SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
เศรษฐศาสตร ์มหภาค
MACROECONOMICS
บทที่ 6
อรคพัฒร ์ บัวลม
นโยบายการคลัง
การคลังสาธารณะ
1.งบประมาณแผ่นดิน
2.หนี้สาธารณะ
3.นโยบายการคลัง
4.รายรับของรัฐบาล
5.รายจ่ายของรัฐบาล
เครื่องมือนโยบาย
การคลัง
เครื่องมือนโยบายการคลัง
การประยุกต์ใช้
นโยบายการคลัง
นโยบายการคลังที่ส่งผล
กระทบต่อระบบ
เศรษฐกิจ
การคลัง
◦1.การคลังสาธารณะ
◦2.รายรับและรายจ่ายของรัฐบาล
◦3.งบประมาณแผ่นดิน
◦4.รายรับของรัฐบาล
◦5.รายจ่ายของรัฐบาล
การคลังสาธารณะ (Public Finance)
การใช้จ่ายเงินเพื่อบริหารประเทศของรัฐบาล วิธีการแสวงหารายได้ของรัฐบาล
ตลอดจนผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้จ่ายเงิน และการจัดเก็บรายได้ของรัฐบาล การคลัง
รัฐบาลส่วนใหญ่ประกอบด้วย
◦ งบประมาณแผ่นดิน ( Government Budget )แผนการเกี่ยวกับการหารายได้และการใช้
จ่ายเงินตามโครงการต่าง ๆ ของรัฐบาล
◦ หนี้สาธารณะ ( Public Debt )เกี่ยวกับวิธีการกู้เงินของรัฐบาลประเภทเงินกู้ถือเป็ นรายรับที่
มีภาระต้องชําระเงินต้นและดอกเบี้ยคืนและผลของการก่อหนี้ที่มีต่อเศรษฐกิจของประเทศ ทั้ง
ในปัจจุบันและอนาคต
◦ นโยบายการคลัง ( Fiscal Policy )ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้ รายจ่าย และหนี้สินของ
รัฐบาลอันจะมีผลต่อเศรษฐกิจของประเทศในปัจจุบันและอนาคตนโยบายกาคลังเป็ นเครื่องมือ
ควบคุมและแก้ไขให้ภาวะเศรษฐกิจของประเทศมีเสถียรภาพ
1.งบประมาณแผ่นดิน ( Government Budget )
งบประมาณแผ่นดิน คือ แผนการใช้เงินของรัฐบาลที่จัดทําขึ้นเพื่อแสดงรายรับ
รายจ่ายของโครงการต่างๆ ที่กําหนดไว้ในปีถัดไป
งบประมาณมีกําหนดเวลา 12 เดือน หรือ 1 ปี โดยงบประมาณที่จัดทําขึ้นในแต่ละ
ปีงบประมาณเรียกว่า งบประมาณประจําปี (annual budget) แต่ละรอบจะนับจาก 1
ตุลาคม – 30 กันยายน เช่น งบประมาณแผ่นดินปี 2563 (1 ตุลาคม 2562 – 30
กันยายน 2563)
นโยบายงบประมาณ
◦ งบประมาณสมดุล คือ รายได้และรายจ่ายของรัฐบาลมีจํานวนเท่ากัน
◦ งบประมาณขาดดุล คือรายได้ของรัฐบาลตํ่ากว่ารายจ่าย
◦ งบประมาณเกินดุล คือ รายได้ของรัฐบาลสูงกว่ารายจ่าย
ประเภทงบประมาณแผ่นดิน
1. งบประมาณรายรับ
◦ งบรายได้
◦ งบเงินกู้หรือหนี้
สาธารณะ
◦ เงินคงคลัง
2. งบประมาณรายจ่าย
• รายจ่ายเศรษฐกิจ
• รายจ่ายด้านการศึกษา
• รายจ่ายด้านสาธารณูปโภค
• รายจ่ายด้านบริการสังคม
• รายจ่ายด้านการป้องกันประเทศ
• รายจ่ายด้านการรักษาความสงบภายในประเทศ
• รายจ่ายด้านบริหารทั่วไป
• รายจ่ายด้านการชําระหนี้เงินกู้
• รายจ่ายด้านอื่นๆ
ลักษณะของงบประมาณที่ดี
◦ เป็ นศูนย์รวมของเงินแผ่นดิน
◦ งบประมาณถือหลักพัฒนา
◦ งบประมาณถือหลักประหยัด
◦ งบประมาณมีระยะเวลาที่เหมาะสม
2.หนี้สาธารณะ ( Public Debt )
หนี้สาธารณะ เกิดจาก การกู้โดยตรง หรือการคํ้าประกันเงินกู้ของรัฐ เรียกอีกชื่อ
ว่า หนี้ของรัฐบาล (อังกฤษ: Government debt) คือหนี้ที่ถือโดยรัฐบาลกลาง, หน่วยการ
