยและพลเมืองโลก คนไทย
เป็นคนเก่ง คนดี และมีสุข
เป้ าหมายของการจัดการศึกษาอยู่ที่การพัฒนาคนไทยทุกคนให้เป็น คนเก่ง คนดี และมีความสุข โดยมี
การพัฒนาที่เหมาะสมกับช่วงวัย พัฒนาคนตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ตรงตามความต้องการ ทั้งในด้าน
สุขภาพร่างกายและจิตใจ สติปัญญา ความรู้และทักษะ คุณธรรมและจิตส านึกที่พึงประสงค์ และอยู่ในสังคมได้
อย่างปกติสุข
ตัวบ่งชี้ ๑. ก าลังกาย กาลังใจที่สมบูรณ์
๑.๑ คนไทยมีสุขภาพกายและจิตที่ดี มีพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา เจริญเติบโต
อย่างสมบูรณ์ตามเกณฑ์การพัฒนาในแต่ละช่วงวัย
ตัวบ่งชี้ ๒ ความรู้และทักษะที่จ าเป็นและเพียงพอในการด ารงชีวิตและการพัฒนาสังคม
๒.๑ คนไทยได้เรียนรู้ เต็มตามศักยภาพของตนเอง
๒.๒ คนไทยมีงานท า และน าความรู้ไปใช้ในการสร้างงานและสร้างประโยชน์ให้สังคม
ตัวบ่งชี้ ๓. มีทักษะการเรียนรู้และการปรับตัว
๓.๑ คนไทยสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ รู้ทันโลกรวมทั้งมีความสามารถใน การใช้
แหล่งความรู้และสื่อต่าง ๆ เพื่อพัฒนาตนเองและสังคม
๓.๒ คนไทยสามารถปรับตัวได้มีมนุษย์สัมพันธ์ดี และท างานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
ตัวบ่งชี้ ๔. มีทักษะทางสังคม
๔.๑ คนไทยเข้าใจและเคารพในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและสังคม มีทักษะและความสามารถที่ จ าเป็น
ต่อการด าเนินชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข
๔.๒ คนไทยมีความรับผิดชอบ เข้าใจ ยอมรับและตระหนักในคุณค่า ของวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
สามารถแก้ปัญหาในฐานะสมาชิกของสังคมไทยและสังคมโลกโดยสันติวิธี
ตัวบ่งชี้ ๕. มีคุณธรรม จิตสาธารณะ และจิตส านึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก
๕.๑ คนไทยด าเนินชีวิตโดยกายสุจริต วจีสุจริต และมโนสุจริต
๕.๒ คนไทยมีความรับผิดชอบทางศีลธรรมและสังคม มีจิตส านึก ในเกียรติภูมิของความเป็นคนไทย มี
ความภูมิใจในชนชาติไทย รักแผ่นดินไทย และปฏิบัติตนตามระบอบประชาธิปไตย เป็นสมาชิกที่ดี เป็น
อาสาสมัคร เพื่อชุมชนและสังคมในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก
มาตรฐานที่ ๒ แนวการจัดการศึกษาจัดการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนเป็นส าคัญ และการบริหาร
โดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน
การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ผู้เรียนเห็นแบบอย่างที่ดี ได้ฝึกการคิด ได้เรียนรู้จาก
ประสบการณ์ตรงที่หลากหลายตรงตามความต้องการ และมีความสุขในการเรียนรู้ ครู คณาจารย์รู้จักผู้เรียนเป็น
รายบุคคล เตรียมการสอนและใช้สื่อที่ผสมผสานความรู้สากลกับภูมิปัญญาไทย จัดบรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้
จัดหาและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย และพัฒนาความคิดของผู้เรียนอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์
ความส าเร็จของการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญขึ้นอยู่กับ ปัจจัยด้านบุคคลเช่น ผู้เรียน ครู
คณาจารย์ผู้บริหาร ผู้ปกครอง และปัจจัยด้านการบริหารได้แก่ หลักการบริหารจัดการและหลักธรรมมาภิบาล
ตัวบ่งชี้ ๑. การจัดหลักสูตรการเรียนรู้และสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาตามธรรมชาติ และเต็ม
ตามศักยภาพ ๑.๑ มีการจัดหลักสูตรที่หลากหลายตามความเหมาะสม ความต้องการ และศักยภาพของกลุ่ม
ผู้เรียนทุกระบบ ๑.๒ ผู้เรียนมีโอกาส/สามารถเข้าถึงหลักสูตรต่างๆ ที่จัดไว้อย่างทั่วถึง ๑.๓ องค์กรที่
ให้บริการทางการศึกษามีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีอาคารสถานที่มีการส่งเสริมสุขภาพอนามัย และ
ความปลอดภัย ๑.๔ มีการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ สื่อเพื่อการเรียนรู้ และการให้บริการเทคโนโลยี
สารสนเทศทุกรูปแบบที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ๒. มีการพัฒนาผู้บริหาร ครู
คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาอย่างเป็นระบบและมีคุณภาพ ๒.๑ ผู้บริหาร ครู คณาจารย์และบุคลากร
ทางการศึกษาได้รับการพัฒนาอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง เพื่อสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ ๒.๒
ผู้บริหาร ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษามีคุณธรรม มีความพึงพอใจในการท างาน และผูกพันกับงาน มี
อัตราการออกจากงานและอัตราความผิดทางวินัยลดลง ๒.๓ มีแนวโน้มในการรวมตัวจัดตั้งองค์กรอิสระเพื่อ
สร้างเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะกลุ่มและติดตามการด าเนินงานของบุคลากรและสถานศึกษา ตลอดจนการสั่งสม
องค์ความรู้ที่หลากหลาย ๓. มีการบริหารจัดการที่ใช้สถานศึกษาเป็นฐาน ๓.๑ องค์กร ชุมชน มีส่วนร่วมในการ
พัฒนาการจัดการเรียนรู้ตามสภาพท้องถิ่น บุคลากรทั้งในและนอกสถานศึกษา สภาพปัญหาและความต้องการที่
แท้จริงของผู้เรียน ๓.๒ ผู้รับบริการ/ผู้เกี่ยวข้องทุกกลุ่มมีความพึงพอใจต่อการจัดบริการทางการศึกษาของ
สถานศึกษา
๓.๓ มีการก าหนดระบบประกันคุณภาพภายใน เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา เพื่อน าไปสู่
การพัฒนาคุณภาพ และสามารถรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกได้ มาตรฐานที่ ๓ แนวการสร้างสังคมแห่ง
การเรียนรู้ / สังคมแห่งความรู้ การเรียนรู้ ความรู้ นวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยี เป็นปัจจัยส าคัญของการพัฒนา
สู่สังคมแห่งความรู้ การส่งเสริมและสร้างกลไกเพื่อให้คนไทยทุกคนมีโอกาสและทางเลือกที่จะเข้าถึงปัจจัยและ
เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ด้วยรูปแบบและวิธีการที่หลากหลายโดยการได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน
ของสังคม จะน ามาซึ่งการพัฒนาคุณภาพประสิทธิภาพ และขีดความสามารถของคนไทย ในการพัฒนาประเทศ
รวมทั้งการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศ ตัวบ่งชี้ ๑. การบริการวิชาการ และสร้างความร่วมมือระหว่าง
สถานศึกษากับชุมชนให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ / สังคมแห่งความรู้ ๑.๑ สถานศึกษาควรร่วมมือกับบุคลากร
และองค์กรในชุมชนที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทุกระดับร่วมจัดปัจจัยและกระบวนการเรียนรู้ภายในชุมชน และ
ให้บริการทางวิชาการที่เป็นประโยชน์แก่การพัฒนาคนในชุมชน เพื่อให้สังคมไทยเป็นสังคมแห่งภูมิปัญญา และ
คนไทยมีการเรียนรู้ตลอดชีวิต ๑.๒ ชุมชนซึ่งเป็นที่ตั้งขององค์กรที่ให้บริการทางการศึกษามีสถานภาพเป็น
สังคมแห่งการเรียนรู้/สังคมแห่งความรู้ มีความปลอดภัย ลดความขัดแย้ง มีสันติสุข และมีการพัฒนาก้าวหน้า
อย่างต่อเนื่อง ๒. การศึกษาวิจัย สร้างเสริม สนับสนุนแหล่งการเรียนรู้ และกลไกการเรียนรู้ ๒.๑ มีการศึกษา
วิจัยสารวจจัดหา และจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ๒.๒ ระดมทรัพยากร(บุคลากรงบประมาณ
อาคารสถานที่ สิ่งอ านวยความสะดวก ภูมิปัญญา และอื่นๆ) และความร่วมมือจากภายในและภายนอก
สถานศึกษาในการสร้างกลไกการเรียนรู้ทุกประเภท เพื่อให้คนไทยสามารถเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ และสามารถ
เรียนรู้ตลอดชีวิตได้จริง ๒.๓ ส่งเสริมการศึกษาวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อการพัฒนาประเทศ ๓. การ
สร้างและการจัดการความรู้ในทุกระดับทุกมิติของสังคม ๓.๑ ครอบครัว ชุมชน องค์กรทุกระดับ และองค์กรที่
จัดการศึกษามีการสร้างและใช้ความรู้ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จนกลายเป็นวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้
๑.๕ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ส าคัญสรุปได้ดังนี้ ข้อ ๒ ใน
กฎกระทรวงนี้ “การประเมินคุณภาพภายใน” หมายความว่า การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม
และการตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาของสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศก าหนดส าหรับการประกันคุณภาพภายใน ซึ่งกระท าโดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นหรือหน่วยงาน
ต้นสังกัดที่มีหน้าที่ก ากับดูแลสถานศึกษา “การประเมินคุณภาพภายนอก” หมายความว่า การประเมินคุณภาพ
การจัดการศึกษา การติดตามและการตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาของ
สถานศึกษา ซึ่งกระท าโดยส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือผู้
ประเมินภายนอก “การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า กระบวนการติดตามตรวจสอบความ
ก้าวหน้าของการปฏิบัติตามแผนพัฒนาคุณภาพคุณภาพการศึกษาและจัดท ารายงานการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพ พร้อมทั้งเสนอแนะมาตรการเร่งรัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา “การพัฒนาคุณภาพการศึกษา”
หมายความว่า กระบวนการพัฒนาการศึกษาเข้าสู่คุณภาพที่สอด คล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยมี
การก าหนดมาตรฐานการศึกษา การจัดระบบและโครงสร้าง การวางแผนและการด าเนินการตามแผน รวมทั้ง
การสร้างจิตส านึกให้เห็นว่าการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจะต้องด าเนินการอย่างต่อเนื่องและเป็นความ
รับผิดชอบร่วมกันของทุกคน หมวดที่ ๑ บททั่วไป ข้อ ๓ ระบบประกันคุณภาพภายในเพื่อการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาและพัฒนามาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ต้องประกอบด้วย
(๑) การประเมินคุณภาพภายใน
(๒) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
(๓) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ข้อ ๔ ระบบประกันคุณภาพภายนอกเพื่อรับรองมาตรฐานและมุ่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาทุกระดับ ต้อง
ประกอบด้วย
(๑) การประเมินคุณภาพภายนอก
(๒) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ข้อ ๕ ให้สถานศึกษาด าเนินการประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่องเป็นประจ าทุกปี โดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ
ทั้งนี้ด้วยการสนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัดและการมีส่วนร่วมของชุมชน
ข้อ ๖ ให้สถานศึกษาจัดท ารายงานประจ าปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน เสนอต่อคณะ กรรมการ
สถานศึกษาหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาและเปิดเผยรายงานนั้นต่อสาธารณชนข้อ
๗ สถานศึกษาต้องน าผลการประเมินคุณภาพทั้งภายใน และภายนอกไปประกอบการจัดท าแผนการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา หมวดที่ ๒ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ส่วนที่ ๑ ตั้งแต่ข้อ ๙–๑๓
เป็นการขับเคลื่อนให้การประกันคุณภาพภายในให้ประสบความส าเร็จในส่วนของการจัดการศึกษาระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเฉพาะ ข้อ ๑๔ ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในตาม
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยด าเนินการ
ดังต่อไปนี้
(๑) ก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
(๒) จัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
(๓) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
(๔) ด าเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
(๕) จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
(๖) จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
(๗) จัดท ารายงานประจ าปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน
(๘) จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
การด าเนินการข้างต้น ให้สถานศึกษายึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้ง