ปกครองส่วนท้องถิ่น, องค์กรของรัฐ รวมไปถึง รัฐวิสาหกิจ ตลอดจนการคํ้าประกันหนี้สิน
โดยรัฐบาล
การเกิดขึ้นของหนี้สาธารณะส่วนใหญ่ของรัฐบาลทั่วโลก มาจากการดําเนิน
นโยบายของรัฐแบบขาดดุล หรือก็คือรายได้ของรัฐน้อยกว่ารายจ่ายของรัฐ ทําให้ต้องมีการ
กู้เพื่อชดเชยการขาดดุลในแต่ละรอบปีงบประมาณ
วัตถุประสงค์ของการกู้ยืม
◦ เพื่อใช้จ่ายในโครงการต่างๆ
◦ เพราะรายได้น้อยกว่าค่าใช้จ่าย
◦ เพื่อรักษาดุลงบประมาณ
◦ เพื่อใช้จ่ายเมื่อจําเป็ นเร่งด่วน
ประเภทของการกู้เงิน
1. แบ่งตามระยะเวลาการกู้
◦ กู้ระยะสั้น 1 ปี
◦ กู้ระยะปานกลาง ไม่เกิน 5 ปี
◦ กู้ระยะยาว 5 ปีขึ้นไป
2. แบ่งตามแหล่งเงินกู้
◦ กู้ภายในประเทศ
◦ กู้จากต่างประเทศ
ผลกระทบทางเศรษฐกิจของหนี้สาธารณะ
◦ ผลกระทบต่องบประมาณรายจ่าย เป็ นภาระที่ต้องแบ่งภาษีส่วนหนึ่งชําระหนี้คืนทําให้
งบประมาณขาดดุล
◦ ผลกระทบต่อการลงทุนและตลาดการเงิน ทําให้ตลาดทุนมีเงินทุนน้อยลงอัตราดอกเบี้ยสูง
การลงทุนของธุรกิจลดลง
◦ ผลกระทบต่อภาวะดุลการค้าและอุปสงค์การกู้เงินมาเพื่อใช้จ่ายของรัฐเป็ นการเพิ่ม
ปริมาณเงินในระบบ อาจทําให้เกิดภาวะเงินเฟ้อ
◦ การกู้เงินจากธนาคารกลาง ทําให้ปริมาณเงินเพิ่มขึ้นเกิดเงินเฟ้อได้
3.นโยบายการคลัง
นโยบายการคลัง (Fiscal policy) คือ นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการหารายได้และ
รายจ่ายของรัฐบาล ซึ่งรายได้ส่วนใหญ่ของรัฐบาลมาจากการเก็บภาษี (Tax) ประเภทต่างๆ
เช่น ภาษีสรรพาสามิต ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็ นต้น
นโยบายการคลังเป็ นเครื่องมือของรัฐบาลในการปรับสมดุลทางเศรษฐกิจอย่างหนึ่ง
หรือที่เรียกว่าการรักษเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เมื่อรัฐบาลตัดสินใจเพิ่มหรือลดภาษี ย่อม
ก่อให้เกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจ
*ยกตัวอย่างเช่น การขึ้นอัตราภาษีมีผลให้เงินสดที่อยู่ในมือเราลดลง เนื่องจากรายได้ส่วน
หนึ่งต้องนําไปจ่ายภาษีมากขึ้น เงินที่เหลือจะใช้จ่ายก็จะลดลง ทําให้เศรษฐกิจชะลอตัว
นโยบายการคลังสามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท
◦ นโยบายการคลังแบบขยายตัว (Expansionary fiscal policy)
การที่รัฐบาลใช้จ่ายมากกว่ารายได้ภาษีที่จัดเก็บได้ เรียกว่า “งบประมาณขาดดุล”
(deficit budget) ใช้เมื่อเศรษฐกิจถดถอย เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ เพื่ออัดฉีดเงินเข้า
ระบบเศรษฐกิจ
◦ นโยบายการคลังแบบหดตัว (contractionary fiscal policy)
การที่รัฐบาลจ่ายน้อยกว่ารายได้ภาษีที่จัดเก็บได้เรียกว่า “งบประมาณเกินดุล ”
(surplus budget) ใช้เมื่อเกิดปัญหาเงินเฟ้อในระบบเศรษฐกิจ เพื่อดูดเงินออกจาก
ระบบเศรษฐกิจ
รายรับของรัฐบาล
1.รายได้
◦ รายได้จากภาษีอากร
◦ รายได้ที่มิใช่ภาษีอากร (รัฐพาณิชย์ค่าธรรมเนียม รัฐสามิต)
2.รายรับที่ไม่ใช่รายได้ (เงินกู้)
◦ กู้จากภายในประเทศ
◦ กู้จากต่างประเทศ
3.เงินคงคลัง
4.รายได้จากเงินช่วยเหลือต่างประเทศ
5.รายได้อื่นๆ
กราฟภาษี