ภาครัฐและภาคเอกชน โดยการส่งเสริม สนับสนุน และก ากับดูแลของหน่วยงานต้นสังกัด สถานศึกษาขั้น
พื้นฐาน ที่ไม่สามารถปฏิบัติงานบางประการ ตามที่ก าหนดได้นั้น ให้หน่วยงาน ต้นสังกัดหรือส านักงานเขต
พื้นที่การศึกษาแล้วแต่กรณี ประกาศผ่อนผันการปฏิบัติและวางแนวทาง ในการประกันคุณภาพภายในให้
เหมาะสมกับสภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษานั้น แล้วรายงานให้รัฐมนตรีทราบ ข้อ ๑๕ การก าหนด
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาตามข้อ ๑๔ (๑) ต้องสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ เอกลักษณ์
ของสถานศึกษาและมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศก าหนด
และต้องครอบคลุมสาระการเรียนรู้และกระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งค านึงถึงศักยภาพของผู้เรียน ชุมชนและ
ท้องถิ่นด้วย ข้อ ๑๖ การจัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาตามข้อ ๑๔ (๑) ให้ด าเนินการ
ดังต่อไปนี้ (๑) ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการที่จ าเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ
(๒) ก าหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าหมาย และความส าเร็จของการพัฒนาไว้อย่างชัดเจน และเป็นรูปธรรม (๓) ก
าหนดวิธีด าเนินงานที่มีหลักวิชา ผลการวิจัย หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ที่อ้างอิงได้ให้ครอบคลุมการพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษา ด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กระบวนการเรียนรู้ การส่งเสริมการเรียนรู้ การ
วัดและประเมินผล การพัฒนาบุคลากร และการบริหารจัดการ เพื่อน าไปสู่มาตรฐานการศึกษาที่ก าหนด (๔) ก
าหนดแหล่งวิทยาการภายนอกที่ให้การสนับสนุนทางวิชาการ (๕) ก าหนดบทบาทหน้าที่ให้บุคลากรของ
สถานศึกษาและผู้เรียนรับผิดชอบและด าเนินงานตามที่ก าหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ (๖) ก าหนดบทบาท
หน้าที่และแนวทางการมีส่วนร่วมของบิดา มารดา ผู้ปกครอง และองค์กรชุมชน (๗) ก าหนดการใช้งบประมาณ
และทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (๘) จัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี ข้อ ๑๗ ให้ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา
วิเคราะห์ วิจัย และเผยแพร่นวัตกรรมเกี่ยวกับรูปแบบและเทคนิควิธีการพัฒนาการประกันคุณภาพภายในอย่าง
ต่อเนื่อง รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนและร่วมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ข้อ ๑๘ ให้
หน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัดให้มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพของการศึกษาอย่างน้อย
หนึ่งครั้งในทุกสามปี และแจ้งผลให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานทราบรวมทั้งให้เปิดเผยผลการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษาต่อสาธารณชน จากสาระส าคัญตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน
คุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ ดังกล่าวข้างต้นเน้นเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบ
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ๑.๖ การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการ
ประเมินคุณภาพภายนอก ตามมาตรา ๘๔ ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ระบุว่า “ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่
ต้องด าเนินการอย่างต่อเนื่อง” ในขณะที่มาตรา ๔๙ ของพระราชบัญญัติฉบับเดียวกันระบุถึงการประเมิน
คุณภาพภายนอกไว้ว่า “ให้มีส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็นองค์การ
มหาชนท าหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอกและท าการประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อให้มี
การตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา”
จากข้อมูลข้างตันจะเห็นว่าการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา
ปกติที่ต้องด าเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการควบคุมดูแลปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพ มีการตรวจสอบติดตาม
และประเมินผลการด าเนินงานเพื่อน าไปสู่การพัฒนาปรับปรุงคุณภาพอย่างสม่ าเสมอ ด้วยเหตุนี้ระบบการ
ประกันคุณภาพภายในจึงต้องดูแลทั้งปัจจัยน าเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิตหรือผลลัพธ์
(Output/Outcome) ซึ่งต่างจากการประเมินคุณภาพภายนอกที่เน้นการประเมินผลการจัดการศึกษา ดังนั้นความ
เชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการประกันคุณภาพภายนอกจึงเป็นสิ่งจ าเป็น โดยได้เชื่อมโยงให้
เห็นจากแผนภาพ
จากแผนภาพจะเห็นว่า เมื่อสถานศึกษามีการด าเนินการประกันคุณภาพภายในแล้ว จ าเป็นต้องจัดท ารายงาน
ประจ าปีเป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน ซึ่งเป็นการประกันคุณภาพภายใน หรือเรียกว่า รายงานการ
ประเมินตนเอง เพื่อน าเสนอคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผย
ต่อสาธารณชน เอกสารดังกล่าวจะเป็นเอกสารเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาการ
ติดตามตรวจสอบโดยต้นสังกัด และการประเมินคุณภาพภายนอกโดย สมศ. ดังนั้น สถานศึกษา จ าเป็นต้องจัดท
ารายงานการประเมินตนเองที่มี ความลุ่มลึก สะท้อนภาพที่แท้จริงของสถานศึกษาในทุกองค์ประกอบ
๒.๑ แนวทางการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระบบการประกันคุณภาพภายใน คือ
ระบบการประเมินผล และการติดตามตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายในโดย
บุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่ก ากับดูแลสถานศึกษานั้น
(พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ : มาตรา๔) สถานศึกษาจะต้องพัฒนาระบบการประกัน
คุณภาพภายในให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร และการปฏิบัติงาน โดยค านึงถึงหลักการและ
กระบวนการดังต่อไปนี้ กระบวนการการประกันคุณภาพภายในตามแนวคิดของการประกันคุณภาพมี ๓
ขั้นตอน คือ (ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๓ : ๗) ๑) การควบคุมคุณภาพ เป็นการก าหนด
มาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้เข้าสู่มาตรฐาน ๒) การตรวจสอบ
คุณภาพ เป็นการตรวจสอบและติดตามผลการด าเนินงานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ก าหนด
๓) การประเมินคุณภาพ เป็นการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา โดยสถานศึกษาและหน่วยงานต้น
สังกัดในระดับเขตพื้นที่การศึกษาฯและระดับกระทรวง กระบวนการประกันคุณภาพภายใน ตามแนวคิดของ
หลักการบริหาร ที่เป็นกระบวน การครบวงจร(PDCA) ประกอบด้วย ๔ ขั้นตอน คือ ๓.๑ การร่วมกันวางแผน
(Planning) ๓.๒ การร่วมกันปฏิบัติตามแผน (Doing) ๓.๓ การร่วมกันตรวจสอบ (Checking) ๓.๔ การร่วมกัน
ปรับปรุง (Action) เมื่อพิจารณากระบวนการการประกันคุณภาพภายในตามแนวคิดของการประเมิน
คุณภาพและแนวคิดของการบริหารแบบครบวงจรจะเห็นว่ามีความสอดคล้องกันดังนี้ (สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๓ : ๑๐)
จากภาพ การควบคุมคุณภาพและการตรวจสอบคุณภาพ คือกระบวนการบริหารเพื่อพัฒนาคุณภาพตามหลักการ
บริหารนั่นเองโดยการควบคุมคุณภาพ คือ การที่สถานศึกษาต้องร่วมกันวางแผนและด าเนินการตามแผน เพื่อ
พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามเป้ าหมายและมาตรฐานการศึกษา ส่วนการตรวจสอบคุณภาพ คือการที่
สถานศึกษาต้องร่วมกันตรวจสอบเพื่อพัฒนาปรับปรุงคุณภาพให้เป็นไปตามเป้ าหมายและมาตรฐานการศึกษา
เมื่อสถานศึกษามีการตรวจสอบตนเองแล้วหน่วยงานในเขตพื้นที่การศึกษาและต้นสังกัดก็เข้ามาช่วยติดตาม และ
ประเมินคุณภาพเพื่อให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาปรับปรุงสถานศึกษาซึ่งจะท าให้สถานศึกษามีความอุ่นใจ
และเกิดความตื่นตัวในการพัฒนาคุณภาพอยู่เสมอ ๒. ขั้นตอนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ๑) ขั้นการ
เตรียมการ ซึ่งการเตรียมการที่มีความส าคัญ คือ ๑.๑) การเตรียมความพร้อมของบุคลากร โดยต้องสร้างความ
ตระหนักถึงคุณค่าของการประกันคุณภาพภายในและการท างานเป็นทีมซึ่งจะจัดท าการชี้แจงท าความเข้าใจ
โดยใช้บุคลากรภายในสถานศึกษา โดยบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาได้มีโอกาสเข้าร่วมประชุมรับทราบพร้อม
กัน และต้องพัฒนาความรู้ ทักษะเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน ให้บุคลากรทุกคนเกิดความมั่นใจในการด
าเนินงานประกันคุณภาพด้วยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ โดยเน้นเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดท าแผนพัฒนา
สถานศึกษาและแผนปฏิบัติการในแต่ละปี ต่อมาเน้นเนื้อหาการก าหนดกรอบและแผนการประเมิน การสร้าง
เครื่องมือประเมินและการรวบรวมข้อมูล ในช่วงท้ายเน้นเรื่องเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูล การน าเสนอผลการ
ประเมินและการเขียนรายงานผลการประเมินตนเอง (Self Study Report) ๑.๒) การแต่งตั้งคณะกรรมการ
ผู้รับผิดชอบ ในการประสานงาน ก ากับดูแลช่วยเหลือสนับสนุนให้ทุกฝ่ายท างานร่วมกันและเชื่อมโยงเป็นทีม
โดยการตั้งคณะกรรมการควรพิจารณาตามแผนภูมิโครงสร้างการบริหารซึ่งฝ่ายที่รับผิดชอบงานใดควรเป็น
กรรมการรับผิดชอบการพัฒนาและประเมินคุณภาพงานนั้น
๒) ขั้นการด าเนินงานประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้วยขั้นตอนหลัก ๔ ขั้นตอน ๒.๑) การวางแผน จะต้อง
มีการก าหนดเป้าหมายแนวทางการด าเนินงานผู้รับผิดชอบงาน ระยะเวลาและทรัพยากรที่ต้องใช้ส าหรับแผน
ต่างๆ ที่ควรจัดท าคือ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจ าปี แผนการจัดการ
เรียนการสอนตามหลักสูตรซึ่งสอดคล้องกับเป้ าหมายของสถาน ศึกษา แผนการประเมินคุณภาพและแผน
งบประมาณ เป็นต้น ๒.๒) การปฏิบัติตามแผน ซึ่งในขณะด าเนินการต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมตลอดเวลา และ
ผู้บริหารควรให้การส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรทุกคนท างานอย่างมีความสุข จัดสิ่งอ านวยความสะดวก
สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการปฏิบัติ ก ากับ ติดตามการท างานทั้งระดับบุคลากร รายกลุ่ม รายหมวด และให้การ
นิเทศ ๒.๓) การตรวจสอบประเมินผล ซึ่งเป็นกลไกส าคัญ ที่จะกระตุ้นให้เกิดการพัฒนา เพราะจะท าให้ได้
ข้อมูลย้อนกลับที่แสดงว่าการด าเนินงานที่ผ่านมาบรรลุเป้ าหมายเพียงใด โดยการประเมินต้องจัดวางกรอบการ
ประเมิน จัดหาหรือจัดท าเครื่องมือ จัดเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล แปลความข้อมูล และการตรวจสอบ
ปรับปรุงคุณภาพการประเมิน ๒.๔)การนาผลการประเมินมาปรับปรุงงานเมื่อแต่ละฝ่ายประเมินผลเสร็จแล้วจะ
ส่งผลให้คณะกรรมการรับผิดชอบน าไปวิเคราะห์ สังเคราะห์และแปลผลแล้วน าเสนอผลต่อผู้เกี่ยวข้องเพื่อน
าไปปรับปรุงการปฏิบัติงานของผู้บริหารและบุคลากร น าไปวางแผนในระยะต่อไป และจัดท าเป็นข้อมูล
สารสนเทศหรือการเขียนรายงานประเมินตนเอง ๓) ขั้นการจัดท ารายงานประเมินตนเองหรือรายงานประจ าปี
เมื่อสถานศึกษาด าเนินการประเมินผลภายในเสร็จแล้วจะจัดท ารายงาน โดยเริ่มจากรวบรวมผลการด าเนินงาน
และผลการประเมินมาวิเคราะห์จ าแนกตามมาตรฐานการศึกษาและเขียนรายงานการด าเนินการประกันคุณภาพ
ภายในตามกระบวนการที่กล่าวมาแล้ว มีแนวทางและขั้นตอน ดังแผนภาพต่อไปนี้
บทบาทหน้าที่ของครูในการประกันคุณภาพภายในควรเป็นดังนี้ ๑. มีการเตรียมความพร้อมของ
ตนเอง โดยท าการศึกษาให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ วิธีการ ขั้นตอนในการประเมินผลภายใน
รวมทั้งพยายามสร้างเจตคติที่ดีต่อการประเมินภายใน ๒. ให้ความร่วมมือกับสถานศึกษา ในการให้ข้อมูล
พื้นฐานทั่วไปที่คณะกรรมการประเมินผลภายในต้องการ ๓. ให้ความร่วมมือกับสถานศึกษา เมื่อได้รับการ
แต่งตั้งให้เป็นคณะกรรมการในกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งของการประเมินผลภายใน เช่น เข้าร่วมพิจารณาจัดท
าปฏิทินการปฏิบัติงานด้านการประเมินผลภายในสถานศึกษา ร่วมกันพิจารณาจัดสร้างเครื่องมือในการจัดเก็บ
ข้อมูลลักษณะต่างๆ ในกระบวนการประเมินผลภายใน ร่วมกันท าการส ารวจเก็บข้อมูลที่คณะกรรมการส ารวจ
ร่วมกันท าการวิเคราะห์ข้อมูล (หากมีความรู้ด้านการวิเคราะห์) ร่วมกันสรุปผลการประเมิน เป็นต้น
๔. ให้ความร่วมมือกับสถานศึกษา ในการร่วมกันก าหนดจุดประสงค์ ก าหนดมาตรฐานและตัวบ่งชี้ในการ
ประเมินด้านต่าง ๆ ของสถานศึกษาเอง และร่วมกันก าหนดเกณฑ์การตัดสินมาตรฐานและตัวบ่งชี้ในด้านต่าง ๆ
๕. ปฏิบัติหน้าที่หลักหรือหน้าที่ประจ าที่รับผิดชอบอย่างมีระบบ ตามกระบวนการและสอดคล้องกับมาตรฐาน
การศึกษา เช่น ในหน้าที่การสอนต้องมีการพัฒนาหลักสูตรและแผนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นส าคัญ จัดเตรียม
เนื้อหาสาระที่ถูกต้องเหมาะสมกับจุดประสงค์การเรียนการสอน จัดท าสื่อการสอนที่มีประสิทธิภาพตรงตาม
จุดประสงค์การเรียนการสอน จัดกิจกรรม วิธีการเรียนรู้ที่สร้างให้ผู้เรียนเกิดการค้นคว้าหาความรู้สร้างความรู้
ด้วยตนเอง เลือกวิธีการประเมินผลการเรียนหลากหลายและเหมาะสมรวบรวมผลสรุปผล ประเมินการเรียนการ
สอน พฤติกรรมของผู้เรียน น าผลการประเมินมาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง เป็นต้น
มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
ตัวบ่งชี้ ๑.๑ มีวินัย มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกัน
ตัวบ่งชี้ ๑.๒ มีความสื่อสัตย์สุจริต
ตัวบ่งชี้ ๑.๓ มีความกตัญญูกตเวที
ตัวบ่งชี้ ๑.๔ มีเมตตากรุณา มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ ๑.๕ ประหยัด รู้จักใช้และรักษาทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม
ตัวบ่งชี้ ๑.๖ มีมารยาทและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย
แนวทางการพัฒนา ๑. วิเคราะห์สภาพปัญหา (SWOT) ๒. ประชุมวางแผน ( แก้ปัญหา/พัฒนา) ๓. ก
าหนดกิจกรรม/งาน/โครงการ ๑) เข้าค่ายคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒) เด็กดีศรีธรรม
ราชศึกษา๓) ซื้อเองขายเอง ๔) วันสาคัญของชาติ ๕) สายธารรัก๖) มรรยาทไทย ๗) โครงการออมไว้กาไร
ชีวิต (ประถมศึกษา) ๘) โครงการประหยัดเก็บออม (มัธยมศึกษา) ๔. มอบหมายแต่งตั้งผู้รับผิดชอบแต่ละ
กิจกรรม/งาน/โครงการ๕. กาหนดปฏิทินในการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน๖. ผู้รับผิดชอบดาเนินการตามแผน๗.
รายงานผล ๘. น าข้อมูลมาปรับปรุง-พัฒนาในปีต่อไป
มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีจิตส านึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ตัวบ่งชี้ ๒.๑ รับรู้คุณค่าของสิ่งแวดล้อมและผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม
ตัวบ่งชี้ ๒.๒ เข้าร่วมหรือมีส่วนร่วมกิจกรรม/โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
แนวทางการพัฒนา ๑. วิเคราะห์สภาพปัญหา (SWOT) ๒. ประชุมวางแผน ( แก้ปัญหา/พัฒนา) ๓. ก าหนดกิจกรรม/งาน/โครงการ ๑) Rally
Special Science Camp ๒) กิจกรรมศูนย์พลังงานทุ่งสง ๓) ค่ายวิทยาศาสตร์ ๔) กิจกรรมปลูกป่าศูนย์วิทยาศาสตร์ ๔. มอบหมายแต่งตั้ง
ผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม/งาน/โครงการ๕. กาหนดปฏิทินในการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน๖. ผู้รับผิดชอบดาเนินการตามแผน๗. รายงานผล๘.นา
ข้อมูลมาปรับปรุง-พัฒนาในปีต่อไป
มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีทักษะในการท างาน รักการท างานสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่อ
อาชีพสุจริต
ตัวบ่งชี้ ๓.๑ มีทักษะในการจัดการและท างานให้ส าเร็จ
ตัวบ่งชี้ ๓.๒ เพียรพยายาม ขยัน อดทน ละเอียดรอบคอบ ในการท างาน
ตัวบ่งชี้ ๓.๓ ท างานอย่างมีความสุข พัฒนางานและภูมิใจ ในผลงานของตนเอง
ตัวบ่งชี้ ๓.๔ ท างานร่วมกับผู้อื่นได้
ตัวบ่งชี้ ๓.๕ มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนสนใจ
แนวทางการพัฒนา ๑. วิเคราะห์สภาพปัญหา (SWOT) ๒. ประชุมวางแผน ( แก้ปัญหา/พัฒนา) ๓. ก าหนดกิจกรรม/งาน/โครงการ ๑)
Computer Contest ๒) ส่งเสริมนักเรียนสู่ความเป็นเลิศทางคอมพิวเตอร์ ๓) การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศทางการงานอาชีพ ๔) English
Contest
๕) โครงงานวิทยาศาสตร์ ๖) AMC Sport’ Day ๔. มอบหมายแต่งตั้งผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม/งาน/โครงการ ๕. ก าหนดปฏิทินในการ
ปฏิบัติงานอย่างชัดเจน ๖. ผู้รับผิดชอบด าเนินการตามแผน ๗. รายงานผล ๘. น าข้อมูลมาปรับปรุง-พัฒนาในปีต่อไป
มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์
คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์
ตัวบ่งชี้ ๔.๑ สามารถคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ สรุปความคิดรวบยอด คิดอย่างเป็นระบบ และมี ความคิดแบบ
องค์รวม
ตัวบ่งชี้ ๔.๒ สามารถคาดการณ์ ก าหนดเป้าหมาย และแนวทางการตัดสินใจได้
ตัวบ่งชี้ ๔.๓ ประเมินและเลือกแนวทางการตัดสิน ใจ และแก้ไขปัญหาอย่างมีสติ
ตัวบ่งชี้ ๔.๔ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มองโลกในแง่ดี และมีจินตนาการ
แนวทางการพัฒนา ๑. วิเคราะห์สภาพปัญหา (SWOT) ๒. ประชุมวางแผน ( แก้ปัญหา/พัฒนา) ๓. ก าหนดกิจกรรม/งาน/โครงการ ๑) โครงงาน
วิทยาศาสตร์ ๒) ส่งเสริมนักเรียนสู่ความเป็นเลิศทางคอมพิวเตอร์ ๓) การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศทางการงานอาชีพ ๔) English Contest
๕) น าเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ๖) AMC Sport’ Day ๔. มอบหมายแต่งตั้งผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม/งาน/โครงการ ๕. ก าหนดปฏิทินในการ
ปฏิบัติงานอย่างชัดเจน ๖. ผู้รับผิดชอบด าเนินการตามแผน ๗. รายงานผล ๘. น าข้อมูลมาปรับปรุง-พัฒนาในปีต่อไป
มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จ าเป็นตามหลักสูตร
ตัวบ่งชี้ ๕.๑ มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยตามเกณฑ์ (เกณฑ์ที่เขตพื้นที่การศึกษาก าหนด : คือมี ผลการ
เรียนอยู่ในระดับ ๓ ขึ้นไป)
ตัวบ่งชี้ ๕.๒ มีผลการทดสอบ รวบยอดระดับชาติเฉลี่ยตามเกณฑ์ (เกณฑ์ที่เขตพื้นที่การศึกษาก าหนด : คือมี
ผลการทดสอบอยู่ในระดับดี)
ตัวบ่งชี้ ๕.๓ สามารถสื่อความคิดผ่านการพูด เขียน หรือน าเสนอด้วยวิธีต่าง ๆ
ตัวบ่งชี้ ๕.๔ สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารได้ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
ตัวบ่งชี้ ๕.๕ สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา ๑. วิเคราะห์สภาพปัญหา (SWOT) ๒. ประชุมวางแผน ( แก้ปัญหา/พัฒนา) ๓. ก
าหนดกิจกรรม/งาน/โครงการ ๑) ค่ายคณิตศาสตร์ (Math Junior Camp) ๒) ยอดนักคิด ๓) โครงการบริการ
ICT ๔) Computer Contest ๕) English Contest ๖) กิจกรรมสู่ความเป็นเลิศวิชาสังคม ๗) กิจกรรมผลิต
นักพูด นักอ่าน นักเขียน ๘) กิจกรรมติวเข้มเติมเต็มความรู้ (ภายใน-ภายนอก) ๔. มอบหมายแต่งตั้ง
ผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม/งาน/โครงการ ๕. ก าหนดปฏิทินในการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน ๖. ผู้รับผิดชอบด
าเนินการตามแผน ๗. รายงานผล ๘. น าข้อมูลมาปรับปรุง-พัฒนาในปีต่อไป
มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
ตัวบ่งชี้ ๖.๑ มีนิสัยรักการอ่าน การเขียนและการฟัง รู้จักตั้งค าถามเพื่อหาเหตุผล
ตัวบ่งชี้ ๖.๒ สนใจแสวงหาความรู้จากแหล่งต่าง ๆ รอบตัว ใช้ห้องสมุดแหล่งความรู้และสื่อต่าง ๆ ได้ทั้งใน
และนอกสถานศึกษา
ตัวบ่งชี้ ๖.๓ มีวิธีการเรียนรู้ของตนเอง สามารถเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้สนุกกับการเรียนรู้ และชอบมาโรงเรียน
แนวทางการพัฒนา ๑. วิเคราะห์สภาพปัญหา (SWOT)๒. ประชุมวางแผน(แก้ปัญหา/พัฒนา) ๓. กาหนดกิจกรรม/งาน/โครงการ ๑) กิจกรรม
ส่งเสริมการอ่าน ๒) กิจกรรมหยุดเพื่ออ่าน ๓) กิจกรรมบันทึกการอ่าน/เขียน ๔) กิจกรรมทัศนศึกษา ๕) กิจกรรมสานฝันวรรณทัศน์ ๖) กิจกรรม
พัฒนาการอ่าน-การเขียน ๔. มอบหมายแต่งตั้งผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม/งาน/โครงการ ๕. ก าหนดปฏิทินในการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน ๖. ผู้
รับผิดชอบด าเนินการตามแผน ๗. รายงานผล ๘. น าข้อมูลมาปรับปรุง-พัฒนาในปีต่อไป
มาตรฐานที่ ๗ ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิต ที่ดี
ตัวบ่งชี้ ๗.๑ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ และ ออกก าลังกาย สม่ าเสมอ
ตัวบ่งชี้ ๗.๒ มีน้ าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
ตัวบ่งชี้ ๗.๓ ป้ องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ
และปัญหาทางเพศ
ตัวบ่งชี้ ๗.๔ มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม และให้เกียรติผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ ๗.๕ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่น
แนวทางการพัฒนา ๑. วิเคราะห์สภาพปัญหา (SWOT)
๒. ประชุมวางแผน ( แก้ปัญหา/พัฒนา) ๓. ก าหนดกิจกรรม/งาน/โครงการ ๑) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ๒)
กิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน ๓) กิจกรรม AMC Sport’ Day ๔) กิจกรรมกิจกรรมนักเรียน ๕) กิจกรรม
ส่งเสริมประชาธิปไตย ๖) กิจกรรมค่ายคุณธรรม ๔. มอบหมายแต่งตั้งผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม/งาน/
โครงการ ๕. ก าหนดปฏิทินในการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน ๖. ผู้รับผิดชอบด าเนินการตามแผน ๗. รายงานผล
๘. น าข้อมูลมาปรับปรุง-พัฒนาในปีต่อไป
มาตรฐานที่ ๘ ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้าน ศิลปะ และ ดนตรี
ตัวบ่งชี้ ๘.๑ ชื่นชมและร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ
ตัวบ่งชี้ ๘.๒ ชื่นชมและร่วมกิจกรรมด้านดนตรี/นาฎศิลป์
ตัวบ่งชี้ ๘.๓ ชื่นชมและร่วมกิจกรรมและมีผลงานด้านกีฬา/นันทนาการ
แนวทางการพัฒนา ๑. วิเคราะห์สภาพปัญหา (SWOT) ๒. ประชุมวางแผน ( แก้ปัญหา/พัฒนา) ๓. ก าหนดกิจกรรม/งาน/โครงการ ๑) กิจกรรม
ศิลปินน้อย ๒) กิจกรรมนาฏศิลป์จูเนียร์ ๓) กิจกรรมแข่งขันฟุตบอลภายใน ๔) กิจกรรมเมโลเดียน ๕) กิจกรรมสู่ความเป็นเลิศทางด้านสิลปะ ๖)
กิจกรรมแข่งขันวงสตริง/โชว์วงสตริง ๔. มอบหมายแต่งตั้งผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม/งาน/โครงการ ๕. ก าหนดปฏิทินในการปฏิบัติงานอย่าง
ชัดเจน ๖. ผู้รับผิดชอบด าเนินการตามแผน ๗. รายงานผล ๘. น าข้อมูลมาปรับปรุง-พัฒนาในปีต่อไป
มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง
เข้ากับชุมชนได้ดี และมีครูพอเพียง
ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ ๙.๑ มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนตาม จรรยาบรรณของวิชาชีพ
ตัวบ่งชี้ ๙.๒ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เรียน ผู้ปกครองและชุมชน
ตัวบ่งชี้ ๙.๓ มีความมุ่งมั่นและอุทิศตนในการสอนและพัฒนาผู้เรียน
ตัวบ่งชี้ ๙.๔ มีการแสวงหาความรู้และเทคนิควิธีการ ใหม่ ๆ รับฟังความคิดเห็น ใจกว้าง และยอมรับการ
เปลี่ยนแปลง
ตัวบ่งชี้ ๙.๕ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการศึกษาหรือเทียบเท่าขึ้นไป
ตัวบ่งชี้ ๙.๖ สอนตรงตามวิชาเอก-โท หรือตรงตามความถนัด
ตัวบ่งชี้ ๙.๗ มีจ านวนพอเพียง (หมายถึงทั้งครูและบุคลากรสนับสนุน
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1