ภาษีแบบเหมาจ่าย ภาษีอัตราก้าวหน้า
T
Y Y
T
Ta
T=Ta+ tY
Ta
T = f(Y)
T = Ta+tY
T = รายได้ภาษีอากร
Ta = รายได้ภาษีอากรที่ไม่ขึ้นกับรายได้ประชาชาติ
Y = รายได้ประชาชาติ
Y
T
t
∆
∆
= รายได้ภาษีอากรเปลี่ยนแปลงเมื่อรายได้ประชาชาติเปลี่ยนแปลงไป 1 หน่วย
วัตถุประสงค์ของการเก็บภาษีอากร
◦ เพื่อเป็ นรายได้ของรัฐ
◦ เพื่อจัดสรรและกระจายรายได้
◦ เพื่อควบคุมการบริโภค การผลิต การนําเข้า และส่งออก
◦ เพื่อการชําระหนี้ของรัฐบาล
◦ เพื่อเป็ นเครื่องมือนโยบายการคลัง แก้ปัญหาเงินเฟ้อ และเงินฝืด
◦ เพื่อเป็ นเครื่องมือนโยบายธุรกิจ
หลักการเก็บภาษี
◦ หลักความยุติธรรม (อัตราก้าวหน้า)
◦ หลักความแน่นอน
◦ หลักความสะดวก
◦ หลักความประหยัด
◦ หลักความยืดหยุ่น
ประเภทภาษี
1. แบ่งตามลักษณะของฐานภาษี
◦ เก็บจากทรัพย์สิน
◦ เก็บจากโภคภัณฑ์
◦ เก็บจากเงินได้
2. แบ่งตามหลักการผลักภาระภาษี
◦ ภาษีทางตรง
◦ ภาษีทางอ้อม
อัตราภาษี
◦ อัตราคงที่ เช่น ภาษีการค้า ภาษีสรรพสามิต ภาษีศุลกากร
◦ อัตราก้าวหน้า เช่น ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซึ่งการเก็บตามอัตรานี้ได้รับการยกย่องว่า
ให้ความเป็ นธรรมแก่ประชาชน
◦ อัตราภาษีถอยหลัง เช่น ภาษีบํารุงท้องที่ ซึ่งมีลักษณะที่ถดถอย กล่าวคือยิ่งที่ดินมีราคา
ต่อไร่สูง จะเสียอัตราภาษีตํ่ากว่าที่ดินที่มีราคาต่อไร่สูง
*รัฐอาจเก็บภาษีแบบเหมาจ่าย (Lump Sum Taxes) เป็ นการเก็บภาษีล่วงหน้าไว้
จํานวนหนึ่งโดยไม่กําหนดจากรายได้
รายจ่ายของรัฐบาล
◦ รายจ่ายประจํา เช่น เงินเดือน สวัสดิการต่างๆ ,
ค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคและบริการ
◦ รายจ่ายเพื่อการลงทุน เช่น การสร ้างโครงสร ้าง
พื้นฐาน การลงทุนรัฐพาณิชย์โครงการต่างๆของ
รัฐตามนโยบายรัฐบาล
◦ รายจ่ายเพื่อชําระหนี้ เช่น หนี้จากการกู้ยืม การ
ซื้อพันธบัตรคืน การคืนเงินคงคลัง
Ga
G
Y
0
ผลกระทบของรายจ่ายของรัฐบาล
1. ผลกระทบของรายจ่ายรัฐบาลต่อระบบเศรษฐกิจ
◦ ผลกระทบต่อการผลิตและการจ้างงาน
◦ ผลกระทบต่อรายได้ประชาชาติ
2. ผลกระทบต่อการกระจายรายได้
เครื่องมือนโยบาย
การคลัง
◦ เครื่องมือนโยบายการคลัง
เครื่องมือนโยบายการคลัง
1. ค่าใช้จ่ายรัฐบาล คือ เมื่อเงินเฟ้อ รัฐงดค่าใช้จ่าย เพื่อลดปริมาณเงินหมุนเวียนใน
ระบบ
2. รายได้รัฐบาล คือ เก็บภาษีเพิ่มเมื่อต้องการลดปริมาณเงินในระบบ
3. หนี้สาธารณะ คือ ก่อหนี้เพิ่มเพื่อนําเงินมาใช้จ่าย เป็ นการเพิ่มปริมาณเงินในระบบ
4. งบประมาณแผ่นดิน คือ ตัดสินใจใช้งบประมาณเกินดุลแก้ปัญหาเงินเฟ้อ
การประยุกต์ใช ้
นโยบายการคลัง
◦ นโยบายการคลังที่ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ
งานกลุ่ม
◦ แบ่งเป็ น 4 กลุ่ม (ห้องละ 2 กลุ่ม)
◦ ค้นหาข้อมูลการใช้นโยบายการคลังที่ผ่านมาของรัฐบาลไทย มา 1 เหตุการณ์
◦ นําเสนอ หัวข้อ “นโยบายการคลังที่ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ” โดยตัวแทนกลุ่ม
หน้าชั้นเรียน พร ้อมตอบข้อสักถามของอาจารย์และเพื่อนๆ ในคาบต่อไป