More Related Content

What's hot

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10kanwan0429
 
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555K S
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9kanwan0429
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...Totsaporn Inthanin
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ NtNirut Uthatip
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7Suwakhon Phus
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3Yodhathai Reesrikom
 

What's hot (20)

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
O net
O netO net
O net
 
2 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar572 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar57
 
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
 
A msci60 key
A msci60 keyA msci60 key
A msci60 key
 
Key pat2 bio_61
Key pat2 bio_61Key pat2 bio_61
Key pat2 bio_61
 
Samanbio2561
Samanbio2561Samanbio2561
Samanbio2561
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
Key bio ijso2562
Key bio ijso2562Key bio ijso2562
Key bio ijso2562
 
Key bi oporn2562_kruwichaitu
Key bi oporn2562_kruwichaituKey bi oporn2562_kruwichaitu
Key bi oporn2562_kruwichaitu
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำ
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำแผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำ
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำ
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ Nt
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Plan 4
Plan 4Plan 4
Plan 4
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
 
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
 
3 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar573 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar57
 

Similar to คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1

คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55Patchanida Yadawong
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6Anukun Khaiochaaum
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นLathika Phapchai
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...Prachoom Rangkasikorn
 
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียกิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียarisara
 
คู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานคู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานBoonlert Sangdee
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...rungaroonnoumsawat
 

Similar to คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1 (20)

คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
คู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการคู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการ
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
 
คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Radchaneeporn
RadchaneepornRadchaneeporn
Radchaneeporn
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
 
Thaijo 1
Thaijo 1Thaijo 1
Thaijo 1
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
 
25713 1
25713 125713 1
25713 1
 
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียกิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
 
คู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานคู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
 

More from Chok Ke

Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
Obec awords arb1 57  ล่าสุด3Obec awords arb1 57  ล่าสุด3
Obec awords arb1 57 ล่าสุด3Chok Ke
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4Chok Ke
 
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบนำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบChok Ke
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรChok Ke
 
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1Chok Ke
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรChok Ke
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1Chok Ke
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมโครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
วพ.04
วพ.04วพ.04
วพ.04Chok Ke
 
ปก Obec
ปก Obecปก Obec
ปก ObecChok Ke
 
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10Chok Ke
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10Chok Ke
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10Chok Ke
 

More from Chok Ke (20)

Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
Obec awords arb1 57  ล่าสุด3Obec awords arb1 57  ล่าสุด3
Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
 
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบนำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
 
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมโครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
597 02
597 02597 02
597 02
 