More Related Content

What's hot

เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติOrnkapat Bualom
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณOrnkapat Bualom
 
สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2Khwan Jomkhwan
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion EquilibriumDr.Woravith Chansuvarn
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาSaipanya school
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
การวัดการกระจาย
การวัดการกระจายการวัดการกระจาย
การวัดการกระจายCholticha Boonliang
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์wisita42
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)Manchai
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 

What's hot (20)

เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
 
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ348 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
 
สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
Ch3 and 4
Ch3 and 4Ch3 and 4
Ch3 and 4
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
การวัดการกระจาย
การวัดการกระจายการวัดการกระจาย
การวัดการกระจาย
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 

Similar to Macro Economics c6 นโยบายการคลัง

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณชญานิษฐ์ ทบวัน
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)Link Standalone
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐSureeraya Limpaibul
 
9789740329848
97897403298489789740329848
9789740329848CUPress
 
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคบทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคThida Noodaeng
 
Petro policybrief12 jan2012
Petro policybrief12 jan2012Petro policybrief12 jan2012
Petro policybrief12 jan2012jaoa1002
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCBEICSCB
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศการพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
บบที่10
บบที่10บบที่10
บบที่10praphol
 
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่นImage plus Communication
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
การคลังรัฐบาลและนโยบายการคลัง
การคลังรัฐบาลและนโยบายการคลังการคลังรัฐบาลและนโยบายการคลัง
การคลังรัฐบาลและนโยบายการคลังtumetr1
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327CUPress
 

Similar to Macro Economics c6 นโยบายการคลัง (19)

Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
Ec961
Ec961Ec961
Ec961
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
 
9789740329848
97897403298489789740329848
9789740329848
 
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคบทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
 
Petro policybrief12 jan2012
Petro policybrief12 jan2012Petro policybrief12 jan2012
Petro policybrief12 jan2012
 
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศการพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 
บบที่10
บบที่10บบที่10
บบที่10
 
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
Economy ppt-05
Economy ppt-05Economy ppt-05
Economy ppt-05
 
การคลังรัฐบาลและนโยบายการคลัง
การคลังรัฐบาลและนโยบายการคลังการคลังรัฐบาลและนโยบายการคลัง
การคลังรัฐบาลและนโยบายการคลัง
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327
 

More from Ornkapat Bualom

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน Ornkapat Bualom
 
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจMacro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลOrnkapat Bualom
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดOrnkapat Bualom
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 

More from Ornkapat Bualom (12)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
 
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจMacro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 

Macro Economics c6 นโยบายการคลัง