วพ.04
วพ.04วพ.04
วพ.04
 
ปก Obec
ปก Obecปก Obec
ปก Obec
 
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
 

คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1

  • 1. คานา คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เป็นคู่มือที่ทุกโรงเรียนต้องจัดทาเพื่อเป็นเครื่องมือสาหรับ ทุกคนในโรงเรียนใช้ในการเป็นแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของโรงเรียน มุ่งสู่คุณลักษณะที่พึงประสงค์ โรงเรียนเมืองราดวิทยาคมจึงจัดทาคู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และกาหนดให้มีแนวปฏิบัติในการ พัฒนาคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา ฉบับนี้คงเป็นประโยชน์สาหรับทุกฝ่ายที่จะเตรียมรับการประเมินคุณภาพรอบสาม ในการจัดทา คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาครั้งนี้ ทางโรงเรียนขอขอบคุณสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๐ ที่ได้อบรมและให้ความรู้ในการจัดทาคู่มือประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม ณ โอกาสนี้ นายเสรี เปรมปรีดิ์ ผู้อานวยการโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม
  • 2. สารบัญ รายการ หน้า บทที่ ๑ การประกันคุณภาพภายใน ๑ บทที่ ๒ กระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ๑๒ บทที่ ๓ ตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพ ๑๗ บทที่ ๔ ตัวอย่างแนวปฏิบัติเพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ๓๑
  • 3. บทที่ ๑ บทนา ๑. ๑ ความจ าเป็น และวัตถุประสงค์ ของการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การใช้การศึกษาเพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาศักยภาพของคน ให้มุ่งสู่คุณลักษณะที่สังคม พึงประสงค์จ าเป็นต้องใช้การศึกษาที่มีคุณภาพ มีกลไกการรักษาคุณภาพและยกระดับมาตรฐานคุณภาพอย่าง ต่อเนื่อง แต่โดยภาพรวมแล้ว คุณภาพการจัดการศึกษาของไทยยังคงเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์ว่า มาตรฐานคุณภาพ ของผู้เรียนยังไม่เป็นที่พึงพอใจของสังคม ซึ่งสภาพดังกล่าวมีสาเหตุส าคัญ ๆ หลายประการด้วยกัน แต่สาเหตุ หนึ่งมาจากการที่ยังไม่ได้ให้ความส าคัญเรื่องการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ อย่างเพียงพอ และต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามมาตรการที่เป็นทางออกของปัญหาดังกล่าว คือ การประกันคุณภาพ การศึกษา ซึ่งโดยระบบได้ก าหนดให้มีกลไกการประเมิน ทั้งประเมินเพื่อตรวจสอบ ทบทวนและปรับปรุง คุณภาพการศึกษา (Internal Quality and Intervention) และการประเมินเพื่อให้ได้การรับรองคุณภาพการศึกษา (Quality Accreditation) ดังนั้น แนวทางการประเมินภายในเพื่อประกันคุณภาพการศึกษา จึงเป็นสิ่งที่สถานศึกษา จะต้องน าไปด าเนินการ เพื่อเป็นการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษาว่าด าเนินการพัฒนาเป็นไปตาม มาตรฐานคุณภาพที่ก าหนดแล้วหรือไม่ หากพบว่ายังไม่เป็นไปตามมาตรฐานก็จะน าไปสู่การส่งเสริม ปรับปรุง แก้ไขอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งได้คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและได้ผ่านการรับรองคุณภาพการศึกษาจาก หน่วยงานที่ท าหน้าที่รับรองต่อไป ๑.๒ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ กับการประกันคุณภาพการศึกษา การประกันคุณภาพภายใน หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัด ที่มีหน้าที่ก ากับดูแลสถานศึกษานั้น การประกันคุณภาพภายนอก หมายถึง การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม การตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยผู้ประเมินภายนอกที่ได้รับการรับรองจากส านักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา โดยผู้ประเมินภายนอกที่ได้รับการรับรองจากส านักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เพื่อมุ่งให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น ผู้ประเมิน ภายนอกหรือคุณหมอโรงเรียนมีความเป็นอิสระ และเป็นกลาง ไม่มีผลประโยชน์ขัดแย้งกับการประเมินคุณภาพ ภายนอกจะน าไปสู่การเข้าถึงคุณภาพการศึกษาด้วยความเป็นกลาง เพื่อสร้างสรรค์พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาอย่างแท้จริง
  • 4. ความส าคัญของการประเมินคุณภาพภายนอก การประเมินคุณภาพภายนอกมีความส าคัญ และมีความหมายต่อสถานศึกษาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ สาธารณชนดังต่อไปนี้ ประการที่ ๑ เป็นการส่งเสริมให้สถานศึกษาพัฒนาเข้าสู่เกณฑ์มาตรฐาน และพัฒนาตนเองให้เต็มตาม ศักยภาพอย่างต่อเนื่อง ประการที่ ๒ เพิ่มความมั่นใจและคุ้มครองประโยชน์ให้ผู้รับบริการทางการศึกษาว่าสถานศึกษาได้จัด การศึกษามุ่งสู่คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีความสามารถ และมีความสุขเพื่อเป็น สมาชิกที่ดีของสังคม ประการที่ ๓ สถานศึกษาและหน่วยงานที่ก ากับดูแล เช่นคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และชุมชนท้องถิ่นมีข้อมูลที่จะช่วยตัดสินใจในการ วางแผน และด าเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการและบรรลุ เป้าหมายตามที่ก าหนด ประการที่ ๔ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับนโยบายมีข้อมูลส าคัญในภาพรวมเกี่ยวกับคุณภาพและ มาตรฐานของสถานศึกษาทุกระดับทุกสังกัด เพื่อใช้เป็นแนวทางในการก าหนดแนวนโยบายทางการศึกษาและ การจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ ๑.๓. กลยุทธของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงกาหนดกลยุทธ์ปี งบประมาณพ.ศ.๒๕๕๔จานวน๖ กลยุทธ์ ดังต่อไปนี้ ๑. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตร และส่งเสริมความสามารถ ด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ๒. ปลูกฝังคุณธรรม ความส านึกในความเป็นชาติไทย และวิถี ชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓. ขยายโอกาสทางการศึกษา ๔. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้ง ระบบ ๕. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ตามแนวทางการกระจายอ านาจ หลักธรรมาภิบาล และ เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน และความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุน การจัดการศึกษา ๖. พัฒนาการศึกษาเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทั้งนี้ เพื่อสนองตอบต่อแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๖๑) ที่มุ่งเน้นการ พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ ตลอดจนพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงปรับแนวทางการด าเนินงานให้สอดคล้องกับกรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษาดังกล่าว โดยยึดหลักการส าคัญดังนี้ ๑. มุ่งสนับสนุนการท างานลงสู่ระดับห้องเรียนและโรงเรียนให้มากที่สุด โดยเน้นระบบการประกัน คุณภาพภายใน รวมถึงการนิเทศ ช่วยเหลือ ติดตามความก้าวหน้าของโรงเรียนเป็นรายโรง และการแทรกแซง
  • 5. แก้ไขการท างานของโรงเรียนหากไม่สามารถด าเนินการได้ตามเป้ าหมาย เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าถึงบริการทาง การศึกษาที่มีคุณภาพมากขึ้น ทั้งนี้ ภายใต้การดูแลขององค์คณะบุคคล และความเห็นชอบของคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒. มุ่งพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาโดยใช้ข้อมูลผลการประเมินคุณภาพภายนอกเป็นฐาน การพัฒนา ๓. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา และโรงเรียนตัดสินใจด าเนินการกิจกรรมต่างๆภายใต้กรอบ นโยบาย และเป้ าหมายที่ส่วนกลางก าหนด ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงาน (creation) และการมีส่วน ร่วมของชุมชน เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสังคมทุกภาคส่วนอย่างกว้างขวาง ๔. ส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมุ่งเน้นการติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงานของเขตพื้นที่การศึกษา และ ผลลัพธ์ทางการศึกษา โดยก าหนดนโยบาย กลยุทธ์ เป้าหมายความส าเร็จที่ส าคัญ จุดเน้นของของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๕ กลุ่มสาระวิชาหลักเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ ๔ (Student Achivement) ๑. นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๓ ทุกคน อ่านออกเขียนได้คิดเลขเป็น (Literacy & Numeracy) ๒. เพิ่มศักยภาพนักเรียนในด้านภาษาด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ และด้านเทคโนโลยีเพื่อพัฒนา สู่ความเป็นหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้(Excellence) ๓. นักเรียนทุกคนมีความส านึกในความรักชาติ (EQ: Emotional Quotient) ๔. สร้างทางเลือกในการเรียนรู้ที่เน้นให้ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง ลดอัตราการออกกลางคัน ศึกษาต่อและประกอบอาชีพ (Alternative Learning) ๕. ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการขยายผลสถานศึกษาพอเพียง ต้นแบบ (Sufficiency Economy) ๖. นักเรียน ครู และสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการพัฒนา อย่างมั่วถึงและมีคุณภาพ (Southern Border Provinces) ๗. นักเรียน ครู และสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ๘. สถานศึกษาทุกแห่งผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษา มีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง และผ่านการรับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก (Quality Schools) ๙. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาผ่านการประเมินคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานของส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษา (Effecient Service Areas)
  • 6. ๑.๔ การประกันคุณภาพกับมาตรฐานการศึกษา หลักการประกันคุณภาพการศึกษา การใช้การศึกษาเพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาศักยภาพของคน ให้มุ่งสู่คุณลักษณะที่สังคมพึงประสงค์ จ าเป็นต้องใช้การศึกษาที่มีคุณภาพ มีกลไกการรักษาคุณภาพและยกระดับมาตรฐานคุณภาพอย่างต่อเนื่อง แต่ โดยภาพรวมแล้ว คุณภาพการจัดการศึกษาของไทยยังคงเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์ว่า มาตรฐานคุณภาพของผู้เรียนยัง ไม่เป็นที่พึงพอใจของสังคม ซึ่งสภาพดังกล่าวมีสาเหตุส าคัญ ๆ หลายประการด้วยกัน แต่สาเหตุหนึ่งมาจากการ ที่ยังไม่ได้ให้ความส าคัญเรื่องการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพอย่างเพียงพอ และต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามมาตรการที่เป็นทางออกของปัญหาดังกล่าว คือ การประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งโดย ระบบได้ก าหนดให้มีกลไกการประเมิน ทั้งประเมินเพื่อตรวจสอบ ทบทวนและปรับปรุงคุณภาพการศึกษา (Internal Quality and Intervention) และการประเมินเพื่อให้ได้การรับรองคุณภาพการศึกษา (Quality Accreditation) ดังนั้นแนวทางการประเมินภายในเพื่อประกันคุณภาพการศึกษา จึงเป็นสิ่งที่ สถานศึกษาจะต้องน าไปด าเนินการ เพื่อเป็นการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษาว่าด าเนินการพัฒนาเป็นไป ตามมาตรฐานคุณภาพที่ก าหนดแล้วหรือไม่ หากพบว่ายังไม่เป็นไปตามมาตรฐานก็จะน าไปสู่การส่งเสริม ปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งได้คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน และได้ผ่านการรับรองคุณภาพการศึกษา จากหน่วยงานที่ท าหน้าที่รับรองต่อไป มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานและตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๙ (๓) บัญญัติให้มีการก าหนดมาตรฐาน การศึกษาและให้สภาการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมแห่งชาติ มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนและ มาตรฐานการศึกษาของชาติ (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ : มาตรา ๓๓) มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานการศึกษา คือ ข้อก าหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการ ให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง เพื่อใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงส าหรับการส่งเสริม และก ากับดูแล การ ตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษา (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ : มาตรา ๔) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๓๔ บัญญัติให้คณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐานที่สอดคล้องกับแผนการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมแห่งชาติ โดยให้คณะกรรมการและส า นักงานการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเขตพื้นที่การศึกษาก ากับดูแลสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาระดับต่ ากว่าปริญญาให้สามารถจัดการศึกษาสอดคล้องกับนโยบายและมาตรฐานการศึกษา (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ : มาตรา ๓๘)
  • 7. มาตรฐานการศึกษาของชาติ มีทั้งหมด ๓ มาตรฐานดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองไทยและพลเมืองโลก คนไทย เป็นคนเก่ง คนดี และมีสุข เป้ าหมายของการจัดการศึกษาอยู่ที่การพัฒนาคนไทยทุกคนให้เป็น คนเก่ง คนดี และมีความสุข โดยมี การพัฒนาที่เหมาะสมกับช่วงวัย พัฒนาคนตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ตรงตามความต้องการ ทั้งในด้าน สุขภาพร่างกายและจิตใจ สติปัญญา ความรู้และทักษะ คุณธรรมและจิตส านึกที่พึงประสงค์ และอยู่ในสังคมได้ อย่างปกติสุข ตัวบ่งชี้ ๑. ก าลังกาย กาลังใจที่สมบูรณ์ ๑.๑ คนไทยมีสุขภาพกายและจิตที่ดี มีพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา เจริญเติบโต อย่างสมบูรณ์ตามเกณฑ์การพัฒนาในแต่ละช่วงวัย ตัวบ่งชี้ ๒ ความรู้และทักษะที่จ าเป็นและเพียงพอในการด ารงชีวิตและการพัฒนาสังคม ๒.๑ คนไทยได้เรียนรู้ เต็มตามศักยภาพของตนเอง ๒.๒ คนไทยมีงานท า และน าความรู้ไปใช้ในการสร้างงานและสร้างประโยชน์ให้สังคม ตัวบ่งชี้ ๓. มีทักษะการเรียนรู้และการปรับตัว ๓.๑ คนไทยสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ รู้ทันโลกรวมทั้งมีความสามารถใน การใช้ แหล่งความรู้และสื่อต่าง ๆ เพื่อพัฒนาตนเองและสังคม ๓.๒ คนไทยสามารถปรับตัวได้มีมนุษย์สัมพันธ์ดี และท างานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตัวบ่งชี้ ๔. มีทักษะทางสังคม ๔.๑ คนไทยเข้าใจและเคารพในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและสังคม มีทักษะและความสามารถที่ จ าเป็น ต่อการด าเนินชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข ๔.๒ คนไทยมีความรับผิดชอบ เข้าใจ ยอมรับและตระหนักในคุณค่า ของวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน สามารถแก้ปัญหาในฐานะสมาชิกของสังคมไทยและสังคมโลกโดยสันติวิธี ตัวบ่งชี้ ๕. มีคุณธรรม จิตสาธารณะ และจิตส านึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ๕.๑ คนไทยด าเนินชีวิตโดยกายสุจริต วจีสุจริต และมโนสุจริต ๕.๒ คนไทยมีความรับผิดชอบทางศีลธรรมและสังคม มีจิตส านึก ในเกียรติภูมิของความเป็นคนไทย มี ความภูมิใจในชนชาติไทย รักแผ่นดินไทย และปฏิบัติตนตามระบอบประชาธิปไตย เป็นสมาชิกที่ดี เป็น อาสาสมัคร เพื่อชุมชนและสังคมในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก
  • 8. มาตรฐานที่ ๒ แนวการจัดการศึกษาจัดการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนเป็นส าคัญ และการบริหาร โดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ผู้เรียนเห็นแบบอย่างที่ดี ได้ฝึกการคิด ได้เรียนรู้จาก ประสบการณ์ตรงที่หลากหลายตรงตามความต้องการ และมีความสุขในการเรียนรู้ ครู คณาจารย์รู้จักผู้เรียนเป็น รายบุคคล เตรียมการสอนและใช้สื่อที่ผสมผสานความรู้สากลกับภูมิปัญญาไทย จัดบรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้ จัดหาและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย และพัฒนาความคิดของผู้เรียนอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ ความส าเร็จของการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญขึ้นอยู่กับ ปัจจัยด้านบุคคลเช่น ผู้เรียน ครู คณาจารย์ผู้บริหาร ผู้ปกครอง และปัจจัยด้านการบริหารได้แก่ หลักการบริหารจัดการและหลักธรรมมาภิบาล ตัวบ่งชี้ ๑. การจัดหลักสูตรการเรียนรู้และสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาตามธรรมชาติ และเต็ม ตามศักยภาพ ๑.๑ มีการจัดหลักสูตรที่หลากหลายตามความเหมาะสม ความต้องการ และศักยภาพของกลุ่ม ผู้เรียนทุกระบบ ๑.๒ ผู้เรียนมีโอกาส/สามารถเข้าถึงหลักสูตรต่างๆ ที่จัดไว้อย่างทั่วถึง ๑.๓ องค์กรที่ ให้บริการทางการศึกษามีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีอาคารสถานที่มีการส่งเสริมสุขภาพอนามัย และ ความปลอดภัย ๑.๔ มีการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ สื่อเพื่อการเรียนรู้ และการให้บริการเทคโนโลยี สารสนเทศทุกรูปแบบที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ๒. มีการพัฒนาผู้บริหาร ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาอย่างเป็นระบบและมีคุณภาพ ๒.๑ ผู้บริหาร ครู คณาจารย์และบุคลากร ทางการศึกษาได้รับการพัฒนาอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง เพื่อสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ ๒.๒ ผู้บริหาร ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษามีคุณธรรม มีความพึงพอใจในการท างาน และผูกพันกับงาน มี อัตราการออกจากงานและอัตราความผิดทางวินัยลดลง ๒.๓ มีแนวโน้มในการรวมตัวจัดตั้งองค์กรอิสระเพื่อ สร้างเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะกลุ่มและติดตามการด าเนินงานของบุคลากรและสถานศึกษา ตลอดจนการสั่งสม องค์ความรู้ที่หลากหลาย ๓. มีการบริหารจัดการที่ใช้สถานศึกษาเป็นฐาน ๓.๑ องค์กร ชุมชน มีส่วนร่วมในการ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ตามสภาพท้องถิ่น บุคลากรทั้งในและนอกสถานศึกษา สภาพปัญหาและความต้องการที่ แท้จริงของผู้เรียน ๓.๒ ผู้รับบริการ/ผู้เกี่ยวข้องทุกกลุ่มมีความพึงพอใจต่อการจัดบริการทางการศึกษาของ สถานศึกษา ๓.๓ มีการก าหนดระบบประกันคุณภาพภายใน เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา เพื่อน าไปสู่ การพัฒนาคุณภาพ และสามารถรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกได้ มาตรฐานที่ ๓ แนวการสร้างสังคมแห่ง การเรียนรู้ / สังคมแห่งความรู้ การเรียนรู้ ความรู้ นวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยี เป็นปัจจัยส าคัญของการพัฒนา สู่สังคมแห่งความรู้ การส่งเสริมและสร้างกลไกเพื่อให้คนไทยทุกคนมีโอกาสและทางเลือกที่จะเข้าถึงปัจจัยและ เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ด้วยรูปแบบและวิธีการที่หลากหลายโดยการได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ของสังคม จะน ามาซึ่งการพัฒนาคุณภาพประสิทธิภาพ และขีดความสามารถของคนไทย ในการพัฒนาประเทศ
  • 9. รวมทั้งการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศ ตัวบ่งชี้ ๑. การบริการวิชาการ และสร้างความร่วมมือระหว่าง สถานศึกษากับชุมชนให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ / สังคมแห่งความรู้ ๑.๑ สถานศึกษาควรร่วมมือกับบุคลากร และองค์กรในชุมชนที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทุกระดับร่วมจัดปัจจัยและกระบวนการเรียนรู้ภายในชุมชน และ ให้บริการทางวิชาการที่เป็นประโยชน์แก่การพัฒนาคนในชุมชน เพื่อให้สังคมไทยเป็นสังคมแห่งภูมิปัญญา และ คนไทยมีการเรียนรู้ตลอดชีวิต ๑.๒ ชุมชนซึ่งเป็นที่ตั้งขององค์กรที่ให้บริการทางการศึกษามีสถานภาพเป็น สังคมแห่งการเรียนรู้/สังคมแห่งความรู้ มีความปลอดภัย ลดความขัดแย้ง มีสันติสุข และมีการพัฒนาก้าวหน้า อย่างต่อเนื่อง ๒. การศึกษาวิจัย สร้างเสริม สนับสนุนแหล่งการเรียนรู้ และกลไกการเรียนรู้ ๒.๑ มีการศึกษา วิจัยสารวจจัดหา และจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ๒.๒ ระดมทรัพยากร(บุคลากรงบประมาณ อาคารสถานที่ สิ่งอ านวยความสะดวก ภูมิปัญญา และอื่นๆ) และความร่วมมือจากภายในและภายนอก สถานศึกษาในการสร้างกลไกการเรียนรู้ทุกประเภท เพื่อให้คนไทยสามารถเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ และสามารถ เรียนรู้ตลอดชีวิตได้จริง ๒.๓ ส่งเสริมการศึกษาวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อการพัฒนาประเทศ ๓. การ สร้างและการจัดการความรู้ในทุกระดับทุกมิติของสังคม ๓.๑ ครอบครัว ชุมชน องค์กรทุกระดับ และองค์กรที่ จัดการศึกษามีการสร้างและใช้ความรู้ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จนกลายเป็นวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้ ๑.๕ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ การศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ส าคัญสรุปได้ดังนี้ ข้อ ๒ ใน กฎกระทรวงนี้ “การประเมินคุณภาพภายใน” หมายความว่า การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม และการตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาของสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศก าหนดส าหรับการประกันคุณภาพภายใน ซึ่งกระท าโดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นหรือหน่วยงาน ต้นสังกัดที่มีหน้าที่ก ากับดูแลสถานศึกษา “การประเมินคุณภาพภายนอก” หมายความว่า การประเมินคุณภาพ การจัดการศึกษา การติดตามและการตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาของ สถานศึกษา ซึ่งกระท าโดยส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือผู้ ประเมินภายนอก “การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า กระบวนการติดตามตรวจสอบความ ก้าวหน้าของการปฏิบัติตามแผนพัฒนาคุณภาพคุณภาพการศึกษาและจัดท ารายงานการติดตามตรวจสอบ คุณภาพ พร้อมทั้งเสนอแนะมาตรการเร่งรัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา “การพัฒนาคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า กระบวนการพัฒนาการศึกษาเข้าสู่คุณภาพที่สอด คล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยมี การก าหนดมาตรฐานการศึกษา การจัดระบบและโครงสร้าง การวางแผนและการด าเนินการตามแผน รวมทั้ง การสร้างจิตส านึกให้เห็นว่าการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจะต้องด าเนินการอย่างต่อเนื่องและเป็นความ รับผิดชอบร่วมกันของทุกคน หมวดที่ ๑ บททั่วไป ข้อ ๓ ระบบประกันคุณภาพภายในเพื่อการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาและพัฒนามาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ต้องประกอบด้วย
  • 10. (๑) การประเมินคุณภาพภายใน (๒) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา (๓) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ข้อ ๔ ระบบประกันคุณภาพภายนอกเพื่อรับรองมาตรฐานและมุ่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาทุกระดับ ต้อง ประกอบด้วย (๑) การประเมินคุณภาพภายนอก (๒) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ข้อ ๕ ให้สถานศึกษาด าเนินการประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่องเป็นประจ าทุกปี โดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ทั้งนี้ด้วยการสนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัดและการมีส่วนร่วมของชุมชน ข้อ ๖ ให้สถานศึกษาจัดท ารายงานประจ าปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน เสนอต่อคณะ กรรมการ สถานศึกษาหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาและเปิดเผยรายงานนั้นต่อสาธารณชนข้อ ๗ สถานศึกษาต้องน าผลการประเมินคุณภาพทั้งภายใน และภายนอกไปประกอบการจัดท าแผนการพัฒนา คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา หมวดที่ ๒ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ส่วนที่ ๑ ตั้งแต่ข้อ ๙–๑๓ เป็นการขับเคลื่อนให้การประกันคุณภาพภายในให้ประสบความส าเร็จในส่วนของการจัดการศึกษาระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเฉพาะ ข้อ ๑๔ ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในตาม หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยด าเนินการ ดังต่อไปนี้ (๑) ก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (๒) จัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (๓) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ (๔) ด าเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (๕) จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา (๖) จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (๗) จัดท ารายงานประจ าปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน (๘) จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง การด าเนินการข้างต้น ให้สถานศึกษายึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้ง
  • 11. ภาครัฐและภาคเอกชน โดยการส่งเสริม สนับสนุน และก ากับดูแลของหน่วยงานต้นสังกัด สถานศึกษาขั้น พื้นฐาน ที่ไม่สามารถปฏิบัติงานบางประการ ตามที่ก าหนดได้นั้น ให้หน่วยงาน ต้นสังกัดหรือส านักงานเขต พื้นที่การศึกษาแล้วแต่กรณี ประกาศผ่อนผันการปฏิบัติและวางแนวทาง ในการประกันคุณภาพภายในให้ เหมาะสมกับสภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษานั้น แล้วรายงานให้รัฐมนตรีทราบ ข้อ ๑๕ การก าหนด มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาตามข้อ ๑๔ (๑) ต้องสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ เอกลักษณ์ ของสถานศึกษาและมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศก าหนด และต้องครอบคลุมสาระการเรียนรู้และกระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งค านึงถึงศักยภาพของผู้เรียน ชุมชนและ ท้องถิ่นด้วย ข้อ ๑๖ การจัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาตามข้อ ๑๔ (๑) ให้ด าเนินการ ดังต่อไปนี้ (๑) ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการที่จ าเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ (๒) ก าหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าหมาย และความส าเร็จของการพัฒนาไว้อย่างชัดเจน และเป็นรูปธรรม (๓) ก าหนดวิธีด าเนินงานที่มีหลักวิชา ผลการวิจัย หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ที่อ้างอิงได้ให้ครอบคลุมการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา ด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กระบวนการเรียนรู้ การส่งเสริมการเรียนรู้ การ วัดและประเมินผล การพัฒนาบุคลากร และการบริหารจัดการ เพื่อน าไปสู่มาตรฐานการศึกษาที่ก าหนด (๔) ก าหนดแหล่งวิทยาการภายนอกที่ให้การสนับสนุนทางวิชาการ (๕) ก าหนดบทบาทหน้าที่ให้บุคลากรของ สถานศึกษาและผู้เรียนรับผิดชอบและด าเนินงานตามที่ก าหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ (๖) ก าหนดบทบาท หน้าที่และแนวทางการมีส่วนร่วมของบิดา มารดา ผู้ปกครอง และองค์กรชุมชน (๗) ก าหนดการใช้งบประมาณ และทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (๘) จัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี ข้อ ๑๗ ให้ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และเผยแพร่นวัตกรรมเกี่ยวกับรูปแบบและเทคนิควิธีการพัฒนาการประกันคุณภาพภายในอย่าง ต่อเนื่อง รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนและร่วมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ข้อ ๑๘ ให้ หน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัดให้มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพของการศึกษาอย่างน้อย หนึ่งครั้งในทุกสามปี และแจ้งผลให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานทราบรวมทั้งให้เปิดเผยผลการติดตามตรวจสอบ คุณภาพการศึกษาต่อสาธารณชน จากสาระส าคัญตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน คุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ ดังกล่าวข้างต้นเน้นเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ๑.๖ การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการ ประเมินคุณภาพภายนอก ตามมาตรา ๘๔ ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ระบุว่า “ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ ต้องด าเนินการอย่างต่อเนื่อง” ในขณะที่มาตรา ๔๙ ของพระราชบัญญัติฉบับเดียวกันระบุถึงการประเมิน คุณภาพภายนอกไว้ว่า “ให้มีส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็นองค์การ
  • 12. มหาชนท าหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอกและท าการประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อให้มี การตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา” จากข้อมูลข้างตันจะเห็นว่าการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา ปกติที่ต้องด าเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการควบคุมดูแลปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพ มีการตรวจสอบติดตาม และประเมินผลการด าเนินงานเพื่อน าไปสู่การพัฒนาปรับปรุงคุณภาพอย่างสม่ าเสมอ ด้วยเหตุนี้ระบบการ ประกันคุณภาพภายในจึงต้องดูแลทั้งปัจจัยน าเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิตหรือผลลัพธ์ (Output/Outcome) ซึ่งต่างจากการประเมินคุณภาพภายนอกที่เน้นการประเมินผลการจัดการศึกษา ดังนั้นความ เชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการประกันคุณภาพภายนอกจึงเป็นสิ่งจ าเป็น โดยได้เชื่อมโยงให้ เห็นจากแผนภาพ จากแผนภาพจะเห็นว่า เมื่อสถานศึกษามีการด าเนินการประกันคุณภาพภายในแล้ว จ าเป็นต้องจัดท ารายงาน ประจ าปีเป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน ซึ่งเป็นการประกันคุณภาพภายใน หรือเรียกว่า รายงานการ ประเมินตนเอง เพื่อน าเสนอคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผย ต่อสาธารณชน เอกสารดังกล่าวจะเป็นเอกสารเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาการ ติดตามตรวจสอบโดยต้นสังกัด และการประเมินคุณภาพภายนอกโดย สมศ. ดังนั้น สถานศึกษา จ าเป็นต้องจัดท ารายงานการประเมินตนเองที่มี ความลุ่มลึก สะท้อนภาพที่แท้จริงของสถานศึกษาในทุกองค์ประกอบ ๒.๑ แนวทางการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระบบการประกันคุณภาพภายใน คือ ระบบการประเมินผล และการติดตามตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายในโดย บุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่ก ากับดูแลสถานศึกษานั้น (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ : มาตรา๔) สถานศึกษาจะต้องพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายในให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร และการปฏิบัติงาน โดยค านึงถึงหลักการและ กระบวนการดังต่อไปนี้ กระบวนการการประกันคุณภาพภายในตามแนวคิดของการประกันคุณภาพมี ๓
  • 13. ขั้นตอน คือ (ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๓ : ๗) ๑) การควบคุมคุณภาพ เป็นการก าหนด มาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้เข้าสู่มาตรฐาน ๒) การตรวจสอบ คุณภาพ เป็นการตรวจสอบและติดตามผลการด าเนินงานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ก าหนด ๓) การประเมินคุณภาพ เป็นการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา โดยสถานศึกษาและหน่วยงานต้น สังกัดในระดับเขตพื้นที่การศึกษาฯและระดับกระทรวง กระบวนการประกันคุณภาพภายใน ตามแนวคิดของ หลักการบริหาร ที่เป็นกระบวน การครบวงจร(PDCA) ประกอบด้วย ๔ ขั้นตอน คือ ๓.๑ การร่วมกันวางแผน (Planning) ๓.๒ การร่วมกันปฏิบัติตามแผน (Doing) ๓.๓ การร่วมกันตรวจสอบ (Checking) ๓.๔ การร่วมกัน ปรับปรุง (Action) เมื่อพิจารณากระบวนการการประกันคุณภาพภายในตามแนวคิดของการประเมิน คุณภาพและแนวคิดของการบริหารแบบครบวงจรจะเห็นว่ามีความสอดคล้องกันดังนี้ (สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๓ : ๑๐) จากภาพ การควบคุมคุณภาพและการตรวจสอบคุณภาพ คือกระบวนการบริหารเพื่อพัฒนาคุณภาพตามหลักการ บริหารนั่นเองโดยการควบคุมคุณภาพ คือ การที่สถานศึกษาต้องร่วมกันวางแผนและด าเนินการตามแผน เพื่อ พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามเป้ าหมายและมาตรฐานการศึกษา ส่วนการตรวจสอบคุณภาพ คือการที่ สถานศึกษาต้องร่วมกันตรวจสอบเพื่อพัฒนาปรับปรุงคุณภาพให้เป็นไปตามเป้ าหมายและมาตรฐานการศึกษา เมื่อสถานศึกษามีการตรวจสอบตนเองแล้วหน่วยงานในเขตพื้นที่การศึกษาและต้นสังกัดก็เข้ามาช่วยติดตาม และ ประเมินคุณภาพเพื่อให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาปรับปรุงสถานศึกษาซึ่งจะท าให้สถานศึกษามีความอุ่นใจ และเกิดความตื่นตัวในการพัฒนาคุณภาพอยู่เสมอ ๒. ขั้นตอนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ๑) ขั้นการ เตรียมการ ซึ่งการเตรียมการที่มีความส าคัญ คือ ๑.๑) การเตรียมความพร้อมของบุคลากร โดยต้องสร้างความ ตระหนักถึงคุณค่าของการประกันคุณภาพภายในและการท างานเป็นทีมซึ่งจะจัดท าการชี้แจงท าความเข้าใจ โดยใช้บุคลากรภายในสถานศึกษา โดยบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาได้มีโอกาสเข้าร่วมประชุมรับทราบพร้อม กัน และต้องพัฒนาความรู้ ทักษะเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน ให้บุคลากรทุกคนเกิดความมั่นใจในการด าเนินงานประกันคุณภาพด้วยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ โดยเน้นเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดท าแผนพัฒนา สถานศึกษาและแผนปฏิบัติการในแต่ละปี ต่อมาเน้นเนื้อหาการก าหนดกรอบและแผนการประเมิน การสร้าง เครื่องมือประเมินและการรวบรวมข้อมูล ในช่วงท้ายเน้นเรื่องเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูล การน าเสนอผลการ
  • 14. ประเมินและการเขียนรายงานผลการประเมินตนเอง (Self Study Report) ๑.๒) การแต่งตั้งคณะกรรมการ ผู้รับผิดชอบ ในการประสานงาน ก ากับดูแลช่วยเหลือสนับสนุนให้ทุกฝ่ายท างานร่วมกันและเชื่อมโยงเป็นทีม โดยการตั้งคณะกรรมการควรพิจารณาตามแผนภูมิโครงสร้างการบริหารซึ่งฝ่ายที่รับผิดชอบงานใดควรเป็น กรรมการรับผิดชอบการพัฒนาและประเมินคุณภาพงานนั้น ๒) ขั้นการด าเนินงานประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้วยขั้นตอนหลัก ๔ ขั้นตอน ๒.๑) การวางแผน จะต้อง มีการก าหนดเป้าหมายแนวทางการด าเนินงานผู้รับผิดชอบงาน ระยะเวลาและทรัพยากรที่ต้องใช้ส าหรับแผน ต่างๆ ที่ควรจัดท าคือ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจ าปี แผนการจัดการ เรียนการสอนตามหลักสูตรซึ่งสอดคล้องกับเป้ าหมายของสถาน ศึกษา แผนการประเมินคุณภาพและแผน งบประมาณ เป็นต้น ๒.๒) การปฏิบัติตามแผน ซึ่งในขณะด าเนินการต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมตลอดเวลา และ ผู้บริหารควรให้การส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรทุกคนท างานอย่างมีความสุข จัดสิ่งอ านวยความสะดวก สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการปฏิบัติ ก ากับ ติดตามการท างานทั้งระดับบุคลากร รายกลุ่ม รายหมวด และให้การ นิเทศ ๒.๓) การตรวจสอบประเมินผล ซึ่งเป็นกลไกส าคัญ ที่จะกระตุ้นให้เกิดการพัฒนา เพราะจะท าให้ได้ ข้อมูลย้อนกลับที่แสดงว่าการด าเนินงานที่ผ่านมาบรรลุเป้ าหมายเพียงใด โดยการประเมินต้องจัดวางกรอบการ ประเมิน จัดหาหรือจัดท าเครื่องมือ จัดเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล แปลความข้อมูล และการตรวจสอบ ปรับปรุงคุณภาพการประเมิน ๒.๔)การนาผลการประเมินมาปรับปรุงงานเมื่อแต่ละฝ่ายประเมินผลเสร็จแล้วจะ ส่งผลให้คณะกรรมการรับผิดชอบน าไปวิเคราะห์ สังเคราะห์และแปลผลแล้วน าเสนอผลต่อผู้เกี่ยวข้องเพื่อน าไปปรับปรุงการปฏิบัติงานของผู้บริหารและบุคลากร น าไปวางแผนในระยะต่อไป และจัดท าเป็นข้อมูล สารสนเทศหรือการเขียนรายงานประเมินตนเอง ๓) ขั้นการจัดท ารายงานประเมินตนเองหรือรายงานประจ าปี เมื่อสถานศึกษาด าเนินการประเมินผลภายในเสร็จแล้วจะจัดท ารายงาน โดยเริ่มจากรวบรวมผลการด าเนินงาน และผลการประเมินมาวิเคราะห์จ าแนกตามมาตรฐานการศึกษาและเขียนรายงานการด าเนินการประกันคุณภาพ ภายในตามกระบวนการที่กล่าวมาแล้ว มีแนวทางและขั้นตอน ดังแผนภาพต่อไปนี้
  • 15. บทบาทหน้าที่ของครูในการประกันคุณภาพภายในควรเป็นดังนี้ ๑. มีการเตรียมความพร้อมของ ตนเอง โดยท าการศึกษาให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ วิธีการ ขั้นตอนในการประเมินผลภายใน รวมทั้งพยายามสร้างเจตคติที่ดีต่อการประเมินภายใน ๒. ให้ความร่วมมือกับสถานศึกษา ในการให้ข้อมูล พื้นฐานทั่วไปที่คณะกรรมการประเมินผลภายในต้องการ ๓. ให้ความร่วมมือกับสถานศึกษา เมื่อได้รับการ แต่งตั้งให้เป็นคณะกรรมการในกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งของการประเมินผลภายใน เช่น เข้าร่วมพิจารณาจัดท าปฏิทินการปฏิบัติงานด้านการประเมินผลภายในสถานศึกษา ร่วมกันพิจารณาจัดสร้างเครื่องมือในการจัดเก็บ ข้อมูลลักษณะต่างๆ ในกระบวนการประเมินผลภายใน ร่วมกันท าการส ารวจเก็บข้อมูลที่คณะกรรมการส ารวจ ร่วมกันท าการวิเคราะห์ข้อมูล (หากมีความรู้ด้านการวิเคราะห์) ร่วมกันสรุปผลการประเมิน เป็นต้น
  • 16. ๔. ให้ความร่วมมือกับสถานศึกษา ในการร่วมกันก าหนดจุดประสงค์ ก าหนดมาตรฐานและตัวบ่งชี้ในการ ประเมินด้านต่าง ๆ ของสถานศึกษาเอง และร่วมกันก าหนดเกณฑ์การตัดสินมาตรฐานและตัวบ่งชี้ในด้านต่าง ๆ ๕. ปฏิบัติหน้าที่หลักหรือหน้าที่ประจ าที่รับผิดชอบอย่างมีระบบ ตามกระบวนการและสอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษา เช่น ในหน้าที่การสอนต้องมีการพัฒนาหลักสูตรและแผนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นส าคัญ จัดเตรียม เนื้อหาสาระที่ถูกต้องเหมาะสมกับจุดประสงค์การเรียนการสอน จัดท าสื่อการสอนที่มีประสิทธิภาพตรงตาม จุดประสงค์การเรียนการสอน จัดกิจกรรม วิธีการเรียนรู้ที่สร้างให้ผู้เรียนเกิดการค้นคว้าหาความรู้สร้างความรู้ ด้วยตนเอง เลือกวิธีการประเมินผลการเรียนหลากหลายและเหมาะสมรวบรวมผลสรุปผล ประเมินการเรียนการ สอน พฤติกรรมของผู้เรียน น าผลการประเมินมาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง เป็นต้น มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ ๑.๑ มีวินัย มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกัน ตัวบ่งชี้ ๑.๒ มีความสื่อสัตย์สุจริต ตัวบ่งชี้ ๑.๓ มีความกตัญญูกตเวที ตัวบ่งชี้ ๑.๔ มีเมตตากรุณา มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น ตัวบ่งชี้ ๑.๕ ประหยัด รู้จักใช้และรักษาทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม ตัวบ่งชี้ ๑.๖ มีมารยาทและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย แนวทางการพัฒนา ๑. วิเคราะห์สภาพปัญหา (SWOT) ๒. ประชุมวางแผน ( แก้ปัญหา/พัฒนา) ๓. ก าหนดกิจกรรม/งาน/โครงการ ๑) เข้าค่ายคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒) เด็กดีศรีธรรม ราชศึกษา๓) ซื้อเองขายเอง ๔) วันสาคัญของชาติ ๕) สายธารรัก๖) มรรยาทไทย ๗) โครงการออมไว้กาไร ชีวิต (ประถมศึกษา) ๘) โครงการประหยัดเก็บออม (มัธยมศึกษา) ๔. มอบหมายแต่งตั้งผู้รับผิดชอบแต่ละ กิจกรรม/งาน/โครงการ๕. กาหนดปฏิทินในการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน๖. ผู้รับผิดชอบดาเนินการตามแผน๗. รายงานผล ๘. น าข้อมูลมาปรับปรุง-พัฒนาในปีต่อไป มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีจิตส านึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ตัวบ่งชี้ ๒.๑ รับรู้คุณค่าของสิ่งแวดล้อมและผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม ตัวบ่งชี้ ๒.๒ เข้าร่วมหรือมีส่วนร่วมกิจกรรม/โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม แนวทางการพัฒนา ๑. วิเคราะห์สภาพปัญหา (SWOT) ๒. ประชุมวางแผน ( แก้ปัญหา/พัฒนา) ๓. ก าหนดกิจกรรม/งาน/โครงการ ๑) Rally Special Science Camp ๒) กิจกรรมศูนย์พลังงานทุ่งสง ๓) ค่ายวิทยาศาสตร์ ๔) กิจกรรมปลูกป่าศูนย์วิทยาศาสตร์ ๔. มอบหมายแต่งตั้ง
  • 17. ผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม/งาน/โครงการ๕. กาหนดปฏิทินในการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน๖. ผู้รับผิดชอบดาเนินการตามแผน๗. รายงานผล๘.นา ข้อมูลมาปรับปรุง-พัฒนาในปีต่อไป มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีทักษะในการท างาน รักการท างานสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่อ อาชีพสุจริต ตัวบ่งชี้ ๓.๑ มีทักษะในการจัดการและท างานให้ส าเร็จ ตัวบ่งชี้ ๓.๒ เพียรพยายาม ขยัน อดทน ละเอียดรอบคอบ ในการท างาน ตัวบ่งชี้ ๓.๓ ท างานอย่างมีความสุข พัฒนางานและภูมิใจ ในผลงานของตนเอง ตัวบ่งชี้ ๓.๔ ท างานร่วมกับผู้อื่นได้ ตัวบ่งชี้ ๓.๕ มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนสนใจ แนวทางการพัฒนา ๑. วิเคราะห์สภาพปัญหา (SWOT) ๒. ประชุมวางแผน ( แก้ปัญหา/พัฒนา) ๓. ก าหนดกิจกรรม/งาน/โครงการ ๑) Computer Contest ๒) ส่งเสริมนักเรียนสู่ความเป็นเลิศทางคอมพิวเตอร์ ๓) การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศทางการงานอาชีพ ๔) English Contest ๕) โครงงานวิทยาศาสตร์ ๖) AMC Sport’ Day ๔. มอบหมายแต่งตั้งผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม/งาน/โครงการ ๕. ก าหนดปฏิทินในการ ปฏิบัติงานอย่างชัดเจน ๖. ผู้รับผิดชอบด าเนินการตามแผน ๗. รายงานผล ๘. น าข้อมูลมาปรับปรุง-พัฒนาในปีต่อไป มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์ ตัวบ่งชี้ ๔.๑ สามารถคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ สรุปความคิดรวบยอด คิดอย่างเป็นระบบ และมี ความคิดแบบ องค์รวม ตัวบ่งชี้ ๔.๒ สามารถคาดการณ์ ก าหนดเป้าหมาย และแนวทางการตัดสินใจได้ ตัวบ่งชี้ ๔.๓ ประเมินและเลือกแนวทางการตัดสิน ใจ และแก้ไขปัญหาอย่างมีสติ ตัวบ่งชี้ ๔.๔ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มองโลกในแง่ดี และมีจินตนาการ แนวทางการพัฒนา ๑. วิเคราะห์สภาพปัญหา (SWOT) ๒. ประชุมวางแผน ( แก้ปัญหา/พัฒนา) ๓. ก าหนดกิจกรรม/งาน/โครงการ ๑) โครงงาน วิทยาศาสตร์ ๒) ส่งเสริมนักเรียนสู่ความเป็นเลิศทางคอมพิวเตอร์ ๓) การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศทางการงานอาชีพ ๔) English Contest ๕) น าเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ๖) AMC Sport’ Day ๔. มอบหมายแต่งตั้งผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม/งาน/โครงการ ๕. ก าหนดปฏิทินในการ ปฏิบัติงานอย่างชัดเจน ๖. ผู้รับผิดชอบด าเนินการตามแผน ๗. รายงานผล ๘. น าข้อมูลมาปรับปรุง-พัฒนาในปีต่อไป มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จ าเป็นตามหลักสูตร ตัวบ่งชี้ ๕.๑ มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยตามเกณฑ์ (เกณฑ์ที่เขตพื้นที่การศึกษาก าหนด : คือมี ผลการ เรียนอยู่ในระดับ ๓ ขึ้นไป)
  • 18. ตัวบ่งชี้ ๕.๒ มีผลการทดสอบ รวบยอดระดับชาติเฉลี่ยตามเกณฑ์ (เกณฑ์ที่เขตพื้นที่การศึกษาก าหนด : คือมี ผลการทดสอบอยู่ในระดับดี) ตัวบ่งชี้ ๕.๓ สามารถสื่อความคิดผ่านการพูด เขียน หรือน าเสนอด้วยวิธีต่าง ๆ ตัวบ่งชี้ ๕.๔ สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารได้ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ตัวบ่งชี้ ๕.๕ สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ แนวทางการพัฒนา ๑. วิเคราะห์สภาพปัญหา (SWOT) ๒. ประชุมวางแผน ( แก้ปัญหา/พัฒนา) ๓. ก าหนดกิจกรรม/งาน/โครงการ ๑) ค่ายคณิตศาสตร์ (Math Junior Camp) ๒) ยอดนักคิด ๓) โครงการบริการ ICT ๔) Computer Contest ๕) English Contest ๖) กิจกรรมสู่ความเป็นเลิศวิชาสังคม ๗) กิจกรรมผลิต นักพูด นักอ่าน นักเขียน ๘) กิจกรรมติวเข้มเติมเต็มความรู้ (ภายใน-ภายนอก) ๔. มอบหมายแต่งตั้ง ผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม/งาน/โครงการ ๕. ก าหนดปฏิทินในการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน ๖. ผู้รับผิดชอบด าเนินการตามแผน ๗. รายงานผล ๘. น าข้อมูลมาปรับปรุง-พัฒนาในปีต่อไป มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ ๖.๑ มีนิสัยรักการอ่าน การเขียนและการฟัง รู้จักตั้งค าถามเพื่อหาเหตุผล ตัวบ่งชี้ ๖.๒ สนใจแสวงหาความรู้จากแหล่งต่าง ๆ รอบตัว ใช้ห้องสมุดแหล่งความรู้และสื่อต่าง ๆ ได้ทั้งใน และนอกสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ ๖.๓ มีวิธีการเรียนรู้ของตนเอง สามารถเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้สนุกกับการเรียนรู้ และชอบมาโรงเรียน แนวทางการพัฒนา ๑. วิเคราะห์สภาพปัญหา (SWOT)๒. ประชุมวางแผน(แก้ปัญหา/พัฒนา) ๓. กาหนดกิจกรรม/งาน/โครงการ ๑) กิจกรรม ส่งเสริมการอ่าน ๒) กิจกรรมหยุดเพื่ออ่าน ๓) กิจกรรมบันทึกการอ่าน/เขียน ๔) กิจกรรมทัศนศึกษา ๕) กิจกรรมสานฝันวรรณทัศน์ ๖) กิจกรรม พัฒนาการอ่าน-การเขียน ๔. มอบหมายแต่งตั้งผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม/งาน/โครงการ ๕. ก าหนดปฏิทินในการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน ๖. ผู้ รับผิดชอบด าเนินการตามแผน ๗. รายงานผล ๘. น าข้อมูลมาปรับปรุง-พัฒนาในปีต่อไป มาตรฐานที่ ๗ ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิต ที่ดี ตัวบ่งชี้ ๗.๑ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ และ ออกก าลังกาย สม่ าเสมอ ตัวบ่งชี้ ๗.๒ มีน้ าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ ตัวบ่งชี้ ๗.๓ ป้ องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ ตัวบ่งชี้ ๗.๔ มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม และให้เกียรติผู้อื่น
  • 19. ตัวบ่งชี้ ๗.๕ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่น แนวทางการพัฒนา ๑. วิเคราะห์สภาพปัญหา (SWOT) ๒. ประชุมวางแผน ( แก้ปัญหา/พัฒนา) ๓. ก าหนดกิจกรรม/งาน/โครงการ ๑) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ๒) กิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน ๓) กิจกรรม AMC Sport’ Day ๔) กิจกรรมกิจกรรมนักเรียน ๕) กิจกรรม ส่งเสริมประชาธิปไตย ๖) กิจกรรมค่ายคุณธรรม ๔. มอบหมายแต่งตั้งผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม/งาน/ โครงการ ๕. ก าหนดปฏิทินในการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน ๖. ผู้รับผิดชอบด าเนินการตามแผน ๗. รายงานผล ๘. น าข้อมูลมาปรับปรุง-พัฒนาในปีต่อไป มาตรฐานที่ ๘ ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้าน ศิลปะ และ ดนตรี ตัวบ่งชี้ ๘.๑ ชื่นชมและร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ตัวบ่งชี้ ๘.๒ ชื่นชมและร่วมกิจกรรมด้านดนตรี/นาฎศิลป์ ตัวบ่งชี้ ๘.๓ ชื่นชมและร่วมกิจกรรมและมีผลงานด้านกีฬา/นันทนาการ แนวทางการพัฒนา ๑. วิเคราะห์สภาพปัญหา (SWOT) ๒. ประชุมวางแผน ( แก้ปัญหา/พัฒนา) ๓. ก าหนดกิจกรรม/งาน/โครงการ ๑) กิจกรรม ศิลปินน้อย ๒) กิจกรรมนาฏศิลป์จูเนียร์ ๓) กิจกรรมแข่งขันฟุตบอลภายใน ๔) กิจกรรมเมโลเดียน ๕) กิจกรรมสู่ความเป็นเลิศทางด้านสิลปะ ๖) กิจกรรมแข่งขันวงสตริง/โชว์วงสตริง ๔. มอบหมายแต่งตั้งผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม/งาน/โครงการ ๕. ก าหนดปฏิทินในการปฏิบัติงานอย่าง ชัดเจน ๖. ผู้รับผิดชอบด าเนินการตามแผน ๗. รายงานผล ๘. น าข้อมูลมาปรับปรุง-พัฒนาในปีต่อไป มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชนได้ดี และมีครูพอเพียง ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ ๙.๑ มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนตาม จรรยาบรรณของวิชาชีพ ตัวบ่งชี้ ๙.๒ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เรียน ผู้ปกครองและชุมชน ตัวบ่งชี้ ๙.๓ มีความมุ่งมั่นและอุทิศตนในการสอนและพัฒนาผู้เรียน ตัวบ่งชี้ ๙.๔ มีการแสวงหาความรู้และเทคนิควิธีการ ใหม่ ๆ รับฟังความคิดเห็น ใจกว้าง และยอมรับการ เปลี่ยนแปลง ตัวบ่งชี้ ๙.๕ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการศึกษาหรือเทียบเท่าขึ้นไป ตัวบ่งชี้ ๙.๖ สอนตรงตามวิชาเอก-โท หรือตรงตามความถนัด ตัวบ่งชี้ ๙.๗ มีจ านวนพอเพียง (หมายถึงทั้งครูและบุคลากรสนับสนุน